วันเสาร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

09.07.2560 Prasat Chrap Temple, Koh Ker, Cambodia. ปราสาทชลัป หรือ วัดปราสาทชลัป, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

Prasat Chrap Temple, Koh Ker, Cambodia.


ปราสาทชลัป หรือ วัดปราสาทชลัป, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

Prasat Chrap Temple, Koh Ker, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล 
จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/907/cambodia/koh-ker/prasat-chrap-temple


Prasat Chrap Temple (early 10th century)

Prasat Chrap is a small temple with three sanctuary towers made of laterite, each of which is heavily damaged. The sanctuary interiors are completely blackened by fire, and the west facades of each are destroyed, suggesting that they were deliberately damaged or possibly the victims of a common design flaw. Unfortunately there are no surviving inscriptions or statuary to provide evidence for which gods were worshipped here, though they were probably in the form of lingas as was the standard at Koh Ker.

Location

The approximate location of the site is 13.772079' N, 104.555946' E (WGS 84 map datum).
 01.Prasat Chrap Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทชลัป หรือ วัดปราสาทชลัป, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.


02.Prasat Chrap Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทชลัป หรือ วัดปราสาทชลัป, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.


03.Prasat Chrap Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทชลัป หรือ วัดปราสาทชลัป, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.


04.Prasat Chrap Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทชลัป หรือ วัดปราสาทชลัป, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.



05.Prasat Chrap Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทชลัป หรือ วัดปราสาทชลัป, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.


06.Prasat Chrap Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทชลัป หรือ วัดปราสาทชลัป, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.


07.Prasat Chrap Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทชลัป หรือ วัดปราสาทชลัป, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.



08.Prasat Chrap Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทชลัป หรือ วัดปราสาทชลัป, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.


09.Prasat Chrap Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทชลัป หรือ วัดปราสาทชลัป, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.


10.Prasat Chrap Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทชลัป หรือ วัดปราสาทชลัป, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.



11.Prasat Chrap Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทชลัป หรือ วัดปราสาทชลัป, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.


12.Prasat Chrap Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทชลัป หรือ วัดปราสาทชลัป, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.



13.Prasat Chrap Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทชลัป หรือ วัดปราสาทชลัป, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.



14.Prasat Chrap Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทชลัป หรือ วัดปราสาทชลัป, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.



15.Prasat Chrap Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทชลัป หรือ วัดปราสาทชลัป, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.


16.Prasat Chrap Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทชลัป หรือ วัดปราสาทชลัป, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.



17.Prasat Chrap Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทชลัป หรือ วัดปราสาทชลัป, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.



Prasat Chrap Temple, Koh Ker, Cambodia.

Photo Gallery. Asian Historical Architecture.

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล 
จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/907/cambodia/koh-ker/prasat-chrap-temple

-----------------------------------------------------------------------------------------

จาก http://travel.thaiza.com/

กาะแกร์ (Koh Ker) เมืองหลวงโบราณของอาณาจักรเขมรในอดีต ซึ่งอยู่ห่างจากเมืองเสียมเรียบ หรือ เสียมราฐ (Siem Reap) ไปทางตอนเหนือ ประมาณ 120 กิโลเมตร หรือประมาณ 75 ไมล์ โดยเกาะแกร์นั้นประกอบไปด้วยหลุ่มปราสาทโบราณที่ถูกสร้างขึ้นในรัชสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่สี่ (Jayavarman IV) หรืออยู่ในช่วงระหว่างปีค.ศ. 928-944 หรือ ประมาณปีพ.ศ.1471-1487

 01. ปราสาทธม แห่ง เกาะแกร์.

 02.ปราสาทธม แห่ง เกาะแกร์.

 03.

 04.

 05.ปราสาทธม แห่ง เกาะแกร์.

เกาะแกร์ คือนครโบราณที่ในอดีตมีความเจริญรุ่งเรืองมาก แม้ว่าจะได้รับการยกย่องให้เป็นนครหลวงเพียงระยะเวลาสั้นๆ แต่ทว่าหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีที่ถูกค้นพบ ก็ยังเป็นสิ่งที่ตอกย้ำว่านครที่ถูกลืมแห่งนี้มีความสำคัญมากเช่นไรเมื่อครั้งสมัยอดีต ส่วนสาเหตุที่นครแห่งนี้ถูกลืมเลือนไปนั้น อาจเริ่มได้จากการย้านเมืองหลวงไปที่นครวัด (Angkor Wat) เนื่องจากความไม่สะดวกในเรื่องน้ำ นั่นจึงทำให้เกาะแกร์ถูกลืมไปถึง1,059 ปี ก่อนจะมีการค้นพบอีกครั้งเมื่อไม่นานมานี้เองค่ะ 

 06.ปราสาทธม แห่ง เกาะแกร์.

