วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
Wat Worachettaram, Ayutthaya, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/984/thailand/ayutthaya/wat-worachettaram
Wat Worachettaram (วัดวรเชษฐาราม) (age unknown)
Wat Worachettaram is located just north of Wat Lokaya Sutha. The temple sits on a square plot of land measuring approximately 85 meters on each side, with all buildings facing east. Its chief items of historical interest are the large bell-shaped chedi built in a style typical of the middle Ayutthaya period. To the east of this is the ruin of a viharn of which only the foundation remains. North of this is an ubosot that retains most of its walls, including the front gable end. Other structures on site include the remains of another viharn to the north, a mondop, and several small chedis.
According to the excellent website Ayutthaya Historical Research, the name of the temple is often confused with Wat Wora Chettharam which is located 2.3 kilometers to the west of the city at 14.352424' E, 100.532155' N. As both temples employ similar names, it is not clear which was the temple built by King Ekathotsarot to safeguard the ashes of the late King Naresuan who died in 1605. However, given the present temple's location immediately adjacent to the royal palace on Ayutthaya city island, it is more than conceivable that this is the correct site.
Location
The approximate location of the site is 14.356975' N, 100.553177' E (WGS 84 map datum).
วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
02.Wat Worachettaram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
03.Wat Worachettaram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
04.Wat Worachettaram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
05.Wat Worachettaram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
06.Wat Worachettaram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
07.Wat Worachettaram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
08.Wat Worachettaram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
09.Wat Worachettaram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
10.Wat Worachettaram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
11.Wat Worachettaram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
12.Wat Worachettaram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
13.Wat Worachettaram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
14.Wat Worachettaram, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
Wat Worachettaram, Ayutthaya, Thailand.
2.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
3.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
4.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
5.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
6.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
7.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
------------------------------------------------------------------
ขอบคุณ ภาพวัดวรเชษฐาราม จาก fb: Beaw Littlepiggy ครับ.
1.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
2.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
3.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
4.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
5.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
6.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
7.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
-------------------------------------------------------------------
วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
