สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ข้อมูลและภาพ จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/670/vietnam/hue/minh-mang-tomb
Minh Mang Tomb (built 1841-43)
Minh Mang ruled from 1820 to 1840 but was not laid to rest until 1843 when this tomb designed during his rule was completed by his successor.
Location
The approximate location of the site is 16.387604' N, 107.569321' E (WGS 84 map datum).
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
02.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
03.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
04.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
05.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
06.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
07.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
08.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
09.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
10.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
11.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
12.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
13.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
14.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
15.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
16.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
17.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
18.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
19.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
20.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
21.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
22.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
23.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
24.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
25.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
26.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
27.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
28.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
29.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
30.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
31.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
32.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
33.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
34.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
35.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
36.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
37.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
38.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
39.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
40.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
41.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
42.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
43.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
44.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
45.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
46.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
47.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
48.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
49.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
50.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
51.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
52.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
53.Minh Mang Tomb, Hue, Vietnam. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
------------------------------------------------------------------
ขอบคุณ ภาพจาก https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Hue_Vietnam_Tomb-of-Emperor-Minh-Mang-01.jpg
สุสานสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง, เมืองเหว้ จังหวัดเถื่อเทียน สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม.
------------------------------------------------------------------
ขอบคุณ ภาพจาก https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Hue_Vietnam_Tomb-of-Emperor-Minh-Mang-01.jpg
File:Hue Vietnam Tomb-of-Emperor-Minh-Mang-01.jpg
-----------------------------------------------------------------------------
ขอบคุณ ข้อมูลและภาพ จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Minh Mạng
Minh Mạng
[hide]This article has multiple issues. Please help improve it or discuss these issues on the talk page. (Learn how and when to remove these template messages)
|
Minh Mạng | |||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
Emperor of Đại Nam | |||||||||||||||||
Portrait of Emperor Minh Mang
| |||||||||||||||||
Emperor of the Nguyen Dynasty | |||||||||||||||||
Reign | 14 February 1820 – 20 January 1841 | ||||||||||||||||
Predecessor | Gia Long | ||||||||||||||||
Successor | Thiệu Trị | ||||||||||||||||
Born | 25 May 1791 Gia Định, Đại Nam | ||||||||||||||||
Died | 20 January 1841 (aged 49) Phú Xuân, Đại Nam | ||||||||||||||||
Burial | Hiếu Lăng | ||||||||||||||||
Spouse | Empress Tá Thiên | ||||||||||||||||
Issue | Nguyễn Phúc Miên Tông, Emperor Thiệu Trị 77 other sons and 64 daughters | ||||||||||||||||
| |||||||||||||||||
House | Nguyễn dynasty | ||||||||||||||||
Father | Emperor Gia Long | ||||||||||||||||
Mother | Empress Thuận Thiên | ||||||||||||||||
Religion | Confucianism | ||||||||||||||||
Signature |
Minh Mạng (chữ Hán: 明命, 25 May 1791 – 20 January 1841; born Nguyễn Phúc Đảm (chữ Hán: 阮福膽), also known as Nguyễn Phúc Kiểu) was the second emperor of the Nguyễn dynasty of Vietnam, reigning from 14 February 1820 until his death, on 20 January 1841.[1] He was the fourth son of Emperor Gia Long, whose eldest son, Crown Prince Cảnh, had died in 1801. He was well known for his opposition to French involvement in Vietnam and his rigid Confucian orthodoxy.
Contents
[hide]Early years[edit]
Minh Mạng | |
Vietnamese name | |
---|---|
Vietnamese | Minh Mạng |
Hán-Nôm | 明命 |
Birth name | |
Vietnamese alphabet | Nguyễn Phúc Đảm |
---|---|
Hán-Nôm | 阮福膽 |
Nguyễn dynasty monarchs | ||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
| ||||||||||||||||||||||||||
Born Nguyễn Phúc Đảm at Gia Định in the middle of the Second Tây Sơn - Nguyễn Civil War, Minh Mạng was the fourth son of lord Nguyễn Phúc Ánh - future Emperor Gia Long. His mother was Gia Long’s second wife Trần Thị Đang(historically known as Empress Thuận Thiên). At the age of three, under the effect of a written agreement made by Gia Long with his first wife Tống Thị Lan (Empress Thừa Thiên), he was taken in and raised by the lord consort as her own son.[2]
Following Thừa Thiên’s death in 1814, it was supposed that her grandson, Crown Prince Cảnh’s eldest son Mỹ Đường, would be responsible for conducting the funeral. Gia Long however, brought out the agreement to insist that Phúc Đảm, as Thừa Thiên’s son, should be the one fulfilling the duty. Despite opposition from mandarins such as Nguyễn Văn Thành, Gia Long was decisive with his selection.[3]
In 1816, Gia Long appointed Đảm as his heir apparent. After the ceremony, Crown Prince Đảm moved to Thanh Hòa Palace and started assisting his father in processing documents and discussing country issues.[4]
Gia Long's death coincided with the re-establishment of the Paris Missionary Society's operations in Vietnam, which had closed in 1792 during the chaos of the power struggle between Gia Long and the Tây Sơn brothers before Vietnam was unified. In the early years of Minh Mạng's government, the most serious challenge came from one of his father's most trusted lieutenants and a national hero in Vietnam, Lê Văn Duyệt, who had led the Nguyễn forces to victory at Qui Nhơn in 1801 against the Tây Sơn Dynasty and was made regent in the south by Gia Long with full freedom to rule and deal with foreign powers.
