วันอาทิตย์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

16.07.2560 Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. 

วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. 
Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/605/thailand/ayutthaya/wat-phra-ram


Wat Phra Ram (วัดพระราม) (built 14th century onward)

Wat Phra Ram, the Temple of Rama, was probably built by King Borom Trailokanath. It was likely initiated by King Ramesuan (r. 1369-1370) and then modified by King Borom Trailokanath (r. 1448-1488). In 1741, during the reign of King Borom Kot, the temple was further renovated.
One chronicle suggests alternatively that Wat Phra Ram was built in 1369 on the site of King Ramathibodi's (r. 1351-69) crematorium by his son Ramesuan.

Location

The approximate location of the site is 14.354164' N, 100.561768' E (WGS 84 map datum).

 01.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


02.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


03.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


04.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


05.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


06.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


07.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


08.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


09.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


10.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


11.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


12.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


13.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


14.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


15.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


16.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


17.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


18.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


19.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


20.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


21.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


22.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


23.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


24.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


25.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


26.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


27.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


28.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


29.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


30.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


31.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


32.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


33.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


34.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


35.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


36.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


37.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


38.Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


วัดพระราม ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. 
Wat Phra Ram, Ayutthaya, Thailand.

Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/605/thailand/ayutthaya/wat-phra-ram

------------------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://de.wikipedia.org/wiki/Wat_Phra_Ram


Wat Phra Ram



Wat Phra Ram, Ayutthaya (1992)

Blick vom Tempel

Blick vom anderen Ufer
Der Wat Phra Ram (Tempel des Heiligen RamaThai วัดพระราม) ist eine buddhistische Tempelanlage (Wat) im Geschichtspark Ayutthaya in Zentral-Thailand.

Lage[Bearbeiten | Quelltext bearbeiten]

Der Wat Phra Ram liegt inmitten der Altstadt von Ayutthaya östlich des Wat Phra Sri Sanphet und südöstlich des alten Palastes Wang Luang.

Baugeschichte[Bearbeiten | Quelltext bearbeiten]

Die Königlichen Chroniken von Ayutthaya widersprechen sich bei der Angabe des Gründungsdatums dieser Tempelanlage. Die „Luang Prasoet“-Version schreibt das Jahr 1369 der Gründung zu: „Im Jahr 731 C.S., einem Jahr des Hahns, wurde das Kloster Phra Ram zuerst errichtet. Zu jener Zeit verstarb König Ramathibodi und Prinz Ramesuan, der Sohn des Königs, bestieg den Thron.“ Alle anderen Versionen legen das Datum in das Jahr 1448, dem Amtsantritt von König Boromtrailokanat: „Der König stiftete das Land auf dem sein Palast gebaut war, so dass Wat Phra Sri Sanphet gebaut werden konnte, dann baute er die Sanphet Prasat Thronhalle. … Und am Ort der Einäscherung von König Ramathibodi ließ der König ein heiliges Kloster bauen, bestehend aus einem großen, heiligen Reliquienschrein und einer heiligen Gebetshalle, und nannte es Phra Ram Kloster.“
Das Ölgemälde Iudea der Hauptstadt Ayutthaya, gemalt 1650 von einem holländischen Künstler (heute im Rijksmuseum Amsterdam), sowie der Atlas von J. Vingboons (1665) zeigt an der angegebenen Stelle tatsächlich einen Prang, einige Chedisund einen Viharn. Der Stadtplan des unbekannten französischen Ingenieurs von 1687 nennt diesen Ort gar Grande Pagode.
Eine ausführliche Beschreibung von Père Tachard aus dem Jahr 1685 legt allerdings die Vermutung nahe, dass der Tempel zwischen 1665 und 1685 erheblich erweitert worden war, was in die Regierungszeit von König Narai fallen würde. In dieser Zeit wurde wohl der zentrale Prang in allen vier Himmelsrichtungen um einen weiteren kleineren Prang ergänzt, so dass sich der Grundriss eines Griechischen Kreuzes ergab. Gleichzeitig wurde die zentrale Plattform umgebende, nach innen offene Galerie (Phra Rabieng) erbaut.
Eine weitere größere Restaurierung geschah 1741–1742 unter König Borommakot: „Das Kloster des Heiligen Rama war gleichermaßen verfallen, so erklärte der König sein Großes Mitgefühl, indem er es komplett erneuerte. Dies brauchte über ein Jahr zur Vollendung. Dann hielt der König bei allen drei Heiligen Tempeln Eröffnungs-Feierlichkeiten, eine nach der anderen, beschenkte die heiligen Mönche mit angemessenen Opfergaben in großer Anzahl, und feierte ein dreitägiges Fest in jedem Kloster.“ Der Erweiterung durch König Boromakot sind wohl eine zweite Plattform um den zentralen Prang, der große östliche und der westliche Viharn zuzuschreiben, sowie eine Reihe Chedis an der nördlichen und der südlichen Seite.
Vor dem Tempel lag wahrscheinlich bereits vor der Stadtgründung ein Sumpfgebiet, welches Nong Son (Thai: หนอง โสน) genannt wurde. Zum Bau des Wang Luang, des Wat MahathatWat Ratchaburana und Wat Phra Ram hob man Erde aus diesem Sumpf aus, um das Gelände einzuebnen. Später legte man hier einen hübschen See mit Lotosblumen an, den Bueng Phra Ram (บึงพระราม - See des Heiligen Rama).

