วันพฤหัสบดีที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

24.07.2560 Wat Duang Di, Chiang Mai, Thailand. วัดดวงดี ถนน.พระปกเกล้า ตำบล.ศรีภูมิ อำเภอ.เมือง จังหวัด.เชียงใหม่.

Wat Duang Di, Chiang Mai, Thailand.

 วัดดวงดี  ถนน.พระปกเกล้า ตำบล.ศรีภูมิ อำเภอ.เมือง จังหวัด.เชียงใหม่.

Wat Duang Di, Chiang Mai, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ  ข้อมูลและภาพ จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/713/thailand/chiang-mai/wat-duang-di



Wat Duang Di (วัดดวงดี) (built 19th century)

Wat Duang Di means "The Good Luck Monastery". It has four buildings of note from the 19th century or earlier—the viharn (assembly hall), the ubosot (ordination hall), the ho trai (library), and the chedi. In particular, the ho trai is notable for its exceptionally fine stucco decoration. The viharn, which shows certain central Thai influences such as the use of load-bearing walls, is remarkable for its highly decorated facade and the finely carved design over the main entrance.

Location


The approximate location of the site is 18.789433' N, 98.988533' E (WGS 84 map datum).


Wat Duang Di, Chiang Mai, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ  ข้อมูลและภาพ จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/713/thailand/chiang-mai/wat-duang-di



01.Wat Duang Di, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดดวงดี  ถนน.พระปกเกล้า ตำบล.ศรีภูมิ อำเภอ.เมือง จังหวัด.เชียงใหม่.

02.Wat Duang Di, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดดวงดี  ถนน.พระปกเกล้า ตำบล.ศรีภูมิ อำเภอ.เมือง จังหวัด.เชียงใหม่.

03.Wat Duang Di, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดดวงดี  ถนน.พระปกเกล้า ตำบล.ศรีภูมิ อำเภอ.เมือง จังหวัด.เชียงใหม่.

04.Wat Duang Di, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดดวงดี  ถนน.พระปกเกล้า ตำบล.ศรีภูมิ อำเภอ.เมือง จังหวัด.เชียงใหม่.

05.Wat Duang Di, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดดวงดี  ถนน.พระปกเกล้า ตำบล.ศรีภูมิ อำเภอ.เมือง จังหวัด.เชียงใหม่.

06.Wat Duang Di, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดดวงดี  ถนน.พระปกเกล้า ตำบล.ศรีภูมิ อำเภอ.เมือง จังหวัด.เชียงใหม่.

07.Wat Duang Di, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดดวงดี  ถนน.พระปกเกล้า ตำบล.ศรีภูมิ อำเภอ.เมือง จังหวัด.เชียงใหม่.

08.Wat Duang Di, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดดวงดี  ถนน.พระปกเกล้า ตำบล.ศรีภูมิ อำเภอ.เมือง จังหวัด.เชียงใหม่.

09.Wat Duang Di, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดดวงดี  ถนน.พระปกเกล้า ตำบล.ศรีภูมิ อำเภอ.เมือง จังหวัด.เชียงใหม่.

10.Wat Duang Di, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดดวงดี  ถนน.พระปกเกล้า ตำบล.ศรีภูมิ อำเภอ.เมือง จังหวัด.เชียงใหม่.

11.Wat Duang Di, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดดวงดี  ถนน.พระปกเกล้า ตำบล.ศรีภูมิ อำเภอ.เมือง จังหวัด.เชียงใหม่.