Policy towards missionaries[edit]
In February 1825, Minh Mạng banned missionaries from entering Vietnam. French vessels entering Vietnamese harbours were ordered to be searched with extra care. All entries were to be watched "lest some masters of the European religion enter furtively, mix with the people and spread darkness in the kingdom." In an imperial edict, Christianity was described as the "perverse European" (practice) and accused of "corrupting the hearts of men".[5]
Between 1833 and 1838, seven missionaries were sentenced to death, amongst them Pierre Borie, Joseph Marchand, and Jean-Charles Cornay. He first attempted to stifle the spread of Christianity by attempting to isolate Catholic priests and missionaries from the populace. He asserted that he had no French interpreters after Chaigneau's departure and summoned the French clergy to Hue and appointed them as mandarins of high rank to woo them from their proselytising. This worked until a priest, Father Regereau, entered the country and began missionary work. Following the edict which forbade further entry of missionaries into Vietnam, arrests of clerics began. After strong lobbying by Duyệt, the governor of Cochin China, and a close confidant of Gia Long and Pigneau de Behaine, Minh Mạng agreed to release the priests on the condition that they congregate at Đà Nẵng and return to France. Some of them obeyed the orders, but others disobeyed the order upon being released, and returned to their parishes and resumed preaching.[citation needed]
Isolationist foreign policy[edit]
Minh Mạng continued and intensified his father's isolationist and conservative Confucian policies. His father had rebuffed a British delegation in 1804 proposing that Vietnam be opened to trade. The delegation's gifts were not accepted and turned away. At the time, Vietnam was under no threat of colonisation, since most of Europe was engaged in the Napoleonic Wars. Nevertheless, Napoleon had seen Vietnam as a strategically important objective in the colonial power struggle in Asia, as he felt that it would make an ideal base from which to contest the British East India Company's control of the Indian subcontinent. With the restoration of the monarchy and the final departure of Napoleon in 1815, the military scene in Europe quieted and French interest in Vietnam was revived. Jean-Baptiste Chaigneau, one of the volunteers of Pigneau de Behaine who had helped Gia Long in his quest for power, had become a mandarin and continued to serve Minh Mạng, upon whose ascension, Chaigneau and his colleagues were treated more distantly. He eventually left in November 1824. In 1825, he was appointed as French consul to Vietnam after returning to his homeland to visit his family after more than a quarter of a century in Asia. Upon his return, Minh Mạng received him coldly. The policy of isolationism soon saw Vietnam fall further behind and become more vulnerable as political stability returned to continental Europe, allowing her colonial powers a free hand to once again direct their attention towards further conquests. With his Confucian orthodoxy, Minh Mạng shunned all western influence and ideas as hostile and avoided all contact.[citation needed]
In 1820, Captain John White of the United States Navy was the first American to make contact with Vietnam, arriving in Saigon. Minh Mạng was willing to sign a contract, but only to purchase artillery, firearms, uniforms and books. White was of the opinion that the deal was not sufficiently advantageous and nothing was implemented. In 1821, a trade agreement from Louis XVIII was turned away, with Minh Mạng indicating that no special deal would be offered to any country. That same year, British East India Company agent John Crawfurd made another English attempt at contact, but was only allowed to disembark in the northern ports of Tonkin; he gained no agreements, but concluded relations with France posed no threat to Company trade.[6] In 1822, the French frigate La Cleopatre visited Tourane (present day Đà Nẵng). Her captain was to pay his respects to Minh Mạng, but was greeted with a symbolic dispatch of troops as though an invasion had been expected. In 1824 Minh rejected the offer of an alliance from Burma against Siam, a common enemy of both countries. In 1824 Henri Baron de Bougainville was sent by Louis XVIII to Vietnam with the stated mission "of peace and protection of commerce. Upon arriving in Tourane in 1825, it was not allowed ashore. The royal message was turned away on the pretext that there was nobody able to translate it. It was assumed that the snub was related to an attempt by Bougainville to smuggle ashore a Catholic missionary from the Missions étrangères de Paris. Jean-Baptiste Chaigneau's nephew, Eugène Chaigneau, was sent to Vietnam in 1826 as the intended consul but was forced to leave the country without taking up his position. Further fruitless attempts to start a commercial deal were led by de Kergariou in 1827 and Admiral Laplace in 1831. Another effort by Chaigneau in 1829 also failed. In 1831 another French envoy was turned away. Vietnam under Minh Mạng was the first East Asian country with whom the United States sought foreign relations. President Andrew Jackson tried twice to contact Minh Mạng, sending diplomatist Edmund Roberts in 1832, and Consul Joseph Balestier in 1836, to no avail. In 1837 and 1838, La bonite and L'Artémise were ordered to land in Tourane to attempt to gauge the situation in Vietnam with respect to missionary work. Both were met with hostility and communication was prevented.[citation needed] Later, in 1833 and 1834, a war with Siam was fought over control of Cambodia which for the preceding century had been reduced to impotence and fell under control of its two neighbours. After Vietnam under Gia Long gained control over Cambodia in the early 19th century, a Vietnamese-approved monarch was installed. Minh Mạng was forced to put down a Siamese attempt to regain control of the vassal as well as an invasion of southern Vietnam which coincided with rebellion by Lê Văn Khôi. The Siamese planned the invasion to coincide with the rebellion, putting enormous strain on the Nguyễn armies. Eventually, Minh Mạng's forces were able to quell the invasion as well as the revolt in Saigon, and he reacted to western aggression by blaming Christianity and showing hostility, giving the European powers to assert that intervention was needed to protect their missionaries. This resulted in missed opportunities to avert future colonisation through having friendly relations, since strong opposition was occurring in France against an invasion, wary of the costs of such a venture. After China was attacked by Britain in the Opium War, Minh Mạng attempted to build an alliance with European powers by sending a delegation of two lower rank mandarins and two interpreters in 1840. They were received in Paris by Prime Minister Marshal Soult and the Commerce Minister, but they were shunned by King Louis-Philippe. This came after the Society of Foreign Missions and the Holy See had urged a rebuke for an "enemy of the religion". The delegation went on to London, with no success.[citation needed]
Domestic program[edit]
On the domestic front, Minh Mạng continued his father's national policies of reorganising the administrative structure of the government. These included the construction of highways, a postal service, public storehouses for food, monetary and agrarian reforms. He continued to redistribute land periodically and forbade all other sales of land to prevent wealthy citizens from reacquiring excessive amounts of land with their money. In 1840 it was decreed that rich landowners had to return a third of their holdings to the community. Calls for basic industrialisation and diversification of the economy into fields such as mining and forestry were ignored. He further centralised the administration, introduced the definition of three levels of performance in the triennial examinations for recruiting mandarins. In 1839, Minh Mạng introduced a program of salaries and pensions for princes and mandarins to replace the traditional assignment of fief estates.[citation needed]
