วันเสาร์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2560

18.06.2560 วัดพระมหาธาตุราชบวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย) หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว

วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.

ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.

Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos.
Photo Gallery
Asian Historical Architecture.

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/446/laos/luang-prabang/wat-mahathat



 01.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.



Wat Mahathat (built 16th century, 20 century onward)

Wat Mahathat or Wat That, officially Wat Pha Mahathat or Wat Si Mahatat, is the "Monastery of the Stupa" and is one of the more attractive of Luang Prabang's wats. It was founded by King Say Setthathirath (ruling from Chiang Mai) in 1548; the king also erected the imposing Lan Na style that, or stupa, that graces the ground in back of the sim. This stupa-prasat style has a tiered square base surmounted by the stupa with square, octagonal and round tiers above. The northern Thai influence can be seen in the golden umbrellas at the peak of the stupa and in many other places in the wat.
The wonderful sweeping stair and entryway from Thanon Chao Fa Ngum Road and its silver colored seven-headed naga is reminiscent of the more colorful and elaborated longer stairway at Wat Doi Suthep in Chiang Mai, Thailand. The adjoining wat to the northeast, Wat Ho Xiang, has similar decorative design flanking its stairway.
The present sim, or viharn, was rebuilt between 1907 and 1910 by Chao Maha Oupahat boun Kong to replace the one that collapsed during a typhoon that struck during evening prayers in April 1900. Many lost their lives in the tragic event that destroyed many other buildings of the wat. The sim, in Luang Prabang style, was rebuilt in 1910, and then restored beginning in 1963; more recent work on it (from 1991) has created a most attractive and ornamented facade with decorated rosette columns. There are interesting relief murals in its frontal portico and decorations depict the legends of King Thao Sithoanh and the Nang Manola, the kinnari (divine half-woman/half-bird reputed for its frolicsome kindness) in addition to stories from the Phra lak phra lam (the Ramayana). The popular Laotian legend is of Khmer origin and is very popular. The sim has a double-tiered roof with a magnificent fifteen segmented "Dok So Fa" (or nhot so fa), a metallic ornamentation at the center of the roof beam. The Dok So Fa symbolizes the universe and Mount Meru and is found on most Laotian sims. This particular Dok So Fa consists of a series of pagoda forms.
There are statues of the Earth Goddess, wringing water from her hair, that recall the story when the Buddha was threatened by the army of evil spirits and called on her. The water, accumulated from the meritorious deeds performed in his previous lives, drowned the entire Maran army.
Wat That had long served as one of the more significant wats in Luang Prabang. During the Laotian New Year, leaders of traditionally important Luang Prabang wats (Mai, Xieng Thong, Aham and Vixun) had solemnly visited it by palaquin. It still remains an important element of the religious structure of the city. Within the confines of the wat also are the ashes of the revered Prince Phetsarath (believed by many to have had magically invincible powers as a half-deity, half-royal khon kong), who declared Laos independent after the Japanese surrender in 1945, and Prince Souvanna Phouma, his younger half-brother, who served as prime minister and sought to retain Lao independence in negotiations with the Pathet Lao.
Text by Robert D. Fiala, Concordia University, Nebraska, USA

Location


The approximate location of the site is 19.887383' N, 102.132301' E (WGS 84 map datum).

 02.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 03.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 04.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 05.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.

** ช่อฟ้านับได้ .....ช่อ ครับ.


 06.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 07.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 08.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 09.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 10.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 11.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 12.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 13.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 14.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 15.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 16.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 17.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 18.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 19.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 20.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 21.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 22.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 23.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 24.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 25.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 26.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 27.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 28.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 29.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 30.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


 31.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.



32.ภาพ วัดพระมหาธาตุราชวรวิหาร (วัดทาดน้อย / วัดธาตุน้อย)  หรือ วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.
Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.


Wat Mahathat, Luang Prabang,Laos.
Photo Gallery
Asian Historical Architecture.

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/446/laos/luang-prabang/wat-mahathat

2 ความคิดเห็น:

  1. ได้มาเยือน วัดพะมะหาทาด ราดชะวรวิหาร หลวงพระบาง สปป.ลาว.

    Wat Mahathat, Luang Prabang, Laos.