Wat Duang Di, Chiang Mai, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ  ข้อมูลและภาพ จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/713/thailand/chiang-mai/wat-duang-di

-------------------------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ข้อมูลและภาพ จาก https://commons.wikimedia.org/wiki/Category:Wat_Duang_Di

Category:Wat Duang Di


From Wikimedia Commons, the free media repository
Deutsch: Wat Duang Di, Chiang Mai, Thailand
English: Wat Duang Di, Chiang Mai, Thailand
ไทย: วัดดวงดี ถนนพระปกเกล้า ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

 01.File:0003565 พระพุทธรูป วัดดวงดี และ ลวดลายที่ผนังด้านหลัง.JPG
From Wikimedia Commons, the free media repository





02.File:0003565 พระพุทธรูป วัดดวงดี.JPG

From Wikimedia Commons, the free media repository

03. File:0003565 ภายในวัดดวงดี.JPG
From Wikimedia Commons, the free media repository


04.File:0003565 ภายในอุโบสถ วัดดวงดี.JPG
From Wikimedia Commons, the free media repository


05.File:0003565 วัดดวงดี บริเวณวัด.JPG
From Wikimedia Commons, the free media repository



06.File:0003565 วัดดวงดี บริเวณเจดีย์ มุมกว้าง.JPG
From Wikimedia Commons, the free media repository


07.File:0003565 วัดดวงดี บริเวณเจดีย์.JPG
From Wikimedia Commons, the free media repository




08. File:0003565 วัดดวงดี.JPG
From Wikimedia Commons, the free media repository



 09.File:0003565 หลังคาหอไตร วัดดวงดี.JPG
From Wikimedia Commons, the free media repository



 10.File:0003565 หอไตร วัดดวงดี.JPG
From Wikimedia Commons, the free media repository


 11.File:Chiang Mai - Wat Duang Di - 0001.jpg
From Wikimedia Commons, the free media repository


 12.File:Chiang Mai - Wat Duang Di - 0002.jpg
From Wikimedia Commons, the free media repository



 13.File:Chiang Mai - Wat Duang Di - 0003.jpg
From Wikimedia Commons, the free media repository


 14.File:Chiang Mai - Wat Duang Di - 0004.jpg
From Wikimedia Commons, the free media repository

 15.File:Chiang Mai - Wat Duang Di - 0005.jpg
From Wikimedia Commons, the free media repository


 16.File:Chiang Mai - Wat Duang Di - 0006.jpg
From Wikimedia Commons, the free media repository

 17.File:ดวงดี เขียงใหม่.JPG
From Wikimedia Commons, the free media repository

18.File:วัดดวงดี เขียงใหม่.JPG
From Wikimedia Commons, the free media repository

------------------------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ข้อมูล จาก https://th.wikipedia.org/wiki/วัดดวงดี 


วัดดวงดี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วัดดวงดี เป็นวัดตั้งอยู่ในเขตตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นวัดที่มีสถาปัตยกรรมไม้แกะสลักที่สวยงาม วัดดวงดีได้รับประกาศเป็นโบราณสถาน เมื่อ 27 ตุลาคม 2524 เล่ม 98 ตอนที่ 177 โดย กรมศิลปากร

ประวัติ[แก้]

เดิมมีหลายชื่อ ได้แก่ พันธนุนมดี (Wat Phanthanu-Namadee), วัดอุดมดี (Wat U-domdee), วัดพนมดี (Wat Phanomdee), วันต้นหมากเหนือ (Wat Tonmark-nua)[1] แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อใด แต่สัณณิฐานว่า วัดดวงดีถูกสร้างโดยมีเจ้านายเมืองเชียงใหม่ผู้หนึ่ง หลังจากที่ พระยามังรายสร้างเมืองเชียงใหม่แล้ว

สถานที่ตั้ง[แก้]

อ้างอิง[แก้]


-------------------------------------------------------------------------------------------

Moonfleet ได้มาเยือน วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
วัน ศุกร์ ที่ 2 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2552

ดังนั้น ภาพวัดดวงดี จึงเป็นภาพใน วันศุกร์ ที่ 2 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2552 ครับ.