     ปิรามิดแห่งเขมร หรือ ปิรามิดแห่งเกาะแกร์ หรือ ปราสาทธม (Prasat Thom) ปราสาทศูนย์กลางของนครโบราณ สิ่งปลูกสร้างโลกตะลึง!ที่ใครเห็นแล้วต้องร้องว้าว! เป็นปราสาทที่ถูกค้นพบในเกาะแกร์ เมืองหลวงเก่าที่ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 30 ตารางกิโลเมตร โดยมีปราสาทธมเป็นไฮไลท์ทางด้านการท่องเที่ยวที่สำคัญ ซึ่งถูกสร้างขึ้นแบบปิรามิดขั้นบันไดที่สร้างด้วยหินทราย จำลองทรงภูเขา 7 ชั้น มีความกว้างประมาณ 32 เมตร และมีความยาวประมาณ 32 เมตร 

 07.ปราสาทบริวารในเกาะแกร์

08.ปราสาทบริวารในเกาะแกร์

สำหรับการเดินทางมาท่องเที่ยวปราสาทธมหรือปิรามิดแห่งเขมรที่เกาะแกร์นั้น นักท่องเที่ยวสามารถเดินทางมาเที่ยวต้องเหมารถแทกซี่จากเสียมเรียบ หรือ เมืองตะเบงเมียนเจย และจะต้องจ่ายค่าบัตรผ่านทางก่อนเข้าชม ประมาณคนละ 10 USD หรือ 300 กว่าบาทไทยค่ะ ก่อนเดินทางท่องเที่ยวแนะนำว่าควรศึกษาข้อมูลก่อนเดินทางให้ระเอียดรอบคอบนะคะ...ทราเวลไทยซ่าส์...พาทัวร์เขมร 


เรียบเรียงบทความโดย Travel.thaiza.com
Image by Peter Musolino 

------------------------------------------------------------------------

1 ความคิดเห็น:

  1. จาก http://oknation.nationtv.tv/blog/voranai/2009/09/02/entry-1

    “ปราสาทชลับ” (Prasat Chrap) พลัง “ศักติ” แห่งตันตระ

    ปราสาทชลับ เป็นหมู่ปราสาทสามองค์ ที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นปราสาท “สรุก” ประจำชุมชนในคติไศวะนิกาย ทางเข้าปราสาทมีซากฐานโคปุระที่มีกำแพงสี่เหลี่ยมล้อมรอบ บนกำแพงมีรูปสลัก “บราลี” แทนความหมายของปราสาทต่าง ๆ ในสรวงสวรรค์ ด้านในมณฑลเขาพระสุเมรุ มีซากอาคารอยู่ 5 หลัง เป็น “บรรณาลัย” ก่อด้วยอิฐสองหลังสภาพพังทลาย ตรงกลางเป็นที่ตั้งของปราสาทประธานสามองค์ เรียงตัวกันในแนวเหนือใต้ ด้านหน้าของปราสาททั้งสามพังทลายลงทั้งหมด ซึ่งคงเป็นผลจากการรื้อเอาหินทรายที่ประดับเป็นทับหลัง เสากรอบประตูและเสาประดับ ออกไปทั้งหมด
    .
    ความหมายของปราสาทสามหลัง ในลัทธิไศวะนิกาย องค์กลางน่าจะหมายถึงปราสาทแห่งพระศิวะที่มีฐานศิวลึงค์ประดิษฐาน ปราสาทองค์ซ้ายของประธาน เป็น “ศักติ” หรือปราสาทพลังเบื้องหลัง อันได้แก่พระแม่อุมา และอีกองค์หนึ่งทางด้านขวาแทนความหมายของ “พระอาจารย์” ของผู้สถาปนาปราสาท ซึ่งส่วนใหญ่นิยมถือคติ "พระคณปติ หรือ พระคเนศ"

    ถึงในช่วงนั้น ความนิยมในการบูชาพระนารายณ์ยังอยู่ควบคู่กับพระศิวะ และไศวะนิกายก็ไม่ได้ปฏิเสธเทพเจ้าองค์อื่น ๆ เพียงแต่ลดอำนาจอิทธิฤทธิ์ให้น้อยไปกว่าพระศิวะ ปราสาทสามองค์จึงยังไม่เป็นคติความเชื่อในเทพเจ้าสามองค์ ที่เรียกว่า “ตรีมูรติ” ที่จะเข้ามามีบทบาทต่อสถาปัตยกรรมและประติมานวิทยาในยุคต่อมา.

    ตอบลบ