ข้อมูล จาก http://www.annaontour.com/
พิพิธภัณฑ์หลวงพระบาง ตั้งอยู่กลางเมืองหลวงพระบา
ด้านนอกอาคารเป็นที่ตั้งของ
ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
ภายในจัดแสดงประวัติศาสตร์ อันเก่าแก่ของเมืองหลวงพระบ
ห้องโถงด้านหน้าเป็นที่ประด
ตามตำนานเล่าว่า พระพุทธรูปองค์นี้สร้างขึ้น
ไปให้ภายในห้องยังมีฉากลับแ
ห้องเด่นๆหลายห้องอยู่ฝั่งข
ห้องฟังธรรม ภายในมีธรรมมาสน์ ห้องปูพรมและเป็นที่ประทับข
ห้องรับแขกของพระมเหสี ภายในห้องจัดแสดงของขวัญจาก
ห้องรับแขกของเจ้ามหาชีวิต ภายในห้องสวยงามด้วยภาพจิตร
ห้องท้องพระโรง ห้องนี้ใช้ทำพีธีราชาภิเษก ซึ่งเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวั
นอกจากห้องสำคัญเหล่านี้แล้
อีกจุดที่เด่นของพระราชวัง คือ หอพระบาง ภายในหอพระนี้เองเป็นที่ประ
ค่าธรรมเข้าชม 30,000 กีบ (ประมาณ 120 บาท)
เปิดเวลา 08.00 - 11.30 น. และ 13.30 - 16.30 น.
หมายเหตุ ภายในพระราชวังหลวง ห้ามการถ่ายรูป
การเดินทาง
อยู่ตรงข้ามกับพระธาตุพูสี
Moonfleet Chiangmai.
11 เมษายน พ.ศ.2560
11.04.2017
01.พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หลวงพระบาง สปป.ลาว
02.
03.
04.
05.พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หลวงพระบาง สปป.ลาว
06.พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หลวงพระบาง สปป.ลาว
10.พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หลวงพระบาง สปป.ลาว
11.พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หลวงพระบาง สปป.ลาว
12. หอพระบาง ภายในหอพระนี้เองเป็นที่ประ
13.
14.หอพระบาง ภายในหอพระนี้เองเป็นที่ประ
15.
16.
17.หอพระบาง ภายในหอพระนี้เองเป็นที่ประ
18.
19.
20.
21.พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
22.หอพระบาง ภายในหอพระนี้เองเป็นที่ประ
23.
24.
25.
26.
27.หอพระบาง ภายในหอพระนี้เองเป็นที่ประ
28.
29.
30.
31.
32.
33.
34.หอพระบาง ภายในหอพระนี้เองเป็นที่ประ
36.
37.
38.
39.
40.
41.
42.
43.
44.
45.อนุสาวรีย์เจ้ามหาชีวิตศรีส
46.อนุสาวรีย์เจ้ามหาชีวิตศรีส
47. @หอพระบาง ใน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
48.@หอพระบาง ใน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
49.@หอพระบาง ใน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
50.@หอพระบาง ใน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
51.@หอพระบาง ใน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
52.@หอพระบาง ใน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
53.@หอพระบาง ใน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
54.@หอพระบาง ใน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
55.@หอพระบาง ใน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
56.@หอพระบาง ใน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
57.@หอพระบาง ใน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
58.@หอพระบาง ใน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
59.@หอพระบาง ใน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
60.@หอพระบาง ใน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
61.@หอพระบาง ใน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
62.@หอพระบาง ใน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
63.@หอพระบาง ใน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
64.@หอพระบาง ใน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
65.@หอพระบาง ใน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
66.@หอพระบาง ใน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
67.@หอพระบาง ใน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
68.@หอพระบาง ใน พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง (Luang Prabang National Museum.) หรือ พระราชวังเดิม หลวงพระบาง สปป.ลาว
69.