Conquests and ethnic minority policy[edit]
Minh Mang enacted the final conquest of the Champa Kingdom after the centuries long Cham–Vietnamese wars. The ChamMuslim leader Katip Suma was educated in Kelantan and came back to Champa to declare a Jihad against the Vietnamese after Emperor Minh Mang's annexation of Champa.[7][8][9][10] The Vietnamese coercively fed lizard and pig meat to Cham Muslims and cow meat to Cham Hindus against their will to punish them and assimilate them to Vietnamese culture.[11]
Minh Mang sinicized ethnic minorities such as Cambodians, claimed the legacy of Confucianism and China's Han dynasty for Vietnam, and used the term Han people 漢人 (Hán nhân) to refer to the Vietnamese.[12] Minh Mang declared that "We must hope that their barbarian habits will be subconsciously dissipated, and that they will daily become more infected by Han [Sino-Vietnamese] customs."[13] This policies were directed at the Khmer and hill tribes.[14] The Nguyen lord Nguyen Phuc Chu had referred to Vietnamese as "Han people" in 1712 when differentiating between Vietnamese and Chams.[15] It was said "Hán di hữu hạn" 漢夷有限 ("the Vietnamese and the barbarians must have clear borders" by the Gia Long Emperor (Nguyễn Phúc Ánh) when differentiating between Khmer and Vietnamese.[16] Minh Mang implemented an acculturation integration policy directed at minority non-Vietnamese peoples.[17] Thanh nhân 清人 or Đường nhân 唐人 were used to refer to ethnic Chinese by the Vietnamese while Vietnamese called themselves as Hán dân 漢民 and Hán nhân 漢人 in Vietnam during the 1800s under Nguyễn rule.[18]
Chinese style clothing was forced on Vietnamese people by the Nguyễn.[20][21][22][23][24][25] Trousers have been adopted by White H'mong.[26] The trousers replaced the traditional skirts of the females of the White Hmong.[27] The tunics and trouser clothing of the Han Chinese on the Ming tradition was worn by the Vietnamese. The Ao Dai was created when tucks which were close fitting and compact were added in the 1920s to this Chinese style.[28]Trousers and tunics on the Chinese pattern in 1774 were ordered by the Vo Vuong Emperor to replace the sarong type Vietnamese clothing.[29] The Chinese clothing in the form of trousers and tunic were mandated by the Vietnamese Nguyen government. It was up to the 1920s in Vietnam's north area in isolated hamlets where skirts were worn.[30] The Chinese Ming dynasty, Tang dynasty, and Han dynasty clothing was ordered to be adopted by Vietnamese military and bureaucrats by the Nguyen Lord Nguyễn Phúc Khoát (Nguyen The Tong).[31]
Rebellions[edit]
Minh Mạng was regarded as being in touch with the concerns of the populace. Frequent local rebellions reminded him of their plight. Descendants of the old Lê dynasty fomented dissent in the north, appealing not only to the peasantry but to the Catholic minority. They attempted to enlist foreign help by promising to open up to missionaries. Local leaders in the south were upset with the loss of the relative political autonomy they enjoyed under Duyệt. With Duyệt's death in 1832, a strong defender of Christianity passed. Catholics had traditionally been inclined to side with rebel movements against the monarchy more than most Vietnamese and this erupted after Duyệt's death. Minh Mạng ordered Duyệt posthumously indicted and one hundred lashes were applied to his grave. This caused indignation against southerners who respected Duyệt. In July 1833, a revolt broke out under the leadership of his adopted son, Lê Văn Khôi. Historical opinion is divided with scholars contesting whether the grave desecration or the loss of southern autonomy after Duyệt's death was the main catalyst. Khôi's rebels brought Cochinchina under their control and proposed to replace Minh Mạng with a son of Prince Cảnh. Khôi took into hostage French missionary Joseph Marchand[32] within the citadel, thinking that his presence would win over Catholic support. Khôi enlisted Siamese support, which was forthcoming and helped put Minh Mạng on the defense for a period.
Eventually, however, the Siamese were defeated and the south was recaptured by royalist forces, who besieged Saigon. Khôi died during the siege in December 1834 and Saigon fell nine months later in September 1835 and the rebel commanders put to death. In all the estimates of the captured rebels was put between 500 and 2000, who were executed. The missionaries were rounded up and ordered out of the country. The first French missionary executed was Gagelin in October 1833, the second was Marchand, who was put to death along with the other leaders of the Saigon citadel which surrendered in September 1835. From then until 1838 five more missionaries were put to death. The missionaries began seeking protection from their home countries and the use of force against Asians.[citation needed]
Minh Mạng pursued a policy of cultural assimilation of non-Viet ethnic groups which from 1841, through 1845, led to southern Vietnam experiencing a series of ethnic revolts.[33]
Ruling style[edit]
Minh Mạng was known for his firmness of character, which guided his instincts in his policy making. This accentuated his unwillingness to break with orthodoxy in dealing with Vietnam's problems. His biographer, Marcel Gaultier, asserted that Minh Mạng had expressed his opinions about national policy before Gia Long's death, proposing a policy of greater isolationism and shunning westerners, and that Long tacitly approved of this. Minh Mạng was regarded as more nuanced and gentle than his father, with less forced labour and an increased perceptiveness towards the sentiment of the peasantry. His strict belief in Confucian society enabled him to neutralize rebellions incited by Christian missionaries and their Vietnamese converts. This affirmation of Vietnam's cultural and religious sovereignty angered France, which had territorial designs on Vietnam. France then furthered its policy of undermining Vietnam and, in 1858, after Minh Mang's death, French troops would briefly occupy Tourane, demanding that the so-called "persecutions" stop. This was the beginning of the French campaign to occupy and colonize Vietnam.[citation needed]
Although he disagreed with European culture and thinking, he studied it closely and was known for his scholarly nature. Ming Mạng was keen in Western technologies, namely mechanics, weaponry and navigation which he attempted to introduce into Vietnam. Upon hearing of the vaccination against smallpox, he organised for a French surgeon to live in a palatial residence and vaccinate the royal family against the disease. He was learned in Eastern philosophy and was regarded as an intellectually oriented monarch. He was also known for his writings as a poet. He was known for his attention to detail and micromanagement of state affairs, to a level that "astonished his contemporaries". As a result, he was held in high-regard for his devotion to running the country. When Minh Mạng died, he left the throne to his son, Emperor Thiệu Trị, who was more rigidly Confucianist and anti-imperialist than his father. During Thiệu Trị's reign, diplomatic standoffs precipitated by aspiring European imperial powers on the pretext of the "treatment" of Catholic priests gave them an excuse to use gunboat diplomacy on Vietnam, and led to increasing raids and the eventual colonisation of Vietnam by France. Nevertheless, during his reign Minh Mạng had established a more efficient government, stopped a Siamese invasion and built many national monuments in the imperial city of Huế.[citation needed]
Imperial succession poem[edit]
Vietnamese Wikisource has original text related to this article: |
Minh Mạng had many wives and children, he decided to name his descendants (Nguyễn Phước or Nguyễn Phúc: all members of the Nguyễn Dynasty) by choosing the Generation name following the words of the Imperial succession poem to avoid confusion. For boys, the following poem is shown in Chữ Quốc Ngữ (modern Vietnamese script) and in chữ nôm:
|
|
Note: Hường = Hồng // Thoại = Thụy
They replaced Hồng with Hường and Thụy with Thoại because they're the forbidden names of the passed emperors or fathers.