Sehenswürdigkeiten[Bearbeiten | Quelltext bearbeiten]

Wat Phra Ram ist wie alle wichtigen Tempel Ayutthayas nach Osten ausgerichtet. Der große Prang steht auf einer quadratischen Basis. Steile Treppen führen auf allen Seiten zu den Eingängen, die sich etwa auf einem Drittel der Gesamthöhe befinden. Neben dem östlichen Haupteingang zu der Cella im Innern gibt es drei falsche Eingänge. Auf der Ost- sowie auch auf der Westseite befindet sich jeweils eine quadratische Vorhalle, die wohl ursprünglich von einem Miniatur-Prang gekrönt war.
Der Haupt-Prang ist in seiner Form mit einem Maiskolben vergleichbar, der mit Antefixen und Garudas auf mehreren Ebenen dekoriert ist. Die mittlere Basis ist nach Nord und Süd erweitert, hier standen zwei kleinere Prangs, von denen aber heute nur die Grundmauern geblieben sind. An den vier Ecken der zentralen Plattform stehen vier größere Chedis, der Rand der Plattform wird von den Überresten von etwa 40 kleinen Chedis gesäumt. Die vier Eck-Chedis sind mit teilweise erhaltenen Reliefs von Buddha-Statuen in verschiedenen Haltungen verziert.
Dieser Gebäudekomplex wird von einem kleinen Hof und einer quadratischen, nach innen offenen Galerie (Phra Rabieng) umgeben, von der heute auch nur noch die Grundmauern, sowie einige zerbrochene Buddha-Statuen zu sehen sind. Die beiden erwähnten Viharns sind im Osten und im Westen mit ihren rückwärtigen Wänden mit der Galerie verbunden. Daneben gibt es auf dem Tempelgelände einige kleine Viharns, einen kleinen Ubosot und zahlreiche verfallene Chedis.
Der den Tempel umgebende Phra-Ram-Park mit kleinen, von Brücken überquerten Seen ist ebenfalls reizvoll.