70. @อนุสาวรีย์เจ้ามหาชีวิตศรีส
71.@อนุสาวรีย์เจ้ามหาชีวิตศรีส
72.@อนุสาวรีย์เจ้ามหาชีวิตศรีส
73. โรงละคอน พระลักษณ์ . พระราม.
74.
75.
76.
77.
78.
79. ROYAL BALLET THEATRE
80. พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ หลวงพระบาง : Luang Prabang National Museum หลวงพระบาง สปป.ลาว
81.
82. พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ หลวงพระบาง : Luang Prabang National Museum หลวงพระบาง สปป.ลาว
พระราชวังหลวงพระบาง หลังนี้เป็นอาคารเก่า ออกแบบโดยสถาปนิกชาวฝรั่งเศส ลักษณะอาคารเป็นอาคารชั้นเดี่ยวยกพื้นสูง สถาปัตยกรรมแบบฝรั่งเศส แต่เป็นการผสมผสานระหว่างฝรั่งเศสและลาว ด้านนอกอาคารเป็นที่ตั้งของอนุสาวรีย์เจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวงศ์ พระราชวังแห่งนี้เป็นที่ประทับของเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวงศ์ เป็นระยะเวลานนาน จนสิ้นพระชนม์ ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ.2518 พระราชวังหลวงพระบาง ได้ถูกปรับเปลี่ยนให้เป็นพิพิธภัณฑ์ คือ
83.พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ หลวงพระบาง : Luang Prabang National Museum หลวงพระบาง สปป.ลาว
84.พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ หลวงพระบาง : Luang Prabang National Museum หลวงพระบาง สปป.ลาว
85.
86.
87.พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ หลวงพระบาง : Luang Prabang National Museum หลวงพระบาง สปป.ลาว
ประวัติของพิพิธภัณฑ์
สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2447 สมัยเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวงศ์
สืบทอดต่อมาถึงสมัยเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวัฒนา พระมหากษัตริย์องค์สุดท้ายของลาว
ภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองหรือที่ชาวลาวเรียกว่า “การปลดปล่อย”
รัฐบาลลาวได้เปลี่ยนพระราชวังหลวงมาเป็น “หอพิพิธภัณฑ์” ในปี พ.ศ. 2519 หลังจากที่ไม่มีพระมหากษัตริย์ประทับอยู่ที่นี่อีกต่อไปแล้ว.
88.พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ หลวงพระบาง : Luang Prabang National Museum หลวงพระบาง สปป.ลาว
ลักษณะแผนผังของตัวพระราชวังประกอบด้วยอาคารขวางด้านหน้า หลังคามุงกระเบื้อง
ตรงกลางมีมุขยื่นออกมา มีหน้าบันเป็นรูปช้าง 3 เศียร มีฉัตรกางอยู่ตรงกลางข้างบน
อันเป็นสัญลักษณ์ของราชอาณาจักรลาวล้านช้างในระบอบเดิม
89.พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ หลวงพระบาง : Luang Prabang National Museum หลวงพระบาง สปป.ลาว
ตรงเข้าไปเป็น ห้องฟังธรรมของเจ้ามหาชีวิตและท้องพระโรง เบื้องหลังท้องพระโรงเป็นอาคารที่มีหลังคาเป็นยอดปราสาทหลังเดียวมองเห็นเป็นสง่าเด่นชัดจากภายนอกตัวอาคาร
แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ปีกทางด้านซ้ายมือเป็นห้องรับแขกของพระมเหสี
90.พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ หลวงพระบาง : Luang Prabang National Museum หลวงพระบาง สปป.ลาว