 01. วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
ทางเข้าวัดดวงดี
 02. วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
ถนน.พระปกเกล้า ซอย 12. (PRAPOKKLAO ROSD SOI 12)

 03.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
กำแพงวัดดวงดี ด้านทิศเหนือ ถนนพระปกเกล้า ซอย.12 

 04.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
ทางเข้าวัดดวงดี

 05.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่
ป้ายชื่อวัดดวงดี (ตัวอักษรเมือง หรือ ล้านนา)

 06. ประวัติ วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

ประวัติวัดดวงดี

วัดดวงดีเป็นวัดที่อยู่ใกล้อนุสาวรีย์สามกษัตริย์ ตั้งอยู่ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 

มีเนื้อที่ประมาณ 2 ไร่-งาน 60 ตารางวา ซึ่งประวัติของวัดไม่เป็นที่ปรากฏแน่ชัดนัก
แต่ตามหลักฐานที่ทางอดีตเจ้าอาวาส (พระอธิการบุญชู อภิปุญฺโญ)
ได้ขอให้คุณปวงคำ ตุ้ยเขียว ค้นคว้าและเรียบเรียงประวัติวัดดวงดี 

เพราะเป็นวัดเก่าแก่แห่งหนึ่งของเมืองเชียงใหม่ ในแต่ละวันมีทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศเข้าเยี่ยมชมเป็นจำนวนมาก  เพราะเหตุว่าชื่อวัดเป็นชื่อมงคล. 

วัดดวงดีนั้นตามปรากฏหลักฐานข้อมูลที่มีมาหลายชื่อ เช่น วัดพันธุนมดี วัดอุดมดี วัดพนมดี ในปี 2513 คุณปวงคำได้เป็นผู้ช่วยวิจัยในโครงการวิจัยคำจารึกบนฐานพระพุทธรูป ในตำบลศรีภูมิและตำบลพระสิงห์ โดยมี ดร.ฮันส์ เพนธ์ เป็นหัวหน้า ได้พบคำจารึกบนฐานพระพุทธรูปโลหะองค์หนึ่ง ประดิษฐานอยู่ในวิหาร จารึกด้วยอักษรไทยยวน มีความว่า”สกราชได้ 859 ปีวายสี พระเจ้าตนนีแสนนึงไว้วัดต้นมกเหนือ”  (จ.ศ. 859 พ.ศ. 2039 สมัยพระเจ้ายอดเชียงรายครองเมืองเชียงใหม่) พระพุทธรูปองค์นี้น่าจะไม่มีผู้นำมาจากที่อื่น
แต่สร้างขึ้นในวัดนี้ ซึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "วัดต้นมกเหนือ หรือ วัดต้นหมากเหนือ"

วัดดวงดีคงสร้างขึ้นหลังจากพระเจ้ามังรายสร้างเมืองเชียงใหม่แล้ว (สันนิษฐานว่า) คงจะมีเจ้านายเมืองเชียงใหม่คนหนึ่งเป็นผู้คิดสร้างขึ้น.

ในปี พ.ศ. 2304 มีหลักฐานในประวัติเมืองเชียงใหม่ว่า เจ้าอาวาสวัดดวงดีได้รับอาราธนาให้ลาสิกขาบท และอัญเชิญให้เป็นเจ้าครองเมืองเชียงใหม่ เป็นระยะเวลาสั้นๆ จนปี พ.ศ. 2306 ล้านนาไทยรวมทั้งเมืองเชียงใหม่ต้องตกอยู่ภายใต้การปกครองของพม่าอีกครั้ง ลุจุลศักราช 1136 ตรงกับปีพ.ศ. 2317 

เจ้ากาวิละ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากกองทัพพระเจ้ากรุงธนบุรี สามารถยึดเมืองเชียงใหม่คืนจากพม่าได้
เมื่อวันอาทิตย์ขึ้น 15 ค่ำ เดือนห้าเหนือ เมืองเชียงใหม่จึงเจริญรุ่งเรืองจนถึงปัจจุบัน

มีข้อมูลที่น่าสนใจว่า วัดนี้เคยใช้เป็นสำนักเรียนสำหรับลูกเจ้าขุนมูลนายในสมัยก่อน
และยังเคยถูกใช้เป็นสถานที่เรียนของนักเรียนยุพราชวิทยาลัยก่อนที่จะมีการก่อสร้างแล้วเสร็จอีกด้วย

Source: http://www.watduangdee.com/index.php?option=com_magazine&func=show_article&id=1&Itemid=26



