วันพฤหัสบดีที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

14.07.2560 Tamnak Maheyong, Ayutthaya, Thailand. ตำหนักมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

Tamnak Maheyong, Ayutthaya, Thailand.
ตำหนักมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

Tamnak Maheyong, Ayutthaya, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/1117/thailand/ayutthaya/tamnak-maheyong


Tamnak Maheyong (ตำหนักสมเด็จ) (1709 or 1711)

Tamnak Maheyong, literally, the "Royal Residence of Maheyong" was built in either 1709 or 1711 by King Thai Si as a royal residence. The site is small, measuring just 24.8 m x 10.5m. The interior of the building includes two rows of six columns each which once supported an upper level. The upstairs walls have square shaped windows while the ground floor walls have lotus-petal shaped windows. The King used this remote site as a place to observe the ongoing construction at Wat Maheyong immediately to the north (the visitor today can still easily see Wat Maheyong to the north and Wat Chang to the south when standing on the site). The Royal Chronicles of Ayutthaya note the following:
"In the year of the ox, first of the decade, a holy royal command was issued to have artisans restore the Monastery of the Mound [probably Wat Maheyong]. His Majesty constantly went in holy royal procession to have the artisans perform the work on that monastery. Occasionally, however, His Majesty stayed at a holy residence [Tamnak Maheyong] beside the Monastery of the Mound, sometimes for two months, and administered royal affairs in that place. It was more than three years before the monastery was completely finished." (Cushman, p. 404).
Standing in the otherwise barren fields around Tamnak Maheyong, it is difficult to imagine what the site must have been like in its heyday, as the Royal Residence was probably merely the centerpiece of a vast temporary camp of courtiers, officials, Buddhist priests and other royal attendants. Around Tamnak Maheyong are the occasional remnants of some of these ancillary structures, but they are few and far between.
Due to the remoteness of the site, visitors are advised to take care when accessing the site in the evening as a number of stray dogs use the building as a refuge.

Overview of the Vicinity of Tamnak Maheyong


 Drawn by Timothy M Ciccone following Fine Arts Department, and notes/photographs taken on site.

Location

The approximate location of the site is 14.362626' N, 100.595123' E (WGS 84 map datum).

Bibliography

All images copyright 2016 Timothy M. Ciccone. Photographed July 2016.
Aasen, Clarence. Architecture of Siam: A Cultural History Interpretation
  Oxford University Press, 1998. Kuala Lumpur.
Aymonier, E, and Walter E. Tips. Khmer Heritage in Thailand with Special Emphasis on Temples, Inscriptions, and Etymology.
  Bangkok, Thailand: White Lotus Press, 1999.
Cushman, Richard D., and David K. Wyatt. The Royal Chronicles of Ayutthaya.
  Bangkok: Siam Society, 2000.
Freeman, Michael. A Guide to Khmer Temples in Thailand & Laos
  New York: Weatherhill, 1998.
Krairiksh, Piriya. "A Revised Dating of Ayudhya Architecture". Journal of the Siam Socity 80.1 (1992).
Lassus, Pongkwan (Sukwattana). Architectural Heritage in Thailand
  Amarin Printing and Publishing, 2004. Bangkok.
Matics, K. I. Introduction to the Thai Temple
  White Lotus Co., 1992. Bangkok.
Ringis, Rita. Thai Temples and Temple Murals
  Oxford University Press, 1990. Kuala Lumpur.
Siribhadra, Smitthi and Elizabeth Moore. Palaces of the Gods: Khmer Art and Architecture in Thailand
  Bangkok: River Books, 1992.
Sthapitanonda, Nithi & Mertens, Brian. Architecture of Thailand: A Guide to Traditional and Contemporary Forms
  Thames and Hudson, 2005. Singapore.

01.Tamnak Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ตำหนักมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

02.Tamnak Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ตำหนักมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


03.Tamnak Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ตำหนักมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


04.Tamnak Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ตำหนักมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


05.Tamnak Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ตำหนักมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


06.Tamnak Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ตำหนักมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


07.Tamnak Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ตำหนักมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


08.Tamnak Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ตำหนักมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


ตำหนักมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
Tamnak Maheyong, Ayutthaya, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/1117/thailand/ayutthaya/tamnak-maheyong

-------------------------------------

จาก https://www.facebook.com/pg/Mind-GaLLerY-103154243175597/photos/?tab=album&album_id=118041961686825


1.ตำหนักมเหยงคณ์
เครดิตภาพ จาก https://www.facebook.com/Mind-GaLLerY

ตำหนักมเหยงคณ์ เป็นอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าทรงตึก 2 ชั้น. ได้รับอิทธิพลมาจากตะวันตก. ตั้งอยู่บนเกาะที่มีคูน้ำล้อมรอบ. มีขนาดกว้าง 10.50 เมตร ยาว 24.80 เมตร. ภายในอาคารมีเสาตั้งอยู่ 2 แถวๆละ 6 ต้น สำหรับรองรับพื้นไม้อาคารชั้นบน. ผนังอาคารชั้นบนเจาะช่องหน้าต่างเป็นรูปสี่เหลี่ยม ส่วนชั้นล่างเจาะเป็นซุ้มรูปกลีบบัว.