Literatur[Bearbeiten | Quelltext bearbeiten]

  • Elizabeth Moore et al.: Ancient Capitals of Thailand. River Books/Thames And Hudson, Bangkok 1996, ISBN 0-500-97429-2
  • Chaiwat Worachetwarawat: Interesting Temples and Ruins in Ayutthaya. Rajabhat Institute Phra Nakhon Si Ayutthaya, Ayutthaya 2001 (oh. ISBN)
  • Piriya Krairiksh: A Revised Dating of Ayudhya Architecture (II). Journal of the Siam Society, Bd. 80, Heft 2. Bangkok 1992. ISSN 0857-7099. Online [1] (PDF, letzter Zugriff am 1. November 2012; 1,4 MB).
  • Richard D. Cushman (David K. Wyatt Ed.): The Royal Chronicles Of Ayutthaya. The Siam Society, Bangkok 2000, ISBN 974-8298-48-5 (wörtliche Übersetzung und direkter Vergleich von 7 heute verfügbaren Chroniken, von der Gründung bis König Taksin)
  • คู่มือท่องเที่ยว เรียนรู้ อยุธยา, Museum Press, Bangkok 2546 (2003), ISBN 974-92888-5-8
  • Clarence Aasen: Architecture of Siam: A Cultural History and Interpretation. Oxford University Press, Oxford 1998, ISBN 983-56-0027-9.
  • Guy Tachard: A relation of the voyage to Siam. Performed by six Jesuits, sent by the French King, to the Indies and China, in the year, 1685. J.Robinson and A.Churchil, London 1688. Nachdruck Orchid Press, Bangkok 1991, ISBN 974-8304-30-2 (enthält die detaillierte Beschreibung eines Besuchs im Wat Phra Ram).

Weblinks[Bearbeiten | Quelltext bearbeiten]


------------------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://th.wikipedia.org/wiki/วัดพระราม

วัดพระราม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วัดพระราม
Templo Phra Ram, Ayutthaya, Tailandia, 2013-08-23, DD 06.jpg
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อวัดพระราม
ที่ตั้งตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
โบราณสถาน
    
วัดพระราม ตั้งอยู่นอกเขต พระราชวัง ทางด้านทิศตะวันออก ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา (กรุงเก่า) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตรงข้ามกับวิหารพระมงคลบพิตร

ประวัติ[แก้]

วัดพระรามนั้น คาดว่าถูกสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1912 ในรัชสมัยสมเด็จพระราเมศวร ซึ่งเป็นบริเวณที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) พระราชบิดา แต่พระองค์ทรงครองราชได้เพียงแค่ปีเดียว จึงเข้าใจกันว่าสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 ทรงได้ช่วยสร้างจนสำเร็จหรืออาจสร้างเสร็จเมื่อสมเด็จพระราเมศวรเสวยราชย์ครั้งที่ 2 ก็เป็นไปได้

สิ่งก่อสร้าง[แก้]

ปัจจุบันซากปรักหักพังเหลือแต่ พระปรางค์ กำแพงด้านหนึ่ง และ เสาในพระอุโบสถ วิหาร 7 หลัง

พระปรางค์[แก้]

  • พระปรางค์องค์ใหญ่ ตั้งอยู่บนฐานสี่เหลี่ยม สูงแหลมขึ้นไปด้านบน ทางด้านทิศตะวันออก มีพระปรางค์องค์ขนาดกลาง ส่วนทางตะวันตกทำเป็นซุ้มประตู มีบันไดสูงจากฐานขึ้นไปทั้งสองข้าง ที่มุมปรางค์ประกอบด้วยรูปสัตว์หิมพานต์ มีปรางค์ขนาดเล็กตั้งอยู่ทางทิศเหนือ และ ใต้ รอบๆปรางค์เล็กมีเจดีย์ล้อมรอบอีก 4 ด้าน
นอกจากนี้ยังมีเจดีย์เล็กบ้าง ใหญ่บ้างอยู่รอบๆ องค์พระปรางค์ประมาณ 28 องค์ วัดพระรามนี้เป็นที่น่าสังเกต คือ กำแพงวัดพระรามด้านเหนือ มีแนวเหลื่อมกันอยู่ กำแพงด้านตะวันออก ตะวันตก และด้านใต้ มีซุ้มประตูค่อนไปทางทิศตะวันตกได้ระดับกับมุมระเบียงด้านตะวันตกเฉียงเหนือของปรางค์ ส่วนแนวเหลื่อมนั้นได้ระดับกับมุมระเบียงตะวันออกเฉียงเหนือของปรางค์ ไม่มีซุ้มประตู คล้ายเจตนาสร้างไว้เพื่อประสงค์อะไรอย่างหนึ่ง

