วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/1118/thailand/ayutthaya/wat-phraya-maen
Wat Phraya Maen (วัดพระยาแมน) (16th-17th century, restored 1690)
Wat Phraya Maen is the northernmost of Ayutthaya's major temples, located about 3.1 kilometers north of the city center in a field named Thung Kwan. It is a massive late-Ayutthaya style edifice comprising a solidly built ubosot (ordination hall), two prang (chedi) to the east, and a handful of subsidiary structures such as a bell tower. The remains of what may be an viharn (assembly hall) are located to the west in a grove of trees.
No historical records indicate when the temple was first built, but there are a few paragraphs in the "Chronicles of Ayutthaya" that describe the restoration of the monastery in the reign of King Phetracha (r. 1688-1703). The chronicle notes that at an early age the future King resided in the temple and took a vow to live for a time as a monk. A certain "reverend professor" instructed the King on monastic discipline and the Buddhist holy scriptures. The reverend professor counseled the future king that in times to come he would become a powerful king who would "get to rule [with] the wealth of an absolute monarch".
During the rule of King Phetracha the city of Nakhon Si Thammarat was taken. Following the conquest the King recalled his former teacher's prophecy and determined to recompense him for his accurate prediction. In 1690 the King returned to the monastery and "went in to venerate the reverend professor". The chronicle notes that:
"Then a holy royal command was issued ordering the holy recitation hall, the preaching hall, the seminary and residential dormitories be restored and beautifully decorated as a master offering. The then King made a holy royal donation by bestowing the four requisites for the holy temple on the reverend professor and holy clerics in great numbers. When [the restoration] was completed, the festival to dedicate it lasted seven days and seven nights." (Cushman, pp. 321-22).
The restored temple probably only survived as an active monastery for about 70 more years, as it was almost certainly sacked during the Burmese invasion of 1767. Unlike many temples that were burned or otherwise damaged, the majority of the temple's structure survived (apart from the roof) as its thick brick walls were unusually strong—a legacy of King Phetracha's patronage that lives on to the present day.
Location
The approximate location of the site is 14.377877' N, 100.553818' E (WGS 84 map datum).
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
02.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
03.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
04.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
05.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
06.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
07.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
08.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
09.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
10.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
11.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
12.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
13.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
14.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
15.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
16.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
17.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
18.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
19.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
20.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
21.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
22.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
23.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
24.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
25.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
26.Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.วัดพระยาแมน ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
Wat Phraya Maen, Ayutthaya, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/1118/thailand/ayutthaya/wat-phraya-maen
---------------------------------------------------------------
ขอบคุณ ข้อมูล จาก https://th.wikipedia.org/wiki/วัดพระยาแมน
วัดพระยาแมน
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วัดพระยาแมน | |
---|---|
ข้อมูลทั่วไป | |
ที่ตั้ง | ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
เป็นวัดที่มีการกล่าวถึงในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาและถูกขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานสำคัญของชาติ | |
วัดพระยาแมน เป็นวัดร้าง ตั้งอยู่ที่ตำบลคลองสระบัว อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยวัดพระยาแมนได้รับการประกาศให้เป็นโบราณสถานของชาติ แต่ไม่ได้กำหนดขอบเขต เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2486 หลังจากนั้น จึงได้รับการขึ้นทะเบียนแบบกำหนดขอบเขตอีกครั้ง เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2523
ประวัติ[แก้]
วัดพระยาแมนเป็นวัดที่สร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี โดยไม่ปรากฏนามผู้สร้างและไม่ทราบว่าสร้างขึ้นในรัชสมัยใด แต่ชื่อวัดพระยาแมนปรากฏในพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยสมเด็จพระเพทราชา กล่าวคือ ก่อนที่สมเด็จพระเพทราชาจะได้ครองราชสมบัตินั้น ผนวชอยู่ที่วัดพระยาแมน โดยพระอาจารย์อธิการได้ทำนายว่าพระองค์จะได้ขึ้นครองราชสมบัติ รวมทั้งยังได้ให้โอวาทานุสาสน์ในสมณะกิจทั้งปวง ดังนั้น เมื่อสมเด็จพระเพทราชาได้เสวยราชสมบัติแล้วจึงทรงพระราชดำริถึงคุณพระอาจารย์อธิการวัดพระยาแมน จึงเสด็จพระราชดำเนินไปยังวัดพระยาแมนเพื่อถวายนมัสการพระอาจารย์ แล้วมีพระราชดำรัสให้ให้สร้างพระอารามให้ถาวรขึ้นกว่าเก่า เมื่อสร้างแล้วเสร็จทรงพระกรุณาให้มีการสมโภช 3 วัน และทรงตั้งพระอาจารย์อธิการวัดพระยาแมน ชื่อ พระยาศรีสัจจญาณมุนี ราชาคณะ ฝ่ายคามวาสี พร้อมถวายเครื่องสมณบริขารพร้อมตามศักดิ์พระราชาคณะทุกประการ จากพงศาวดารแสดงให้เห็นว่าสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ทุกวันนี้ล้วนเป็นฝีมือช่างคราวปฏิสังขรณ์ในครั้งนั้นทั้งสิ้น
อ้างอิง[แก้]
------------------------------------------------
ของคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://www.gotoknow.org/posts/262481
ของคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://www.gotoknow.org/posts/262481
วัดพญาแมน เป็นวัดที่ตั้งอยู่บนเนินดินสูงกลางที่ราบลุ่ม ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างเมื่อใด แต่วัดพญาแมน นี้จัดว่าเป็นวัดโดดเด่นระดับห้าดาว(ผู้เขียนให้ดาวเองค่ะ)ใน ทุ่งขวัญ เพราะมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ คือ พระเพทราชา เคยมาบวชที่วัดนี้ ก่อนได้เป็นกษัตริย์ ตอนนั้นพระอาจารย์เจ้าอาวาสได้ถวายคำพยากรณ์ว่าท่านจะได้เสวยราชสมบัติ ให้รักษาตนให้ดี เมื่อพระเพทราชา ลาสิกขาบทออกมารับใช้แผ่นดิน จนได้ขึ้นครองราชย์(พ.ศ. ๒๒๓๑-๒๒๔๖) จึงระลึกถึงพระคุณของพระอาจารย์ เสด็จมาถวายนมัสการและทรงโปรดเกล้าฯให้ปฏิสังขรณ์ วัดพญาแมนในราวปี พ.ศ. ๒๒๓๑ ใช้เวลาสองปีเศษจึงแล้วเสร็จ ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น วัดหลวง และ ทรงพระกรุณาฯตั้งพระอาจารย์เป็นพระราชาคณะคามวาสีด้วย
จากนั้น วัดพญาแมนได้ดำรงฐานะเป็นศาสนสถานศูนย์กลางของชุมชนสืบต่อมาจนกระทั่งสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย
กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียน วัดพระยาแมน เป็นสมบัติสำคัญของชาติ ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๖๐ ตอนที่ ๓๙ ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๔๘๖
..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/262481
---------------------------------------------------------------------------------------
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น