The meaning of each name is roughly given as follows:[34]
Name | Meaning |
---|---|
Miên | respecting above all the rules of life, such as meeting and parting, life and death (Trường cửu, phước duyên trên hết) |
Hường (Hồng) | building a harmonious family (Oai hùng, đúc kết thế gia) |
Ưng | establishing a prosperous country (Nên danh, xây dựng sơn hà) |
Bửu | being helpful and caring toward the common people (Bối báu, lợi tha quần chúng) |
Vĩnh | having a good reputation (Bền chí, hùng ca anh tụng) |
Bảo | being courageous (Ôm lòng, khí dũng bình sanh) |
Quý | being elegant (Cao sang, vinh hạnh công thành) |
Định | being decisive (Tiền quyết, thi hành oanh liệt) |
Long | having a typically royal appearance (Vương tướng, rồng tiên nối nghiệp) |
Trường | being long-lasting (Vĩnh cửu, nối tiếp giống nòi) |
Hiền | being humane (Tài đức, phúc ấm sáng soi) |
Năng | being talented (Gương nơi khuôn phép bờ cõi) |
Kham | being hard-working and versatile (Đảm đương, mọi cơ cấu giỏi) |
Kế | being well-organized (Hoạch sách, mây khói cân phân) |
Thuật | being truthful in speech (Biên chép, lời đúng ý dân) |
Thế | being faithful to the family (Mãi thọ, cận thân gia tộc) |
Thoại (Thụy) | being wealthy (Ngọc quý, tha hồ phước tộc) |
Quốc | being admired by the citizens (Dân phục, nằm gốc giang san) |
Gia | being well-established (Muôn nhà, Nguyễn vẫn huy hoàng) |
Xương | bringing prosperity to the world (Phồn thịnh, bình an thiên hạ) |
Girls receive also a different name on each generation, for example: Công-Chúa, Công-Nữ, Công Tôn-Nữ, Công-Tằng Tôn-Nữ, Công-Huyền Tôn-Nữ, Lai-Huyền Tôn-Nữ, or shorten to Tôn-Nữ for all generations afterward.
------------------------------------------------------------------------------------
ขอบคุณ ข้อมูลและภาพ จาก https://th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง
สมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง
จักรพรรดิมิญ หมั่ง | |
---|---|
ฮหว่างเด๊ | |
ภาพวาดสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง ในเอกสารของจอห์น ครอว์เฟิร์ด
| |
ครองราชย์ | 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1820 – 20 มกราคม ค.ศ. 1841 |
ก่อนหน้า | สมเด็จพระจักรพรรดิซา ล็อง |
ถัดไป | สมเด็จพระจักรพรรดิเถี่ยว จิ |
อัครมเหสี | โห่ ถิ ฮวา |
ราชวงศ์ | ราชวงศ์เหงียน |
พระราชบิดา | จักรพรรดิซาลอง |
พระราชมารดา | จักรพรรดินีถ่วน เทียน |
ประสูติ | 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1791 ไซ่ง่อน, เวียดนาม |
สวรรคต | 20 มกราคม ค.ศ. 1841 (49 ปี) เว้, เวียดนาม |
สมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง (เวียดนาม: Minh Mạng, 明命, พินอิน: Míng mìng หมิงมิ่ง; 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1791 — 20 มกราคม ค.ศ. 1841) หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิเหงียน ทั้ญ โต๋ (Nguyễn Thánh Tổ, 阮聖祖) แห่งราชวงศ์เหงียน ทรงเป็น ฮหว่างเด๊ หรือสมเด็จพระจักรพรรดิแห่งราชอาณาจักรเวียดนาม คือประเทศเวียดนามในปัจจุบัน ทรงมีรัชสมัยตรงกับพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวและทรงเป็นผู้นำของเวียดนามในช่วงสงครามอานามสยามยุทธ
