วัดสีสะเก็ด นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)
Wat Sisaket, Vientiane, Laos.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล
จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/463/laos/vientiane/wat-sisaket
Wat Sisaket (built 1818, restored 1935)
Wat Siskaket (Wat Sisaketsata Sahatsaham) is Vientiane's oldest surviving monastery. Built by King Anouvong in 1818, the Siamese style perhaps saved it from the destruction that came with the Siamese armies in 1828. It is located near the Presidential Palace. A restoration took place in 1935. The inner sanctury contains an extensive displays of Buddha images from the 16th to the 19th century—6,840 such images. The grounds are richly planted with a variety of vegetation that is lovingly tended, so it becomes a restful retreat as well.
Text by Robert D. Fiala.
Location
The approximate location of the site is 17.963097' N, 102.611397' E (WGS 84 map datum).
All images copyright 2002 by professor Robert D. Fiala of Concordia University, Nebraska, USA
วัดสีสะเก็ด นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)
02.Wat Sisaket, Vientiane, Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดสีสะเก็ด นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)
03.Wat Sisaket, Vientiane, Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดสีสะเก็ด นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)
04.Wat Sisaket, Vientiane, Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดสีสะเก็ด นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)
05.Wat Sisaket, Vientiane, Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดสีสะเก็ด นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)
06.Wat Sisaket, Vientiane, Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดสีสะเก็ด นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)
07.Wat Sisaket, Vientiane, Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดสีสะเก็ด นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)
08.Wat Sisaket, Vientiane, Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดสีสะเก็ด นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)
09.Wat Sisaket, Vientiane, Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดสีสะเก็ด นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)
10.Wat Sisaket, Vientiane, Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดสีสะเก็ด นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)
11.Wat Sisaket, Vientiane, Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดสีสะเก็ด นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)
12.Wat Sisaket, Vientiane, Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดสีสะเก็ด นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)
13.Wat Sisaket, Vientiane, Laos. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดสีสะเก็ด นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)
วัดสีสะเก็ด นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)
Wat Sisaket, Vientiane, Laos.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล
จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/463/laos/vientiane/wat-sisaket
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Wat_Si_Saket
Wat Si Saket
From Wikipedia, the free encyclopedia
Wat Si Saket is a Buddhist wat in Vientiane, Laos. It is situated on Lan Xang Road, on the corner with Setthathirat Road, to the northwest of Haw Phra Kaew, which formerly held the Emerald Buddha.[1]
Overview[edit]
Wat Si Saket was built in 1818 on the order of King Anouvong (Sethathirath V.) Si is derived from the Sanskrit title of veneration Sri, prefixed to the name of Wat Saket in Bangkok, which was renamed by Anouvong's contemporary, King Rama I. Wat Si Saket was built in the Siamese style of Buddhist architecture, with a surrounding terrace and an ornate five-tiered roof, rather than in the Lao style. This may have kept it safe, since the armies of Siam that sacked Vientiane following Anouvong's rebellion in 1827 used the compound as their headquarters and lodging place. It may be the oldest temple still standing in Vientiane. The French colonial government restored Wat Si Saket in 1924 and again in 1930.
Wat Si Saket features a cloister wall with more than 2,000 ceramic and silver Buddha images. The temple also houses a museum.