Wat Worachettaram, Ayutthaya, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/984/thailand/ayutthaya/wat-worachettaram
--------------------------------------------------------------------
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://tatedutour.com/node/183?language=th
1.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://tatedutour.com/node/183?language=th
พระนครศรีอยุธยา
วัดวรเชษฐาราม
วัดวรเชษฐารามหรือ วัดวรเชษฐ์ เป็นพระอารามหลวงเก่า ตั้งอยู่ภายในเกาะเมือง ระหว่างวัดโลกยสุธารามและวัดวรโพธิ์ ซึ่งเคยเป็นเขตพระราชวังหลัง หรือที่เรียกว่า สวนกระต่าย วัดนี้ไม่มีประวัติความเป็นมาอย่างแน่ชัด มีข้อสันนิษฐานหลายทาง ทางหนึ่งเชื่อว่า สมเด็จพระเอกาทศรถโปรดให้สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2136 เพื่อเป็นพระราชกุศลถวายสมเด็จพระนเรศวร พระเชษฐา ณ บริเวณที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพ รวมทั้งประดิษฐานพระบรมอัฐิของพระองค์ไว้ในเจดีย์ประธาน
แต่เนื่องด้วยวัดวรเชษฐารามของอยุธยา มีอยู่สองแห่งด้วยกัน คือ วัดวรเชษฐ์ในเกาะเมืองและวัดวรเชษฐ์นอกเกาะเมืองหรือวัดประเชด อย่างไรก็ตามวัดวรเชษฐารามที่กล่าวถึงนี้ หรือวัดวรเชษฐ์ในเกาะเมือง ได้เคยมีผู้ลักลอบขุดกรุเจดีย์ประธาน โดยได้พบผอบบรรจุอัฐิซึ่งมีพระพุทธรูปนาคปรกล้อม อันเป็นพระพุทธรูปประจำวันพระราชสมภพ (วันเสาร์) ของสมเด็จพระนเรศวร ซึ่งเป็นหลักฐานหนึ่งที่ทำให้เชื่อว่า วัดวรเชษฐารามแห่งนี้ น่าจะเป็นวัดที่สมเด็จพระเอกาทศรถ โปรดฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อบรรจุพระบรมอัฐิพระเชษฐาของพระองค์
นอกจากนี้ยังมีนักวิชาการบางท่านเสนอว่า บริเวณที่สร้างวัดวรเชษฐารามในเกาะเมืองนี้ อาจเป็นที่พระตำหนักเดิมของสมเด็จพระเอกาทศรถ ซึ่งทรงสร้างถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระเชษฐาก็เป็นได้
จุดน่าชมของวัดวรเชษฐารามคือ พระเจดีย์ประธานทรงระฆังคว่ำ รูปแบบสุโขทัยก่ออิฐถือปูนขนาดใหญ่มหึมา ตามแบบที่นิยมสร้างในสมัยอยุธยาตอนกลาง และลวดลายประดับหน้าบันพระอุโบสถ ที่มีร่องรอยการใช้เครื่องถ้วยประดับตกแต่ง เหมือนกับที่ซุ้มประตูวัดมหาธาตุ ซึ่งหากได้ชมที่วัดนี้ก่อน ก็อย่าลืมสังเกตที่วัดมหาธาตุด้วยว่า ยังเหลือร่องรอยให้ชมมากน้อยเพียงไหน
เมื่อมองบริเวณโดยรอบจะเห็นว่า วัดนี้เป็นวัดเดียวในอยุธยาที่มีคูน้ำล้อมรอบ ซึ่งเป็นรูปแบบเดียวกับที่พบตามวัดในเมืองสุโขทัย.
2.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
8.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
------------------------------------------------------------
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://www.facebook.com/search/วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา. หรือ fb: ประวัติศาสตร์ ทุกที่
1. วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
จากป้ายข้อมูล วัดวรเชษฐาราม ของ กรมศิลป์ อ่านได้ดังนี้
วัดวรเชษฐาราม
วัดวรเชษฐาราม เป็นวัดที่สำคัญวัดหนึ่งของกรุงศรีอยุธยา. ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของพระราชวังหลวง และ ด้านหลังของพระราชวังหลัง ภายในกำแพงเมืองพระนครศรีอยุธยา. วัดนี้ ตามพระราชพงศาวดาร สมเด็จพระเอกาทศรถทรงสร้างเมื่อประมาณ พ.ศ.2136 ซึ่งเป็นปีที่สมเด็มพระนเรศวรมหาราช พระเชษฐาของสมเด็จพระเอกาทศรถได้ยกทัพไปตีเมืองตองอู และ ขณะเคลื่อนทัพถึงเมืองหาง ทรงพระประชวรหนักและเสด็จสวรรคต. สมเด็จพระเอกาทศรถจึงโปรดให้อัญเชิญพระศพมายังกรุงศรีอยุธยา และ ให้แต่งพระเมรุสูงเส้น 17 วา แล้วเสด็จไปถวายพระเพลิงศพ ให้นิมนต์พระสงฆ์มาร่วมในพิธีจำนวน 10,000 องค์ (** *ลักษณะนามของพระสงฆ์ น่าจะเรียกว่า "รูป" นะครับ ส่วนพระพุทธรูป ใช้ "องค์") เข้าใจว่าได้ถวายพระเพลิงพระศพ ณ.วัดวรเชษฐาราม แห่งนี้
ภายในกำแพงวัดประกอบด้วย เจดีย์ประธานทรงลังกาแบบสุโขทัย พระวิหารจำนวน 3 หลัง พระอุโบสถและพระเจดีย์ย่อมุมขนาดเล็ก 2 องค์ ตั้งอยู่บนฐานเดียวกัน เชื่อกันว่า น่าจะมีการบรรจุพระอัฐิของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชไว้ภายในเจดีย์องค์ใดองค์หนึ่งภายในวัดนี้.