สมเด็จพระจักรพรรดิซา ล็อง พระบิดาของสมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง ได้กอบกู้เวียดนามจากกบฏเต็ยเซิน สมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง ทรงรับช่วงต่อบ้านเมืองจากพระบิดาและทรงจัดระเบียบการปกครองของราชสำนักเวียดนามให้เรียบร้อย พระจักรพรรดิมิญ หมั่ง ได้ชื่อว่าทรงเคร่งครัดในลัทธิขงจื๊อใหม่ (Neo–Confucianism) เป็นอย่างมาก ทำให้ทรงเป็นกษัตริย์ที่ใส่พระทัยในการปกครองและความเป็นอยู่ของราษฎร แต่ทว่าความเคร่งครัดในลัทธิขงจื๊อของพระองค์ทำให้ราชสำนักเวียดนามเกิดความขัดแย้งกับมิชชันนารีชาวตะวันตก ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างเวียดนามกับชาติตะวันตกโดยเฉพาะฝรั่งเศสเสื่อมถอยลงอย่างมากในรัชสมัยของพระองค์ จนนำไปสู่การสูญเสียเอกราชแก่ฝรั่งเศสในที่สุด
เนื้อหา
[ซ่อน]ชีวิตวัยเยาว์[แก้]
สมเด็จพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง เดิมมีพระนามว่า เหงียน ฟุก ด๋าม (Nguyễn Phúc Đảm, 阮福膽) ประสูติเมื่อ ค.ศ. 1791 ที่เมืองซาดิ่ญ (Gia Định) หรือไซง่อนในปัจจุบัน ทรงเป็นโอรสองค์ที่สี่ของเจ้าเหงียน ฟุก อั๊ญ (Nguyễn Phúc Ánh, 阮福暎) หรือองเชียงสือ ที่เกิดกับพระนางเจิ่น ถิ ดาง (Trần Thị Đang, 陈氏璫) ภริยารองของเหงียน ฟุก อั๊ญ ในขณะที่บิดาเหงียน ฟุก อั๊ญ กำลังต่อสู้กับกบฏเต็ยเซินทางเหนือ เหงียน ฟุก ด๋ามมีพี่ชายต่างมารดาคือ เหงียน ฟุก กั๋ญ (Nguyễn Phúc Cảnh, 阮福景) ซึ่งเหงียน ฟุก อั๊ญ หมายจะให้เป็นทายาท แต่ทว่าเหงียน ฟุก กั๋ญ ได้ถึงแก่อสัญกรรมลงไปเสียก่อนเมื่อ ค.ศ. 1801
ใน ค.ศ. 1804 หลังจากรวบรวมเวียดนามได้คนเป็นปึกแผ่นแล้ว เหงียน ฟุก อั๊ญ ได้ปราบดาภิเษกขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระจักรพรรดิซา ล็อง แห่งเวียดนาม เหงียน ฟุก ด๋าม ในฐานะพระโอรสจึงมีสถานะเป็นเจ้าชายไปด้วยเช่นกัน แล้วเสด็จไปประทับที่เมืองเว้ ราชธานีของราชวงศ์เหงียน ในประเด็นเรื่องการสืบทอดราชบัลลังก์ ตามหลักลัทธิขงจื๊อการสืบทอดตำแหน่งจะต้องเป็นไปจากบิดาสู่บุตรชายเท่านั้น หมายความว่าโอรสของเจ้าชายเหงียน ฟุก กั๋ญ คือ เจ้าชายเหงียน ฟุก หมี เดื่อง (Nguyễn Phúc Mỹ Đường) ควรจะได้รับตำแหน่งเจ้าชายรัชทายาท แต่ทว่าเจ้าชายกั๋ญนั้นเมื่อครั้งยังมีพระชนม์ชีพทรงมีความใกล้ชิดสนิทสนมกับมิชชันนารีบาทหลวงชาวฝรั่งเศส และได้เคยทรงเดินทางไปยังกรุงปารีสเมื่อ ค.ศ. 1785 ในช่วงปลายรัชกาลพระจักรพรรดิซา ล็อง ทรงเริ่มมีความแคลงใจต่อขุนนางชาวตะวันตกในราชสำนักของพระองค์ แม้ว่าบาทหลวงชาวฝรั่งเศสจะมีบทบาทสำคัญในการนำทัพฝรั่งเศสเข้าช่วงพระจักรพรรดิซา ล็อง ในการปราบกบฏเต็ยเซิน แต่พระจักรพรรดิซา ล็อง ทรงเห็นว่าชาวตะวันตกจะเป็นภัยคุกคาม ใน ค.ศ. 1815 พระองค์จึงทรงตัดสินพระทัยละทิ้งครอบครัวสายวงศ์ของเจ้าชายกั๋ญ และแต่งตั้งให้เจ้าชายเหงียน ฟุก ด๋าม เป็น ท้ายตื๋อ (Thái Tử, 太子) หรือเจ้าชายรัชทายาท ท่ามกลางเสียงคัดค้านจากขุนนางอาวุโสทั้งหลาย เหตุด้วยผิดธรรมเนียมตามหลักขงจื๊อ
ขึ้นครองราชย์[แก้]
จักรพรรดิซา ล็อง เสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1820 ท้ายตื๋อ เหงียน ฟุก ด๋าม จึงขึ้นครองราชสมบัติต่อมา ประกาศใช้รัชศก "มิญ หมั่ง" แปลว่า "ชีวิตโชติช่วง" อย่างไรก็ตามพระราชอำนาจที่พระจักรพรรดิมิญ หมั่ง ทรงสืบทอดมาจากพระบิดานั้นไม่มากนัก ในขณะนั้นอาณาจักรเวียดนามแบ่งออกเป็นสามส่วน พระจักรพรรดิทรงมีอำนาจโดยตรงเฉพาะในเวียดนามส่วนกลางอันมีราชธานีอยู่ที่เมืองเว้เท่านั้น ทางส่วนเหนือมีข้าหลวงปกครองเรียกว่า บั๊กถั่ญ (Bắc Thành, 北城) ประจำอยู่ที่เมืองฮานอย และทางส่วนใต้มี ซาดิ่ญถั่ญ (Gia Định Thành, 嘉定城) เป็นข้าวหลวงประจำอยู่ที่เมืองไซ่ง่อน ซึ่งข้าหลวงเหล่านี้มีอำนาจเต็มที่ในการปกครองดินแดนของตนแม้ว่าจะอยู่ภายใต้พระราชอำนาจของฮหว่างเด๊ที่เมืองเว้ก็ตาม โดยเฉพาะผู้ดำรงตำแหน่งซาดิ่ญถั่ญในขณะนั้นคือ เล วัน เสวียต (Lê Văn Duyệt, 黎文悅) หรือที่คนไทยรู้จักในนาม องต๋ากุน ผู้ซึ่งเป็นขุนพลคนสำคัญที่ได้ช่วยเหลือพระจักรพรรดิซา ล็อง ในการรวบรวมประเทศ เล วัน เสวียต เป็นขุนนางที่มีอำนาจอย่างล้นพ้นในทางตอนใต้ของเวียดนามไปจนถึงกัมพูชา และเป็นหนึ่งในผู้คัดค้านการแต่งตั้งเจ้าชายเหงียน ฟุก ด๋าม เป็น ท้ายตื๋อ