วิหาร[แก้]

  • วิหารใหญ่ อยู่ทางตะวันออกของพระปรางค์ อยู่ด้านหน้าวัด มีทางเดินต่อกับประปรางค์
  • วิหารน้อย อยู่ทางด้านทิศใต้ หันหน้าไปทางทิศตะวันออก เป็นวิหารที่มีด้านหลัง เชื่อมต่อกับเจดีย์ใหญ่ ซึ่งหักพังไปแล้ว
  • วิหารน้อย หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้มีเจดีย์เล็กอีกองค์หนึ่ง
  • วิหารเล็ก อยู่ด้านหน้าของพระอุโบสถ มีประตูด้านละ 1 ประตู
  • วิหาร อยู่ทางมุมด้านตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นวิหารขนาดกลาง หันหน้าไปทางทิศตะวันออก มีเจดีย์ใหญ่ ฐานสี่เหลี่ยมอยู่หลังวิหาร
  • วิหาร หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ด้านหลังวิหารมีเจดีย์ฐานสี่เหลี่ยมองค์หนึ่ง ซึ่งหักพังไปแล้วเช่นกัน
  • วิหาร อยู่ทางด้านทิศตะวันตกของปรางค์ มีขนาดเล็กกว่าวิหารด้านตะวันออก ปัจจุบันเหลือแต่ฐาน

คลังภาพ[แก้]


บริเวณชานทางเข้า

ปรางค์ประธานวัดวัดพระราม

ปรางค์ประธาน และส่วนปรางค์รองซึ่งพังไปบางส่วน

วัดพระราม

อ้างอิง[แก้]

  • วิไลรัตน์. 2546. กรุงศรีอยุธยา. อมรินทร์พริ้นติ้ง.

----------------------------------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://watboran.wordpress.com/category/วัดพระราม



วัดพระราม ตั่งอยู่นอกเขตพระราชวังไปทางด้านทิศตะวันออก ตรงข้ามกับวิหาร
พระมงคลบพิตร ปัจจุบันคือ “สวนสาธารณะบึงพระราม” ซึ่งใช้เป็นที่สำหรับพักผ่อน
ของนักท่องเที่ยวและชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประวัติ
วัดพระรามนั้น คาดว่าถูกสร้างขึ้นในปี พ.ศ. ๑๙๑๒ ในรัชสมัยสมเด็จพระราเมศวร
ซึ่งเป็นบริเวณที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑(พระเจ้าอู่ทอง) พระราชบิดา
แต่พระองค์ทรงครองราชได้เพียงแค่ปีเดียว จึงเข้าใจกันว่าสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๑
ทรงได้ช่วยเหลือให้สร้าง จนสำเร็จก็ได้ หรืออาจจะสร้างเสร็จเมื่อสมเด็จพระราเมศวร
เสวยราชย์ครั้งที่ ๒ ก็เป็นไปได้