 07. วัดดวงดี เลขที่.228 ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

วัดดวงดีถูกสร้างขึ้นภายหลังจากพระเจ้ามังรายได้สร้างเมืองเชียงใหม่ระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งไม่ปรากฏหลักฐานชัดว่าเป็นผู้ใด ตามความเชื่อนิยมของคนในสมัยบรรพกาลที่มักสร้างวัดไว้ประจำตระกูล เพื่อเป็นพุทธบูชาหรือเพื่อเป็นการไถ่บาปสำหรับเหล่าทหารชั้นผู้ใหญ่ที่ออกไปทำศึกแล้วเข่นฆ่าผู้คนไปเป็นจำนวนมาก 

สำหรับวัดดวงดีนั้นแรกเริ่มเดิมทีมีหลายชื่อ เช่น วัดหมากต้นเหนือ, วัดอุดมดี, 
วัดพนมดี และวัดดวงดีตามลำดับ จากการเล่าขานของคนดั้งเดิมกล่าวไว้ว่า 

วัดดวงดีนี้เคยใช้เป็นสำนักเรียนสำหรับลูกเจ้าขุนมูลนายในสมัยแต่ก่อน 
และยังถูกเคยใช้เป็นสถานที่เรียนของนักเรียนยุพราชวิทยาลัยก่อนที่จะมีการก่อตั้ง ก่อสร้างแล้วเสร็จอีกด้วย.


 08. ผู้บริจาค "โครงการฮ่วมแฮงแต่งหย้อง วัดดวงดี"

 09.พระพุทธรูป ด้านทิศตะวันตกของ พระเจดีย์ แห่ง วัดดวงดี


 10.พระธาตุเจดีย์ วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 11.พระธาตุเจดีย์ วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 12.พระธาตุเจดีย์ วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 13. ช้างมุมเหลี่ยมฐานพระเจดีย์ ด้านทิศตะวันตก.
พระธาตุเจดีย์ วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.


 14.ช้างมุมเหลี่ยมฐานพระเจดีย์ ด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ.
พระธาตุเจดีย์ วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 15.ช้างมุมเหลี่ยมฐานพระเจดีย์ ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ.
พระธาตุเจดีย์ วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.


 16.ช้างมุมเหลี่ยมฐานพระเจดีย์ ด้านทิศเหนือ.
พระธาตุเจดีย์ วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 17.พระธาตุเจดีย์ วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.


 18.พระธาตุเจดีย์ วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 เจดีย์ : CHEDI
เจดีย์ฐานสี่เหลี่ยม มีชั้นลูกแก้วย่อเก็จ รัดด้วยเส้นลวด 2 เส้น มาลัยเถาเป็นแบบแปดเหลี่ยมบัลลังก์เป็นแบบพานแว่นฟ้า. พระมหาเกสระ อดีตเจ้าอาวาสเป็นผู้สร้าง แต่ไม่ปรากฏปีสร้างแน่ชัด

 19.1 รางวัลสถาปัตยกรรมดีเด่น ประจำปี 2550
กรรมาธิการสถาปนิกล้านนา 
รางวัลสถาปัตยกรรมดีเด่น ประจำปี พ.ศ.2540
ประเภท "อาคารอนุรักษ์สถาปัตยกรรมล้านนา" 
กลุ่ม วิหาร-อุโบสถ-หอธรรม
วัดดวงดี


19.2 วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

ประวัติโดยสังเขป วัดดวงดี

ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ กล่าวถึงวัดดวงดี เมื่อ พ.ศ.2304 พระภิกษุวัดนี้ ได้รับนิมนต์ให้ขึ้นครองเมืองเชียงใหม่ ซึ่งเป็นช่วงเวลาสั้นๆ ที่เชียงใหม่เป็นอิสระ ก่อนที่พม่าจะกลับเข้ามาปกครองอีกครั้งหนึ่ง (พ.ศ. 2306 - 2317)

พ.ศ. 2362 สมัยพระญาธรรมลังกา เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ 2 ได้มีการบูรณะและฉลองสมโภช ภายในวัดมีวิหารและหอธรรม ประดับด้วยไม้แกะสลักปิดทองที่สวยงาม