ปัจจุบันมีของขวัญจากประเทศต่างๆจัดแสดงให้ชมอยู่ ทั้งจากประเทศ
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์, ประเทศทางตะวันตก, เอเชีย รวมทั้งของประเทศไทย
ส่วนปีกทางด้านขวามือเป็นห้องรับแขกของเจ้ามหาชีวิต
มีความสวยงามบรรยากาศเป็นแบบฝรั่งเศสปนลาว
91.พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ หลวงพระบาง : Luang Prabang National Museum หลวงพระบาง สปป.ลาว
มีภาพเขียนบนผ้าใบผืนใหญ่กรุเต็มผนังขึ้นไปจรดเพดาน เขียนขึ้นในปีพ.ศ. 2473
แสดงถึง ฮีตครอง(จารีตประเพณี) ของคนลาว ในช่วงเวลาต่างๆของแต่ละวัน
รูปขบวนเจ้ามหาชีวิตเสด็จไปสรงน้ำพระที่วัดเชียงทองและวัดใหม่
รูปประเพณีบุญปีใหม่ลาว รูปตลาดตอนแลง (ตลาดเย็น)
ซึ่งภาพเหล่านี้ถ่ายด้วยด้วยเทคนิคแบบ Impressionism
ทั้งยังมีรูปหล่อครึ่งตัวอีก 4 องค์คือ เจ้ามหาชีวิตอุ่นคำ
เจ้ามหาชีวิตสักรินทร์ เจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวงศ์
และเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวัฒนา ซึ่งหล่อมาจากประเทศฝรั่งเศสทั้งสิ้น
ส่วนของห้องสุดท้ายของปีกด้านนี้ได้ถูกจัดให้เป็นห้องพระโดยเฉพาะ
ภายในเป็นที่ประดิษฐานของ “พระบาง” พระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองหลวงพระบาง
อันศักดิ์สิทธิ์ มีลักษณะประทับยืน ยกพระหัตถ์ทั้งสองข้างขึ้น
หันฝ่าพระหัตถ์ออกทั้งสองข้าง ซึ่งชาวลาวเรียกกันว่า “ปางประทานอภัย”
หรือที่คนไทยเรียกว่า “ปางห้ามสมุทร” เป็นศิลปะเขมรสมัยหลังบายน
อายุราว 300 ปี มาแล้ว หล่อด้วยทองคำบริสุทธิ์ 90%
หนัก 54 กิโลกรัม สูงราว 40 – 50 ซม. ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ “เมืองหลวงพระบาง”
อันหมายถึงเมืองที่มี “พระบาง” ประดิษฐานอยู่นั่นเอง
*** ปัจจุบัน พระบางจะประดิษฐานอยู่ที่ หอพระบาง บริเวณด้านหน้าของพิพิธภัณฑ์แห่งชาติ หลวงพระบาง
ทุกวันขึ้นปีใหม่ลาว (ราวเดือนเมษายน) จะมีการอัญเชิญ “พระบาง” ลงมาประดิษฐานที่ “วัดใหม่” เพื่อให้ประชาชนสรงน้ำสักการบูชา เพื่อความเป็นสิริมงคลของชาวหลวงพระบางและชาวลาวทั้งประเทศ.
93.พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ หลวงพระบาง : Luang Prabang National Museum หลวงพระบาง สปป.ลาว
94. ด้านหลังพิพิธภัณฑ์แห่งชาติ หลวงพระบาง หรือ พระราชวังเดิม จะมี "ท่าเรือ หรือ ท่าน้ำ" ติดริมแม่น้ำโขง.
95. น้ำมัน Shell สำหรับ พระราชพาหนะ ที่ใช้ในพระราชวังเดิม. (ใกล้ๆกันจะมีโรงเก็บพระราชพาหนะ).
96. @พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ หลวงพระบาง : Luang Prabang National Museum หลวงพระบาง สปป.ลาว
97.@พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ หลวงพระบาง : Luang Prabang National Museum หลวงพระบาง สปป.ลาว
98.@พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ หลวงพระบาง : Luang Prabang National Museum หลวงพระบาง สปป.ลาว
99.@พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ หลวงพระบาง : Luang Prabang National Museum หลวงพระบาง สปป.ลาว
102.
103.
104.
105.
106.
107.
108.
109.
110.
111.
112.
Moonfleet Chiangmai.