    วัดพระมหาธาตุราชบวรวิหาร (วัดทาดน้อย) วัดพระมหาธาตุสร้างในปีพ.ศ. 2091 (สมัยพระเจ้าไซยเชษฐาธิราช)

    ได้รับการบูรณะมาแล้วหลายครั้ง แต่ครั้งที่สำคัญ เกิดขึ้นในปีพ.ศ.2453 โดยเจ้ามหาอุปราชบุญคง

    ภายในสิม (อุโบสถ) แบบล้านช้างมี "ราวเทียน" รูปนาค 24 ตัว ฝีมือการแกะวิจิตรงดงาม

    หน้าสิมมีเจดีย์ธาตุองค์ใหญ่ บรรจุอัฐิของเจ้าเพชรราชรัตนวงศา อดีตนายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศลาว และถือเป็นรัฐบุรุษของประเทศลาวยุคใหม่

    เฉพาะพระอุโบสถขนาดใหญ่ มีการตกแต่งเพิ่มเติมรูปสลักบนบานประตูและหน้าต่าง แสดงเรื่องเล่าชาดกพระสุธนมโนราห์ดูสวยงามเป็นอย่างมาก ซึ่งเป็นฝีมือสกุลช่างพ่อเฒ่าเพียตัน

    ด้านหลังมีพระธาตุเจดีย์ยอดทรงระฆังประดับเศวตฉัตร 17 ช่อ นั้นหมายถึง วัดนี้สร้างโดยพระมหากษัตริย์หรือเจ้าชีวิต.

    ตอบลบ
  2. ข้อมูลจาก http://art-in-sea.com/th/data/lao-art/itemlist/category/183-wat-thatnoi.html

    วัดมหาธาตุ (ธาตุน้อย).

    สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2091 ( 469 ปี) ในสมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช. จากจารึกของวัด กล่าวถึงงานประเพณีโบราณ คือ การกัลปนาที่ดิน ที่นา ข้าวัด และ การส่งส่วย. ในศักราช 910 (พ.ศ.2091) พระราชอัยกามหาเทวีเจ้า ซึ่งน่าจะหมายถึง ย่า หรือ ยาย ของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช (สันนิษฐานว่า น่าจะหมายถึง "ยาย" (พระมเหสีของพระเมืองเกษเกล้า) ของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช มากกว่า) ทรงตั้ง พระมหาธาตุ และ ถวายข้าไพร่แก่อาราม. กำหนดให้ บ้านโคม บ้านคาง บ้านโจน ส่งส่วยข้าว (งวดข้าว) บ้านใหม่ บ้านจีม และ บ้านซวาก ส่งส่วยหมาก (งวดหมาก) ตามที่กำหนด และ นาพูภู (ภูกูด) เหนือทั้งมวลให้เป็นนาข้าวถวายองค์พระพุทธรูป และ ให้ข้าทาสที่ถวายแก่วัดใช้บริโภค.

    สิ่งก่อสร้างสำคัญ คือ สิม ซึ่งหลังเดิมถูกพายุพัดทำลายลงไป เมื่อ พ.ศ.2443 และ ได้สร้างขึ้นใหม่ในปี พ.ศ.2450 - 2455 โดย เจ้ามหาอุปราชบุนคง. วัดแห่งนี้ได้รับการบูรณะมาหลายครั้ง โดยเฉพาะในปี พ.ศ.2494 ได้มีการรื้อหลังคาใหม่ ก่อผนังปูน มีการติดลายทอง ทำหน้าบันใหม่ และขนานนามวัดว่า "วัดพระศรีมหาธาตุ ราชบวรวิหาร".

    พระธาตุ มีรูปแบบเป็นเจดีย์ทรงปราสาท อยู่ในผังสี่เหลี่ยม ไม่ยกเก็จ (ล้านนามักสร้างฐานยกเก็จเสมอ)
    ฐานยกสูงมาก ประดับด้วยฐานบัว 2 ฐาน ซ้อนกันตามรูปแบบเจดีย์ล้านนา. บริเวณเรือนธาตุมีซุ้มจระนำ ประดิษฐานพระพุทธรูป. ถัดขึ้นไปเป็นหลังคาลาด และ ส่วนยอดเป็นเจดีย์ทรงระฆัง. พระธาตุองค์นี้มีรูปแบบคล้ายเจดีย์วัดโลกโมฬี จังหวัดเชียงใหม่ สันนิษฐานว่า น่าจะเป็นอิทธิพลศิลปะล้านนา อาจกำหนดอายุได้ราวปลายพุทธศตวรรษที่ 21.

    ตอบลบ