 20.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 21.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

วิหาร วัดดวงดี

ปูชนียสถานที่สำคัญของวัดซึ่งเป็นมรดกล้ำค่าแห่งล้านนาไทยโดยกรมศิลปกรได้ประกาศขึ้นทะเบียน เป็นโบราณสถานแห่งชาติ ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 76 ตอนที่108 ลงวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2522 รวม 4 รายการ คือ


วิหาร ซึ่งบางตำราสันนิษฐานว่า สร้างโดยเจ้าจันทร์หอม ไม่ปรากฏปีสร้าง 
แต่พระเทพวรสิทธาจารย์ อดีตเจ้าคณะเชียงใหม่ รูปที่ 8 เมื่อครั้งดำรงสมศักดิ์เป็น เจ้าคุณอุดมวุฒิคุณ รองเจ้าคณะเชียงใหม่ บอกว่าเจ้าอินทรวโรรสสุริยวงศ์ (น้อยสุริยะ) เป็นผู้สร้าง แต่ไม่ปรากฏปีสร้างแน่ชัด 

ในปี พ.ศ. 2549 กรมศิลปกร ได้ทำการบูรณปฏิสังขรณ์ตามรูปแบบเดิม เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงครองสิริราชย์ครบ 60 ปี และทรงพระชนมายุครบ 80 พรรษา ในปี พ.ศ. 2550

 22.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 23.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 24.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 25.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 26.พระประธานในพระวิหาร วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

วัดดวงดีมีพระพุทธรูปซึ่งถือว่าเก่าแก่อยู่คู่กับวัด สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นโดยเจ้านายเมืองเชียงใหม่คนใดคนหนึ่ง แต่ไม่ทราบนามโดยชัดเจน ประมาณในปี พ.ศ. 2039 

โดยความที่พระพุทธรูปองค์นี้อยู่คู่กับวัดดวงดีมาเป็นเวลาช้านาน จึงเป็นที่เคารพสักการะของคนทั่วไป โดยมักเข้ามากราบนมัสการขอพร ตามคติความเชื่อที่ว่าจะให้การดำเนินชีวิตเป็นไปอย่างปกติสุข จึงได้ชื่อว่าพระพุทธรูปดวงดี ตามนามของวัด 

 27. พระพุทธดวงดี (หลวงพ่อดวงดี) พระประธานในพระวิหาร วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 28. พระพุทธดวงดี (หลวงพ่อดวงดี) พระประธานในพระวิหาร วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 29. พระพุทธดวงดี (หลวงพ่อดวงดี) พระประธานในพระวิหาร วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 30. พระพุทธดวงดี (หลวงพ่อดวงดี) พระประธานในพระวิหาร วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 31.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 32.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.
บันไดสิงห์คู่ ทางขึ้นลงด้านข้างพระวิหาร (ทิศเหนือ)

 33.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.
บันไดสิงห์คู่ ทางขึ้นลงด้านข้า

 34.อุโบสถ : BUDDHIST MONASTERY  วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.
พระอุโบสถขนาดย่อม เป็นศิลปะการก่อสร้าง แบบพื้นเมืองล้านนาที่ได้รูปทรงสวยงาม อีกแห่งหนึ่ง

 35. อุโบสถ : BUDDHIST MONASTERY วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.
พระอุโบสถขนาดย่อม เป็นศิลปะการก่อสร้าง แบบพื้นเมืองล้านนาที่ได้รูปทรงสวยงาม.
และ เสมา
 36.อุโบสถ : BUDDHIST MONASTERY วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.
พระอุโบสถขนาดย่อม เป็นศิลปะการก่อสร้าง แบบพื้นเมืองล้านนาที่ได้รูปทรงสวยงาม.
และ เสมา

 37.อุโบสถ : BUDDHIST MONASTERY วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.
พระอุโบสถขนาดย่อม เป็นศิลปะการก่อสร้าง แบบพื้นเมืองล้านนาที่ได้รูปทรงสวยงาม.
และ เสมา