------------------------------------------------
จาก http://www.intaram.org/index.php?lay=show&ac=article&Id=538751399
ตอบลบวัดสีสะเกด (Wat Sisaket) หรือวัดสะตะสะหัสสาราม (วัดแสน) เป็นวัดที่สร้างขึ้นแห่งแรกในนครเวียงจันทน์ สตสหัสส แปลว่า 100,000, อาราม แปลว่า วัด, วัดสตสหัสสาราม จึงแปลว่า วัดแสน ในอดีตเป็นที่ประทับของสมเด็จพระสังฆราช (ลาว) ศักดิ์ของวัดนี้เทียบเท่าวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์ฯ ท่าเตียน ของไทย) เหตุที่ชื่อวัดแสนก็เพราะว่า พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชและพุทธศาสนิกชนชาวลาวในอดีต ทรงสร้างพระพุทธรูปทั้งองค์เล็กและองค์ใหญ่ประดิษฐานไว้ทั่ววัด 100,000 องค์ ดังนั้นจึงมีชื่อเล่นว่าวัดแสน แต่ปัจจุบันมีเหลืออยู่ประมาณ 10,000 กว่าองค์เท่านั้น ไกด์บางคนบอกว่ามี 6,000 กว่าองค์ แต่ถึงอย่างไรก็ตาม วัดนี้ก็มียังมีพระพุทธรูปมากที่สุดในนครหลวงเวียงจันทน์
ใน พ.ศ. 2321 เจ้าพระยาจักรี (ร.๑) ได้รับพระบัญชาจากสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีให้ยกทัพไปทวงถามเครื่องบรรณาการจากลาว ลาวไม่ให้จึงสู้รบกัน ลาวรบแพ้เพราะไม่เจนศึกเท่าทหารสยาม ในฐานะที่เจ้าพระยาจักรีเป็นนักรบผู้ทรงธรรมและเคยบวชเรียนหลายพรรษา เมื่อชนะศึกแล้วจึงนำพาทหารสยามบูรณะซ่อมแซมวัดนี้ก่อนเดินทางกลับประเทศใน พ.ศ.2322 เพื่อเป็นพุทธบูชาอุทิศส่วนกุศลให้ทหารทั้ง 2 ประเทศที่เสียชีวิต เนื่องจากรบกันโดยไม่มีเรื่องบาดหมางกันมาก่อน สถาปัตยกรรมวัดนี้เกือบทั้งหมดจึงเป็นสถาปัตยกรรมไทย
เมื่อเจ้าอนุวงศ์ขึ้นครองราชเป็นกษัตริย์ลาวเมื่อ พ.ศ. 2348 ก่อนหน้านั้นพระองค์เคยเสด็จมาช่วยไทยรบกับพม่า 2 ครั้ง ก็ได้โปรดให้บูรณะและสร้างวัดนี้ต่อด้วยสถาปัตยกรรมไทย วัดนี้จึงเป็นวัดที่เป็นศูนย์รวมจิตใจของทหารและชาวพุทธสองประเทศมาแต่โบราณ เพราะเป็นวัดที่ทหารของทั้งสองประเทศช่วยกันบูรณะ
พ.ศ. 2369 เกิดกรณีพิพาทสยาม – ลาว (ไทยเรียกเหตุการณ์นี้ว่ากบถเจ้าอนุวงศ์) ศึกครั้งนั้นไทยแทนแค้นลาวมาก จึงทำลายเมืองเวียงจันทน์โดยการเผาเกือบหมด ยกเว้นวัดนี้กับหอพระแก้ว เพราะเป็นวัดที่ตนพักทัพ ตามธรรมเนียมแต่โบราณ พวกทหารพุทธเมื่อตั้งทัพที่ไหนจะไม่ทำลายที่นั่น
พ.ศ. 2370 ก่อนกองทัพสยามเดินทางกลับประเทศ ได้ทำการบูรณะซ่อมแซมและฌาปนกิจศพทหารที่เสียชีวิตที่วัดแห่งนี้
จากเหตุการณ์เผาเวียงจันทน์นี่แหละ ชาวลาวรุ่นใหม่ที่เรียนมาถึงประวัติศาสตร์ตอนนี้จึงแค้นไทยไม่หาย เมื่อไทยพูดว่า “บ้านพี่ – เมืองน้อง” ลาวรุ่นใหม่จึงไม่ยอมรับไทยเป็นญาติ เขามักจะถามกลับว่า
“ใครเป็นพี่ – ใครเป็นน้อง”
ไทยบางคน เกลียดพม่าไม่หายในเหตุการณ์เสียกรุงครั้งที่สอง อย่างไร
ลาวบางคน ก็แค้นไทยไม่เลิกในเหตุการณ์เผาเวียงจันทน์ อย่างนั้น
ปัจจุบันวัดแห่งนี้มีส่วนที่เป็นพื้นดินสำหรับภิกษุจำพรรษานิดหน่อย ที่ดินส่วนใหญ่ถูกตัดแบ่งไปเป็นส่วนราชการหมด แม้แต่ส่วนที่เป็นพระอุโบสถวัดสีสะเกด กระทรวงวัฒนธรรมก็มาดูแล หอพระแก้วที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของวัด ทางการก็มาดูแลแทนวัดเช่นกัน มีถนนไชยเชษฐาตัดผ่าน ทำให้หอพระแก้วและวัดต้องอยู่แยกกันโดยปริยาย
วิญญาณทหารสยามที่สถิตอยู่ในวัดนี้จึงอาภัพเพราะไม่มีใครไปทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้ ชาวลาวก็ไม่ทำบุญกรวดน้ำให้ เพราะยังไม่หายแค้น ทำบุญจากประเทศไทยไปให้ก็ไม่ค่อยจะถึง เพราะอยู่ไกลและวิบากกรรมก็ยังไม่สิ้น (ซวยสองต่อ) หากอยากทำบุญให้ ต้องไปทำที่เวียงจันทน์เท่านั้น .