เวียดนามใต้อันมีเมืองไซ่ง่อนเป็นศูนย์กลางนั้น ในสมัยราชวงศ์เหงียนเป็นดินแดนที่มีอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมแตกต่างจากส่วนอื่นของเวียดนาม เนื่องจากว่าเวียดนามใต้เป็นดินแดนที่เพิ่งจะเข้ามาอยู่ในการปกครองของเวียดนามในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ยังคงมีชาวเขมรต่ำ (หรือขแมร์กรอม) และชาวจามอาศัยอยู่จำนวนมาก และยังคงรักษาวัฒนธรรมตามแบบฮินดู-พุทธของตนเองเอาไว้ นอกจากอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมแล้ว ในทางการเมืองเวียดนามภาคใต้ยังอยู่ภายใต้การปกครองของเล วัน เสวียต เจ้าขุนศึกที่มีอำนาจมากเปรียบเสมือนเป็นหอกข้างแคร่สำหรับจักรพรรดิมิญ หมั่ง อยู่เสมอ ประเด็นเรื่องเวียดนามภาคใต้จึงรบกวนพระทัยของพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง ไปตลอดรัชสมัย
พระจักรพรรดิมิญ หมั่ง ทรงมีนโยบายรวบรวมอำนาจสู่ศูนย์กลาง ทรงจัดตั้ง เหวี่ยนเกอเหมิต (Viện cơ mật, 院機密) หรือองคมนตรีสภา และฟื้นฟูระบบเก้าชั้นยศตามอย่างจีนขึ้นมาอีกครั้งในราชสำนัก พระจักรพรรดิมิญ หมั่ง ทรงเคร่งครัดในลัทธิขงจื๊อ ทรงฟื้นฟูระบบการสอบจอหงวนขึ้นมาใหม่เพื่อให้บรรดานักปราชญ์ผู้มีความสามารถได้เข้ามารับใช้ราชสำนักเพื่อเป็นการแทนที่ระบบขุนศึกท้องถิ่นเดิม ทรงปรับปรุง โกว๊กตื๋อซ้าม (Quốc Tử Giám, 國子監) หรือราชวิทยาลัยไว้เป็นสถานที่สำหรับกุลบุตรทั่วพระอาณาจักรศึกษาลัทธิขงจื๊อ พระจักรพรรดิมิญ หมั่ง ไม่เพียงแต่มีพระราชประสงค์ให้ขุนนางชนชั้นสูงยึดมั่นในลัทธิขงจื๊อเท่านั้น แต่ยังมีพระราชประสงค์จะให้ราษฎรชาวเวียดนามทุกคนปฏิบัติตามหลักปรัชญาของลัทธิขงจื๊ออย่างเคร่งครัด ใน ค.ศ. 1834 จักรพรรดิมิญ หมั่ง ทรงพระราชนิพนธ์ ฮ้วนดิกเถิปเดี่ยว (Huấn Địch Thập Điều, 訓迪十條) หรือหลักปฏิบัติสิบประการสำหรับราษฎรนำไปปฏิบัติ
นโยบายกดขี่ชาวคริสเตียน[แก้]
เนื่องจากในรัชกาลของจักรพรรดิซา ล็อง ทรงได้รับการสนับสนุนจากขุนพลชาวฝรั่งเศสในการสู้รับกับกบฏเต็ยเซิน หลังจากปราบดาภิเษกแล้วบรรดาขุนนางชาวฝรั่งเศสจึงได้รับการปูนบำเหน็จและขึ้นมามีอำนาจในราชสำนักของจักรพรรดิซา ล็อง ในช่วงต้นรัชสมัยจักรพรรดิมิญ หมั่ง มีขุนนางชาวฝรั่งเศสผู้ทรงอำนาจได้แก่ ฌ็อง-บาติสต์ แชโญ (Jean-Baptiste Chaigneau) และฟีลิป วานีเย (Phillippe Vannier) จักรพรรดิมิญ หมั่ง ทรงเกลียดชังชาวตะวันตกอย่างมาก เนื่องจากชาวตะวันตกนั้นมีจุดมุ่งหมายในการเผยแผ่คริสต์ศาสนาซึ่งขัดแย้งกับลัทธิขงจื๊อในประเด็นเรื่องการเซ่นไหว้บรรพบุรุษ ใน ค.ศ. 1825 จักรพรรดิมิญ หมั่ง มีพระราชโองการห้ามมิให้มีการเผยแพร่คริสต์ศาสนาในพระราชอาณาจักร และทรงห้ามมิให้มิชชันนารีชาวตะวันตกเดินทางเข้าประเทศ ขุนนางฝรั่งเศสทั้งสองทนความกดดันไม่ได้จึงเดินทางออกนอกอาณาจักรเวียดนามไปในที่สุด มีพระราชโองการจับกุมมิชชันนารีชาวฝรั่งเศสจำนวนมากมากักขังไว้ในคุก แต่ทว่าขุนนางเล วัน เสวียต แห่งไซ่ง่อนได้ทูลทัดทานการลงพระอาญาชาวตะวันตก เนื่องจากเขามีความเห็นว่าเวียดนามยังคงต้องการความช่วยเหลือจากชาติตะวันตกในด้านการทหาร พระจักรพรรดิมิญ หมั่ง จึงทรงต้องยอมทำตามคำของของเล วัน เสวียต ปล่อยตัวมิชชันนารีทั้งหลายให้ลงเรือสำเภากลับยุโรปไป แต่ทว่ามิชชันนารีเหล่านั้นต่างลักลอบกลับไปยังสถานศาสนาของตนเองในเวียดนาม