 38. หอไตร วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 39. หอไตร วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 40.หอไตร วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 41.หอไตร วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 42.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

ข้อมูล จาก fb วัดดวงดี (WatDuangDee) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

หอไตรวัดดวงดี 
ทำเป็นทรงแบบมณฑป มีหลังคาย่อ ซ้อนกัน 3 ชั้น หน้าต่างทำเป็นซุ้มอยู่โดยรอบ จากสมุดข่อย “ปั๊บหลั่น” ที่บันทึกด้วยอักษรไทยยวนกล่าวว่าเจ้ามหาอุปราชมหาวงศ์ เป็นผู้สร้างเมื่อ จ.ศ. ๑๑๙๑ (พ.ศ. 2372) สร้างเดือน 7เหนือ แรม 11ค่ำ หลังจากสร้างหอไตรถวายวัดดวงดีเสร็จ ก็ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่ องค์ที่ 5 ของเชื้อเจ้า 7 องค์ ลักษณะทรวดทรงเป็นหอไตรทรงมณฑปที่เป็นแบบพื้นเมืองล้านนา ตัวหอไตรทรงสี่เหลี่ยมก่ออิฐถือปูน ส่วนหลังคาหรือยอดเป็นทรงมณฑปหลังคาซ้อนลดหลั่นกัน ๓ ชั้นประดับด้วยลวดลายตรงบริเวณสันหลังคา

 43.หอไตร วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 44.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.


 45.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 46.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 47.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 48.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 49.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 50.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 51.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 52.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 53.หอไตร วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 54.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 55.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 56.กุฏิสงฆ์ 

57.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

----------------------------------------------------
ขอบคุณ ข้อมูลและภาพ จาก fb:วัดดวงดี


 01. พระพุทธดวงดี (หลวงพ่อดวงดี) พระประธานในพระวิหาร วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.
 02. พระธาตุ วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.


 03. พระวิหาร วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.


 04.พระวิหาร วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.


 05. ประตูพระวิหาร วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.


 06.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.


 07.พระพุทธดวงดี (หลวงพ่อดวงดี) พระประธานในพระวิหาร วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.


 08.พระพุทธดวงดี (หลวงพ่อดวงดี) พระประธานในพระวิหาร วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.


 09.

 10.

 11.

 12.

 13.

 14.

 15.

 16.พระพุทธดวงดี (หลวงพ่อดวงดี) พระประธานในพระวิหาร วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.


 17.พระพุทธดวงดี (หลวงพ่อดวงดี) พระประธานในพระวิหาร วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.


 18.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.


 19.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.


 20.วัดดวงดี ถ.พระปกเกล้า ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.




21.หอไตรวัดดวงดี 

หอไตรวัดดวงดี 
ทำเป็นทรงแบบมณฑป มีหลังคาย่อ ซ้อนกัน 3 ชั้น หน้าต่างทำเป็นซุ้มอยู่โดยรอบ จากสมุดข่อย “ปั๊บหลั่น” ที่บันทึกด้วยอักษรไทยยวนกล่าวว่าเจ้ามหาอุปราชมหาวงศ์ เป็นผู้สร้างเมื่อ จ.ศ. ๑๑๙๑ (พ.ศ. 2372) สร้างเดือน 7เหนือ แรม 11ค่ำ หลังจากสร้างหอไตรถวายวัดดวงดีเสร็จ ก็ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่ องค์ที่ 5 ของเชื้อเจ้า 7 องค์ ลักษณะทรวดทรงเป็นหอไตรทรงมณฑปที่เป็นแบบพื้นเมืองล้านนา ตัวหอไตรทรงสี่เหลี่ยมก่ออิฐถือปูน ส่วนหลังคาหรือยอดเป็นทรงมณฑปหลังคาซ้อนลดหลั่นกัน ๓ ชั้นประดับด้วยลวดลายตรงบริเวณสันหลังคา.

--------------------------------------------------------------------------------------





ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น