11 เมษายน พ.ศ.2560
11.04.2017
ข้อมูลจาก http://www.oceansmile.com/Lao/Phusi.htm
ตอบลบเที่ยวหลวงพระบาง หอพระบาง
• พระราชวังหลวงพระบาง เป็นการสร้างขึ้นมาใหม่โดยใช้สถานที่เดิม ออกแบบโดยสถาปนิกชาวฝรั่งเศส เป็นสถาปัตยกรรมแบบฝรั่งเศส แต่เป็นการผสมผสานระหว่างฝรั่งเศสและลาว ซึ่งจะหันหน้าเข้าหาพระธาตุพูสีและถนนหน้าพระราชวังในตอนกลางคืนก็จะมีสินค้ามาวางขายมากมาย
• พระราชวังหลวงพระบาง ออกแบบโดยสถาปนิกชาวฝรั่งเศส ลักษณะอาคารเป็นชั้นเดี่ยวยกพื้นสูง สถาปัตยกรรมแบบฝรั่งเศส แต่เป็นการผสมผสานระหว่างฝรั่งเศสและลาว
• ด้านนอกอาคารเป็นที่ตั้งของอนุสาวรีย์เจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวงศ์และเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวงศ์ประทับอยู่ที่นี่จนสิ้นพระชนม์
• ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ.2518 พระราชวังหลวงพระบางได้ถูกเปลี่ยนเป็นพิพิธภัณฑ์ ประกอบด้วยห้องเด่นๆหลายห้องอยู่ฝั่งขวาของอาคาร เช่น
• ห้องฟังธรรม ภายในมีธรรมมาสน์ ห้องปูพรมและเป็นที่ประทับของเจ้ามหาชีวิติศรีสว่างวงศ์ในเวลาฟังธรรม
• ห้องรับแขกของพระมเหสี ภายในห้องจัดแสดงของขวัญจากประเทศต่างๆ
• ห้องรับแขกของเจ้ามหาชีวิต ภายในห้องสวยงามด้วยภาพจิตรกรรมฝาผนังเกี่ยวกับวิถีชีวิตชาวลาว ภาพวิวทิวทัศน์ ภาพงานประเพณี และยังมีรูปหล่อครึ่งองค์ของเจ้ามหาชีวิตอุ่นคำ เจ้ามหาชีวิตสักรินทร์ เจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวงศ์และเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวัฒนา ซึ่งทั้งหมดนี้หล่อมาจากประเทศฝรั่งเศษ
• ห้องท้องพระโรง ห้องนี้ใช้ทำพีธีราชาภิเษก ซึ่งเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวัฒนาเตรียมห้องนี้ไว้ทำพิธีราชาภิเษก แต่เกิดการเปลี่ยนแปลงปกครองเสียก่อน ภายในห้องติดประดับด้วยกระจกโมเสดสีแดงจากประเทศฝรั่งเศส
• นอกจากห้องสำคัญเหล่านี้แล้วด้านหลังของท้องพระโรงยังเป็นที่ตั้งของตำหนักของเจ้ามหาชีวิต อีกจุดที่เด่นของพระราชวังคือ
• หอพระบาง ภายในหอพระนี้เองเป็นที่ประดิษฐาน พระบาง ซึ่งเป็นพระคู่บ้านคู่เมือง พุทธลักษณะของพระบาง เป็นพระพุทธรูปปางประทับยืนปางประทานอภัย ทั้งสองพระหัตถ์ หรือปางห้ามสมุทร เป็นศิลปะสมัยขอมหลังบายน มีน้ำหนักประมาณ 54 กิโลกรัม ประกอบด้วยทองคำ 90 เปอร์เซ็นต์ และในหอพระนี้ยังมีพระพุทธนาคปรก สลักศิลาอีกสี่องค์และยังมีกลองโบราณอยู่ด้วย
• สถานที่ตั้ง อยู่ใจกลางเมืองหลวงพระบาง ริมแม่น้ำโขง
• ค่าเข้าชม 30,000 กีบ (ประมาณ 120 บาท)
• เปิดเวลา 08.00 - 11.30 น. และ 13.30 - 16.30 น.