3.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
4. วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
5.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
6.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
7.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
8.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
9.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
10.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
11.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
12.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
13.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
14.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
15.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
16.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
17.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
--------------------------------------------------------------------
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://thai.tourismthailand.org/ วัดวรเชษฐาราม
วัดวรเชษฐาราม
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://www.facebook.com/search/วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา. หรือ fb: ประวัติศาสตร์ ทุกที่
จากป้ายข้อมูล วัดวรเชษฐาราม ของ กรมศิลป์ อ่านได้ดังนี้
วัดวรเชษฐาราม
วัดวรเชษฐาราม เป็นวัดที่สำคัญวัดหนึ่งของกรุงศรีอยุธยา. ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของพระราชวังหลวง และ ด้านหลังของพระราชวังหลัง ภายในกำแพงเมืองพระนครศรีอยุธยา. วัดนี้ ตามพระราชพงศาวดาร สมเด็จพระเอกาทศรถทรงสร้างเมื่อประมาณ พ.ศ.2136 ซึ่งเป็นปีที่สมเด็มพระนเรศวรมหาราช พระเชษฐาของสมเด็จพระเอกาทศรถได้ยกทัพไปตีเมืองตองอู และ ขณะเคลื่อนทัพถึงเมืองหาง ทรงพระประชวรหนักและเสด็จสวรรคต. สมเด็จพระเอกาทศรถจึงโปรดให้อัญเชิญพระศพมายังกรุงศรีอยุธยา และ ให้แต่งพระเมรุสูงเส้น 17 วา แล้วเสด็จไปถวายพระเพลิงศพ ให้นิมนต์พระสงฆ์มาร่วมในพิธีจำนวน 10,000 องค์ (** *ลักษณะนามของพระสงฆ์ น่าจะเรียกว่า "รูป" นะครับ ส่วนพระพุทธรูป ใช้ "องค์") เข้าใจว่าได้ถวายพระเพลิงพระศพ ณ.วัดวรเชษฐาราม แห่งนี้
ภายในกำแพงวัดประกอบด้วย เจดีย์ประธานทรงลังกาแบบสุโขทัย พระวิหารจำนวน 3 หลัง พระอุโบสถและพระเจดีย์ย่อมุมขนาดเล็ก 2 องค์ ตั้งอยู่บนฐานเดียวกัน เชื่อกันว่า น่าจะมีการบรรจุพระอัฐิของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชไว้ภายในเจดีย์องค์ใดองค์หนึ่งภายในวัดนี้.
2.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
3.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
10.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
15.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
17.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
--------------------------------------------------------------------
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://thai.tourismthailand.org/ วัดวรเชษฐาราม
วัดวรเชษฐาราม
ทุกวัน
08.00 - 16.30