กบฏของเล วัน โคย และอานามสยามยุทธ[แก้]
ใน ค.ศ. 1832 องต๋ากุนเล วัน เสวียต ถึงแก่อสัญกรรมด้วยความชราภาพ เป็นโอกาสให้จักรพรรดิมิญ หมั่ง ทรงแผ่ขยายอำนาจเข้าสู่ภาคใต้ของเวียดนาม ทรงใช้โอกาสนี้ยกเลิกตำแหน่ง ซาดิ่ญถั่ญ และ บั๊กถั่ญ ให้ขึ้นกับราชสำนักโดยตรง พระจักรพรรดิจึงทรงมีอำนาจโดยตรงตลอดทั่วพระราชอาณาจักร และทรงแบ่งอาณาจักรออกเป็นสามสิบจังหวัดหรือ ติ๋ญ(Tỉnh) โดยแต่ละจังหวัดมีผู้ว่าราชการซึ่งพระจักรพรรดิทรงแต่งตั้งโดยตรง หลังจากที่ขุนนางชุดใหม่ได้เข้าปกครองเวียดนามใต้แล้ว ก็พบว่าเล วัน เสวียต ที่ล่วงลับไปแล้วนั้นได้สะสมกำลังทหารอาวุธไว้เป็นจำนวนมาก รวมทั้งมีทรัพย์สินร่ำรวยและเป็นที่นิยมของราษฎร ขุนนางเหล่านั้นได้ทูลความต่อพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง จึงทรงมีคำตัดสินให้เล วัน เสวียต เป็นกบฏ มีพระราชอาญาลงโทษให้ลบหลู่และทำลายสุสานของเล วัน เสวียต และประหารชีวิตบรรดาญาติมิตรและผู้ที่เกี่ยวข้องกับเล วัน เสวียต ไปจำนวนมาก เล วัน โคย (Lê Văn Khôi, 黎文𠐤) ผู้เป็นบุตรชายบุญธรรมของเล วัน เสวียต จึงก่อการกบฏต่อต้านจักรพรรดิมิญ หมั่ง ขึ้นใน ค.ศ. 1833 ซึ่งกบฏของเล วัน โคย นั้นประสบความสำเร็จอย่างดีมีราษฎรฝักใฝ่มาเข้าพวกจำนวนมาก เนื่องจากชาวใต้นั้นมีความจงรักภักดีต่อเล วัน เสวียต อยู่เดิม และบรรดาชาวคาทอลิกหรือบาทหลวงชาวตะวันตกต่างก็ให้การสนับสนุนเล วัน เสวียต
เล วัน โคย ได้ประกาศสิ่งที่จักรพรรดิมิญ หมั่ง ทรงวิตกมากที่สุดสองประการ นั่นคือ ประกาศว่าจะสนับสนุนให้พระโอรสของเจ้าชายรัชทายาทกั๋ญขึ้นครองบัลลังก์อย่างถูกต้องแทนที่พระจักรพรรดิมิญ หมั่ง และประกาศว่าหากตนได้เป็นใหญ่จะยกเลิกการกดขี่คริสต์ศาสนา ทำให้บรรดามิชชานารีฝรั่งและชาวคาทอลิกหันมาเข้าพวกกบฏของเล วัน โคย นำโดยบาทหลวงโฌแซ็ฟ มาร์ช็อง (Joseph Marchand) ชาวฝรั่งเศส กองกำลังกบฏสามารถยึดเมืองไซ่ง่อนและจังหวัดข้างเคียงทั้งหกจังหวัดได้สำเร็จ
อานามสยามยุทธ[แก้]
ดูบทความหลักที่: อานามสยามยุทธ
ในขณะนั้นทางราชอาณาจักรเขมรอุดงมีสมเด็จพระอุทัยราชานักองค์จันครองราชสมบัติอยู่ โดยสมเด็จพระอุทัยราชาทรงฝักใฝ่เวียดนามและทรงอยู่ภายใต้อิทธิพลของเล วัน เสวียต พระจักรพรรดิมิญ หมั่ง ก็มีพระราชประสงค์ที่จะผนวกอาณาจักรเขมรเข้ากับเวียดนามตามนโยบายรวมอำนาจสู่ศูนย์กลางของพระองค์ เมื่อทางอาณาจักรเวียดนามเกิดการกบฏครั้งใหญ่ขึ้นในภาคใต้ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชโองการให้เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) นำทัพเข้ารุกรานอาณาจักรเขมรเพื่อที่จะขับสมเด็จพระอุทัยราชาออกจากราชสำนักเขมร และนำนักองค์อิ่มและนักองค์ด้วง เจ้าชายเขมรสองพระองค์ซึ่งฝักใฝ่สยามขึ้นครองราชสมบัติแทน พร้อมกันนั้นทรงให้เจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ บุนนาค) นำทัพเรือไปโจมตีเวียดนามภาคใต้ โดยนัดหมายให้ทั้งทัพบกและทัพเรือพบกันที่เมืองไซ่ง่อนเพื่อทำการยึดเมือง
เมื่อทัพฝ่ายสยามนำโดยเจ้าพระยาบดินทรเดชาเดินทางมาถึงยังเขมร ฝ่ายสมเด็จพระอุทัยราชาก็ได้เสด็จหนีจากนครพนมเปญลงไปยังเมืองไซ่ง่อน ทัพสยามจึงเข้าครองนครพนมเปญโดยง่าย และฝ่ายทัพเรือทำโดยเจ้าพระยาพระคลังก็สามารถตียึดเมืองบันทายมาศได้ และเดินทัพเรือขึ้นไปตามคลองหวิญเต๊ (Vĩnh Tế) เข้ายึดเมืองโชฎกหรือเจิวด๊ก (Châu Đốc) ของเวียดนามได้ โดยมีเป้าหมายต่อไปคือนครไซ่ง่อน ทัพบกและทัพเรือสยามผสมเข้าโจมตีเมืองไซ่ง่อน จักรพรรดิมิญ หมั่ง ทรงแต่งตั้งให้เจือง มิญ สาง (Trương Minh Giảng, 張明講) หรือองเลิ้งกุ๋น เป็นผู้นำทัพเรือเวียดนามเข้าต้านทานทัพสยาม ทัพเรือเวียดนามสามารถตอบโต้การรุกรานได้ทำให้ทัพสยามต้องล่าถอย