-ปรางค์ประธานโผล่พ้นแนวยอดไม้ โดยมีบึงเป็นฉากหน้า-
จุดน่าสนใจ
พระปรางค์
พระปรางค์องค์ใหญ่ ตั้งอยู่บนฐานสี่เหลี่ยม สูงแหลมขึ้นไปด้านบน
ทางด้านทิศตะวันออก มีพระปรางค์องค์ขนาดกลางองค์
ส่วนทางตะวันตกทำเป็นซุ้มประตู มีบันไดสูงจากฐานขึ้นไปทั้งสองข้าง
ที่มุมปรางค์ประกอบด้วยรูปสัตว์หิมพาน มีปรางค์ขนาดเล็กตั้งอยู่ทางทิศเหนือ และ ใต้
รอบๆปรางคืเล็กมีเจดีย์ล้อมรอบอีก ๔ ด้าน
นอกจากนี้ยังมีเจดีย์เล็กบ้าง ใหญ่บ้างอยู่รอบๆ องค์พระปรางค์ประมาณ ๒๘ องค์
วัดพระรามนี้เป็นที่น่าสังเกตอย่างหนึ่ง คือ กำแพงวัดพระรามด้านเหนือ มีแนวเหลื่อมกันอยู่
กำแพงด้านตะวันออก ตะวันตก และด้านใต้ มีซุ้มประตูค่อนไปทางทิศตะวันตก
ได้ระดับกับมุมระเบียงด้านตะวันตกเฉียงหนือของปรางค์ส่วนแนวเหลื่อมนั้นได้ระดับ
กับมุมระเบียงตะวันออกเฉียงเหนือของปรางค์ ไม่มีซุ้มประตู คล้ายเจตนาสร้างไว้เพื่อ
ประสงค์อะไรอย่างหนึ่ง
วิหาร 7 หลัง
1 วิหารใหญ่อยู่ทางด้านหน้าวัด ทางทิศตะวันออกของพระปรางค์ วิหารองค์นี้
ยังเหลือซากให้เห็นลักษณะและขนาดอยู่โดยรอบและเสากลมใหญ่แต่งเหลี่ยมสูงเกือบ
ถึงบัว หัวเสา เป็นวิหารที่เชื่อมต่อกับพระปรางค์องค์ใหญ่ เดินถึงกันตรงระเบียง
2 วิหารน้อย อยู่ทางด้านทิศใต้ หันหน้าไปทางทิศตะวันออก เป็นวิหารที่มีด้านหลัง
เชื่อมต่อกับเจดีย์ใหญ่ ซึ่งปรักหักพังไปแล้ว คงเหลือแต่มูลดินทิ้งไว้ให้ศึกษา
3 วิหารอยู่ทางมุมด้านตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นวิหารขนาดกลาง มีเจดีย์ใหญ่
ฐานสี่เหลี่ยมอยู่หลังวิหาร วิหารนี้หันหน้าไปทางทิศตะวันออก
4 วิหารน้อย หันหน้าไปทางทิศตะวันออก เหลือแต่ด้านข้างสองด้านมุมวิหารน้อย
ทางด้านตะวันตกเฉียงใต้มีเจดีย์เล็กองค์หนึ่ง
5 วิหารเล็ก อยู่ด้านหน้าของพระอุโบสถ มีประตูอยู่ทางด้านทิศตะวันออกและ
ตะวันตกข้างละ 1 ประตู
6 วิหาร หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ภายในมีเสาเหลี่ยมปรักหักพังด้านหลังวิหาร
มีเจดีย์ฐานสี่เหลี่ยมองค์หนึ่ง ปรักหักพังเช่นกัน
7 วิหาร อยู่ทางด้านทิศตะวันตกของปรางค์ มีวิหารขนาดย่อมกว่าวิหารด้านตะวัน
ออกเล็กน้อยเชื่อมระเบียงองค์ปรางค์ที่ระเบียง มีบันไดหน้าวิหารตรงกับซุ้มประตู ปัจจุบัน
เหลือแต่ฐาน
การเดินทาง
วัดพระรามตั่งอยู่ตรงข้ามกับวิหารพระมงคลบพิตร นักท่องเที่ยวสามารถใช้เส้นทางเดียว
กับเส้นทางวัดพระมงคลบพิตร
เปิดให้เข้าชมทุกวันตั้งแต่เวลา 08.30–16.30 น.
ค่าเข้าชม ชาวไทย 10 บาท ชาวต่างประเทศ 30 บาท
หมายเหตุ ตั้งแต่เวลาประมาณ 19.30น.- 21.00น. จะมีการส่องไฟชมโบราณสถาน
-----------------------------------------------

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น