ข้อมูลการติดต่อ
ชื่อ
- -
ที่อยู่ อยู่ภายในชุมชนตลอดยอด ถนนคลองท่อ ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เบอร์โทร +66 3524 6076-7
วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
รายละเอียดสถานที่ท่องเที่ยว
ชื่ออารามหลวงเก่าแก่อายุหลายร้อยปีแห่งนี้แปลได้ว่า พี่ชายผู้เป็นที่รัก จึงสันนิษฐานตามหลักฐานได้ว่าเป็นวัดที่สมเด็จพระเอกาทศรถโปรดให้สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2136 ณ บริเวณที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ผู้ทรงเป็นพระเชษฐา และได้สร้างพระเจดีย์ประธานเพื่อประดิษฐานพระบรมอัฐิของอดีตพระมหากษัตริย์ไว้ด้วย
สิ่งที่สร้างความสับสนเนื่องจากที่อยุธยามีวัดวรเชษฐ์ 2 แห่งคือ วัดภายในเกาะเมือง ระหว่างวัดโลกยสุธารามและวัดวรโพธิ์ซึ่งเคยเป็นเขตพระราชวังหลัง ที่เรียกว่า สวนกระต่าย และวัดวรเชษฐ์นอกเกาะเมืองหรือวัดประเชด แต่วัดวรเชษฐ์ที่กล่าวถึงนี้อยู่ในเกาะเมือง ซึ่งเคยมีผู้ลักลอบเข้าไปขุดหาโบราณวัตถุ พบกรุเจดีย์ประธานมีผอบบรรจุอัฐิซึ่งมีพระพุทธรูปนาคปรกล้อมซึ่งเป็นพระพุทธรูปประจำวันเสาร์ อันเป็นพระราชสมภพของสมเด็จพระนเรศวรเป็นหลักฐานหนึ่งที่บ่งชี้ว่าวัดนี้คือวัดที่สมเด็จพระเอกาทศรถโปรดเกล้าฯให้สร้างขึ้น หรือนักวิชาการบางคนชี้ว่าที่ตั้งของวัดอาจเป็นที่ตั้งพระตำหนักเดิมของสมเด็จพระเอกาทศรถซึ่งได้ทรงสร้างถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระเชษฐา
แม้ไม่อาจชี้ชัดได้มากกว่านี้ แต่สิ่งก่อสร้างที่ยังหลงเหลืออยู่ก็เพียงพอจะดึงดูดให้ผู้ที่สนใจประวัติศาสตร์ได้เข้าไป
ชมวัดวรเชษฐารามนั่นคือพระเจดีย์ประธานก่ออิฐถือปูนทรงระฆังคว่ำศิลปะแบบสุโขทัยที่มีขนาดใหญ่โตมาก หน้าบันประดับลวดลายจากเครื่องถ้วยเช่นเดียวกับศิลปะที่ซุ้มประตูวัดมหาธาตุ ปรากฎลวดลายชั้นมาลัยเถา บัลลังก์และเสาหานรอบก้านฉัตรที่ยังสมบูรณ์และพระพุทธรูปปูนปั้นปางมารวิชัย พระประธานในพระวิหารก่ออิฐถือปูนที่ยังมีผู้ศรัทธานำมาลัยดอกไม้มากราบไหว้ทุกวัน และสภาพโดยรอบ สังเกตได้ว่าที่นี่เป็นวัดเดียวในอยุธยาที่มีคูน้ำล้อมรอบ ตามรูปแบบวัดในเมืองสุโขทัย
ที่ตั้ง :อยู่ภายในชุมชนตลอดยอด ถนนคลองท่อ ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่นี่ ด้านใต้ติดกับวัดโลกยสุธาราม ด้านตะวันออกติดกับวัดวรโพธิ์ อยู่ใกล้กับถนนสาย 347 ตัดกับถนนสาย 3263 ที่แยกวรเชฐษ์
หรือสามารถเดินทางไปตามแผนที่นี้ http://www.tourismthailand.org/fileadmin/upload_img/Multimedia/Ebrochure/470/วัดวรเชษฐาราม.pdf
วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
------------------------------------------------------------------
ขอบคุณ ภาพวัดวรเชษฐาราม จาก fb: Beaw Littlepiggy ครับ.
1.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
2.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
3.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
4.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
5.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
6.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
7.วัดวรเชษฐาราม ตำบล.ประตูชัย อำเภอ.พระนครศรีอยุธยา จังหวัด.พระนครศรีอยุธยา.