เมื่อฝ่ายสยามล่าถอยไปแล้ว สมเด็จพระอุทัยราชาจึงเสด็จกลับมายังพนมเปญอีกครั้ง จักรพรรดิมิญ หมั่ง ทรงแต่งตั้งให้องเลิ้งกุ๋นเจือง มิญ สาง เป็นข้าหลวงผู้แทนของจักรพรรดิมิญ หมั่ง ในการดูแลปกครองเขมร สมเด็จพระอุทัยราชาครองราชสมบัติภายใต้อิทธิพลของเจือง มิญ สาง จนกระทั่งเสด็จสวรรคตในปีต่อมา ค.ศ. 1834 สมเด็จพระอุทัยราชาทรงไม่มีพระโอรสมีแต่พระธิดา พระจักรพรรดิจึงทรงให้พระธิดาองค์ที่สองพระนามว่า นักองค์มี (Ang Mei) ขึ้นครองราชสมบัติเป็นกษัตรีแห่งเขมรและเป็นหุ่นเชิดของเวียดนามต่อไป เป็นกษัตรีองค์มีจักรพรรดิมิญ หมั่ง มีพระราชประสงค์ที่จะผนวกอาณาจักรเขมรเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของเวียดนามโดยสิ้นเชิงทั้งในทางการเมืองและทางวัฒนธรรม เพื่อเป็นการยุติข้อพิพาทกับสยามในเรื่องอิทธิพลเหนือเขมรที่ยืดเยื้อมาเป็นเวลาสามสิบกว่าปี จึงทรงประกาศให้ผนวกอาณาจักรเขมรเข้าเป็นมณฑลหนึ่งของเวียดนามมีชื่อว่า เจิ๊นเต็ย (Trấn Tây) เจือง มิญ สาง มีคำสั่งให้ชาวเขมรทุกคนเปลี่ยนมาพูดภาษาเวียดนาม แต่งกายอย่างเวียดนาม และดำเนินชีวิตตามหลักลัทธิขงจื๊อและวัฒนธรรมเวียดนาม เป็นนโยบายการกลืนชาติ (assimilation) เพื่อทำให้ชาวเขมรกลายเป็นชาวเวียดนาม (Vietnamization) รวมทั้งทำลายวัดวาอารามและสึกพระภิกษุสงฆ์ในพระพุทธศาสนาเถรวาทมาเป็นจำนวนมาก ซึ่งนโยบายนี้สร้างความไม่พอใจให้แก่ชาวเขมรเป็นอย่างมาก
ปลายรัชสมัย[แก้]
ใน ค.ศ. 1835 เล วัน โคย ผู้นำกบฏได้เสียชีวิตลง ทัพฝ่ายเวียดนามสามารถปราบกบฏลงได้สำเร็จ พวกกบฏและญาติมิตรกว่าพันคนถูกสังหารและฝังรวมกันไว้ในสุสานขนาดใหญ่ ทั้งเล วัน กู่ และบาทหลวงมาร์ช็องถูกประหารชีวิตอย่างโหดเหี้ยม
กบฏของเล วัน โคย มีมิชชันนารีตะวันตกให้การสนับสนุน ทำให้จักรพรรดิมิญ หมั่งทรงเห็นว่าชาวตะวันตกและชาวคริสเตียนนั้นเป็นภัยอย่างมหันต์ต่อพระราชอาณาจักร ใน ค.ศ. 1836 มีพระราชโองการจับกุมและประหารชีวิตมิชชันนารีและชาวคริสเตียนทั้งฝรั่งและชาวเวียดนามที่นับถือคริสต์จำนวนมากทั่งพระอาณาจักร ซึ่งดำเนินไปเป็นเวลาสามปีจนกระทั่ง ค.ศ. 1838
ค.ศ. 1839 ในขณะที่เกิดสงครามฝิ่น จักรพรรดิมิญ หมั่ง ทรงแต่งคณะทูตไปยังฝรั่งเศสเพื่อเจริญสัมพันธไมตรีทางการค้า แต่พระเจ้าหลุยส์-ฟีลิปทรงไม่รับทูต เนื่องจากทางกรุงโรมวาติกันทักท้วงมาว่าราชสำนักเวียดนามเป็นศัตรูต่อคริสต์ศาสนา
นโยบายการกลืนชาติของพระจักรพรรดิมิญ หมั่ง สร้างความไม่พอใจแก่ชาวกัมพูชาเป็นอย่างมาก ใน ค.ศ. 1481 นักองค์แบน พระเชษฐภคินีของนักองค์มีซึ่งฝักใฝ่สยาม นักองค์แบนทรงถูกจับได้ว่าทรงวางแผนจะหลบหนีไปยังสยาม และยังเกิดการกบฏของชาวเขมรชื่อว่า ลัม ซัม (Lam Som) ขึ้นในจังหวัดจ่าวิญ (Trà Vinh) ในเวียดนามภาคใต้ ทำให้จักรพรรดิมิญ หมั่ง ทรงไม่ไว้วางพระทัยชาวเขมรอีกต่อไป ทรงมีพระราชโองการให้สำเร็จโทษนักองค์แบนด้วยการถ่วงน้ำ ปลดนักองค์มีออกจากราชสมบัติและจับกุมองค์มีพร้อมทั้งพระขนิษฐาทั้งสองมาที่เมืองเว้ และให้กองทัพเวียดนามเข้าปราบกบฏของนายลัมซัม ท่ามกลางวิกฤตการณ์เหล่านี้ พระจักรพรรดิมิญ หมั่ง ได้เสด็จสวรรคตลงเสียก่อน
สวรรคต[แก้]
พระจักรพรรดิมิญ หมั่ง เสด็จสวรรคตที่พระราชวังเมืองเว้ ค.ศ. 1841 เจ้าชายเหงียน ฟุก เมียน ตง (Nguyễn Phúc Miên Tông, 阮福綿宗) พระโอรสองค์ที่ประสูติแต่พระจักรพรรดินีเทียน เญิน (Thiên Nhân Hoàng hậu, 天仁皇后) ขึ้นครองราชย์ต่อมาเป็นจักรพรรดิเถี่ยว จิ (Thiệu Trị, 紹治)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น