ตำหนักมเหยงคณ์ ปรากฏความในเป็นมาในพระราชพงศาวดารว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระโปรดให้สร้างขึ้น พร้อมกับการปฏิสังขรณ์ วัดมเหยงคณ์ ใน พ.ศ.2254 เพื่อใช้เป็นที่ทรงงาน เช่นเดียวกับ ตำหนัก กำมะเลียน ในวัดกุฏิขาว ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณใกล้กัน

 2.เครดิตภาพ จาก https://www.facebook.com/Mind-GaLLerY


 3.เครดิตภาพ จาก https://www.facebook.com/Mind-GaLLerY

 4.เครดิตภาพ จาก https://www.facebook.com/Mind-GaLLerY

ของคุณสำหรับภาพ ตำหนักมเหยงคณ์ จาก https://www.facebook.com/Mind-GaLLerY ครับ.

----------------------------------------------------------------

จาก http://m.touronthai.com/article.php?place_id=2103


วัดมเหยงคณ์ ตั้งอยู่ที่ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา แต่เดิมเป็นอาณาบริเวณของวัดที่สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 หรือเจ้าสามพระยาได้ทรงสร้างไว้เมื่อปี พ.ศ. 1981 ต่อมากลายเป็นวัดร้างมีสภาพเสื่อมโทรมลงเป็นอันมาก กรมศิลปากรได้ขึ้นบัญชีไว้ เป็นโบราณสถานแห่งชาติ และเป็นมรดกโลกที่ล้ำค่าอีกแห่งหนึ่ง วัดนี้ได้รับการปฏิสังขรณ์ครั้งแรกในสมัยพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ พ.ศ.2252 ระหว่างนั้นทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระตำหนักขึ้น นอกกำแพงวัดเพื่อประทับทอดพระนคร การปฏิสังขรณ์ ซึ่งกินเวลานานถึง 3 ปีเศษ เมื่อเสร็จสมบูรณ์แล้วโปรดเกล้าฯ ให้มีการเฉลิมฉลอง เป็นการใหญ่ถึง 7 วัน ตามพงศาวดารกล่าวถึงวัดนี้ไว้ว่า เมื่อครั้งเสียกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. 2112 พระเจ้ากรุงหงสาวดี ได้ตั้งทัพหลวงบัญชาการอยู่ ณ วัดมเหยงค์ แห่งนี้ ระยะเวลาปิดล้อม กรุงศรีอยุธยานานถึง 9 เดือน

 ด้วยปณิธานอันแน่วแน่ของท่านพระครูเกษมธรรมทัต (สุรศักดิ์ เขมรํสี) ที่มุ่งหวังจะมีส่วนช่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนา ผสมผสานกับแรงศรัทธาของญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลาย จึงทำให้บริเวณโดยรอบโบราณสถานวัดมเหยงคณ์ ที่เคยเป็นป่าเปลี่ยว รกร้างมานาน ได้กลับกลายเป็นสำนักปฏิบัติกรรมฐานที่สงบร่มรื่นในระยะเวลาไม่กี่ปี จนในปัจจุบันมีผู้เลื่อมใสศรัทธาเข้ามาบำเพ็ญทาน รักษาศีล และปฏิบัติสมาธิภาวนาเป็นจำนวนมาก

อัตราค่าเข้าชม : นักท่องเที่ยวชาวไทย คนละ 10 บาท ชาวต่างชาติ คนละ 50 บาท หรือสามารถซื้อบัตรรวมได้ ชาวไทย 40 บาท ชาวต่างประเทศ 220 บาท โดยบัตรนี้สามารถเข้าชมวัดและพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้ ภายในระยะเวลา 30 วัน อันได้แก่ วัดพระศรีสรรเพชญ์และพระราชวังหลวง วัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดพระราม วัดมเหยงค์ วัดไชยวัฒนาราม

 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สำนักงานวัดมเหยงคณ์ โทร. 0 3524 2892, 0 3524 4335 หรือ www.mahaeyong.org

ติดต่อสอบถาม ศูนย์ท่องเที่ยวอยุธยา ศาลากลางจังหวัดหลังเก่า โทร. 0 3532 2730-1
http://www.tourismthailand.org/ayutthaya

--------------------------------------------

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น