-------------------------------------------------------------------
ขอบคุณข้อมูลจาก https://pantip.com/topic/34420426
ตอบลบความคิดเห็นที่ 1
วัดวรเชษฐ์ตามความรับรู้ของคนยุคต้นรัตนโกสินทร์นี่ถือเป็นวัดสำคัญมาก ๆ เพราะบันทึกไว้ในพงศาวดารกันเลยทีเดียว ทั้งฉบับพันจันทนุมาศ ฉบับบริติชเมียวเซียม ซึ่งชำระหรือเรียบเรียงเมื่อ พ.ศ. 2350 บันทึกไว้ว่า
พระราชพงศาวดารฉบับบริติชเมียวเซียมว่า
และพระบาทเสด็จสร้างโพธิสมภาร บำเพ็ญพุทธการรกธรรมบารมี อาทิคือ สร้างพระวรเชษฐารามมหาวิหาร อันรจนา พระพุทธประติมามหาเจดีย์บรรจุพระสารีริกธาตุ สำเร็จกุฎีสถานปราการสมด้วยอรัญวาสี และ้วก็สร้างพระไตรปิฎกธรรมจบบริบูรณ์ ทั้งพระบาลี อรรถกถา ฎีกา คันถีวิวรณ์ทั้งปวง จึงแต่งหอพระ สัทธรรมเสร็จ ก็นิมนต์พระสงฆ์อรัญวาสีผู้ทรงศีลาคุณอันวิเศษ มาอยู่ครองพระวรเชษฐารามนั้น
ฉบับพันจันทนุมาศว่า
และพระบาทสมเด็จสร้างโพธิสมภารบำเพ็ญพุทธการกธรรมบารมีอาทิ คือ สร้างพระวรเชษฐารามมหาวิหารอันรจนาพระพุทธิปฎิมามหาเจดีย์บรรจุพระสารีริกธาตุสำเร์จ กุฎีสถานปราการสมด้วยอรัญวาสีแล้ว ก็สร้างพระไตรปิฎกธรรมจบบูรณ์ทั้งพระบาลีอรรถกถาฎีกา คันถีวิวรณ์ทั้งปวง จึงแต่งหอพระสัทธรรมเสร็จ ก็นิมนต์พระสงฆ์อรัญวาสีผู้ทรงศีลาทิคุณอันวิเศษ มาอยู่ครองพระวรเชษฐารามนั้น
จากข้อมูลข้างต้นวัดวรเชษฐารามที่ทรงสร้างเป็นวัดฝ่ายอรัญญวาสีครับ และต้องมีขนาดใหญ่พอสมควร วัดฝ่ายอรัญวาสีคืออะไรก็คือวัดฝ่ายวิปัสสนา นิยมสร้างกันนอกเมืองออกมาตั้งแต่ประมาณ 2 กิโลเมตรเป็นต้นไป เพื่อความสะดวกและสงัดแก่การเจริญวิปัสสนาญาณ ดังนั้นถ้าหากถามว่าวัดวรเชษฐ์ควรเป็นที่ไหน วัดวรเชษฐ์นอกเมืองก็ดูจะสมกับข้อมูลข้างต้น
แต่หากพิจารณาจากโบราณสถานที่เหลือก็มีข้อสงสัยอยู่ว่าวัดวรเชษฐ์ดังกล่าวจะเป็นวัดที่พระเอกาทศรถทรงสร้างอุทิศถวายสมเด็จพระนเรศวรจริงหรือไม่ เพราะปรางค์ประธานนั้นนักโบราณคดีลงความเห็นว่าสร้างไล่เลี่ยกับวัดชัยวัฒนาราม เนื่องจากมีรูปทรงคล้ายคลึงกันและเทคนิคการก่อสร้างก็คล้ายกันมาก ดังนั้นจึงควรสร้างราวรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททองหรือสมเด็จพระนารายณ์มากกว่า
จากข้อมูลข้างต้นสรุปได้อย่างหนึ่งว่า สมเด็จพระเอกาทศรถทรงสร้างวัดชื่อวรเชษฐาราม ที่นอกเมืองไว้เป็นวัดฝ่ายอรัญวาสีจริง แต่มหาธาตุเจดีย์ (หรือพระปรางค์)นั้น ทรงบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ไม่ได้บรรจุพระบรมอัฐิสมเด็จพระนเรศวรแต่อย่างใด เพราะวัดวรเชษฐ์ที่ว่าสร้างเสร็จก่อนการถวายพระเพลิงสมเด็จพระนเรศวรเสียอีก ดังนั้นข่าวที่บอกว่าบรรจุพระบรมอัฐิของพระองค์ไว้ที่นี่จึงไม่น่าจะตรงกับความเป็นจริง
น้องหมูแดง
9 พฤศจิกายน 2558 เวลา 12:55 น.