• หมายเหตุ ภายในพระราชวังหลวง ห้ามการถ่ายรูปทุกชนิดครับ
Palace Museum, Luang Prabang, Laos
ตอบลบPalace Museum (built 1904-1909 onward)
The Palace Museum (Royal Palace Museum or National Museum), known locally as Haw Kham (Ho Kham) or the Golden Hall, was built between 1904 and 1909 as the new official royal residence for the monarchs of Luang Prabang. It replaced the rambling thatch, bamboo, teak and rosewood Lao-style palace on stilts built after the Haw Black Flag marauders destroyed much of the city in 1887. The building was sited adjacent to the left bank of the Mekong, so visitors formally could be met there and taken directly to the palace. Unlike the former structure that faced the Mekong (and was perhaps somewhat upriver from the present site), the 20th century structure faces the sacred Mount Phousi.
Built of brick and stucco instead of traditional materials, the main building is a blend of Laotian and French Beaux Arts architectural ideas and motifs that sought to symbolize ties between Luang Prabang and the ruling French colonial government. It was primarily designed by the French and built with a large number of Vietnamese workers, the building has two separate cruciform-style sections linked by the large throne room; perimeter exhibition galleries surround each of the sections. There have been a number of changes since its original construction; its steeply pitched roof, central Lao-type spire and the breadth of its facade were later additions and modifications. French architects originally had planned a European spire over the throne room, but King Sisavangvong (who even had studied in Paris), successfully insisted that it be Lao-style. There are classical style columns and a number of pediments reflecting European influence, though there is Lao style decoration and Lao style brackets between the roof sections and the exterior walls of the building. After the dissolution of the monarchy in 1975, the building was reopened as the National Museum, though the 'royal' and 'palace' designations still frequently are used. It remains a graceful and attractive, though not ostentatious, building.
The front section of the museum that formerly contained the official reception rooms now is the main exhibition area. The entry hall, once devoted to religious ceremonies and activities, still reflects the central position Buddhism in the former Lao kingdom and shows the intertwining elements of religion and the monarchy. There is the dais of the former supreme patriarch of Lao Buddhism and a diverse variety of Buddha statues. The king's former reception room to the right contains busts of the last three monarchs, murals of traditional Lao scenes painted by the French artist Alix de Fautereau in the 1930s, and several fine lacquer screens by Thit Tanh (a gifted local artist) that depict the Lao Ramayana, among other treasures. Other front rooms contain gifts from foreign leaders and governments, including some lunar rocks presented by President Richard Nixon. In the right front corner of the palace, standing in the place of honor in what was the king's former shrine room, is the sacred paladin of the city, the Prabang. (It is scheduled to be moved to the elaborate Haw Pha Bang chapel during the Lao New Year festivities in April 2006). The room also holds ancient Khmer sculpture, intricately carved ivory tusks and other valuable relics.
ตอบลบThe throne room has red walls with intricate glass mosaics dating from the 1950s that celebrate the 2500th anniversary of the Buddha entering nirvana. The room also has a variety of royal paraphernalia, including elaborate swords and scabbards, the king's personal howdah (elephant saddle) and religious artifacts including precious Buddha images (including some 15th and 16th century gold and crystal Buddhas from That Makmo, the Watermelon Stupa of Wat Wisunalat).
In the rear section of the building are the five rather simple rooms of the monarch's private quarters, largely preserved as they were left when the last (though uncrowned) monarch, Sisavang Vatthana, occupied the residence. There are the king's and queen's bedroom, dining room and library. One now contains an exhibition of Lao music and dance. Photographs are not permitted in any part of the interior.
There are a number of other buildings on the palace grounds, including a theater, conference hall, garage, boathouse, as well as the ornate Haw Pha Bang.
Text by Robert D. Fiala, Concordia University, Nebraska, USA
Location
The approximate location of the site is 19.892324' N, 102.135445' E (WGS 84 map datum).
ขอบคุณข้อมูลจาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/441/laos/luang-prabang/palace-museum