วันเสาร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

16.07.2560 Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/604/thailand/ayutthaya/wat-mahathat


Wat Mahathat (วัดมหาธาตุ) (built 1374 onward)

Wat Mahathat was once the home of the Supreme Patriarch, a powerful religious force in Ayutthaya. The temple (under a different name) was likely constructed by King Borom Rachathirat I around 1374. Its current name was given during the reign of King Ramesuan (r. 1388-1395).
Today, the central prang (tower) of the temple is a ruined mass of bricks. It first collapsed during the reign of King Song Tham (r. 1610-1628) and was repaired during the reign of the following ruler, King Prasat Thong (r. 1629-1656). The reconstruction raised the prang to 44 meters and thence to 50 meters when a 6 meter metal spire was added.
The temple weathered arson attacks during the Burmese invasion of 1767. As late as the early 20th century the prang was in fairly good condition, but it collapsed suddenly during the reign of King Rama VI. Repairs have not been attempted.

Location

The approximate location of the site is 14.357031' N, 100.567474' E (WGS 84 map datum).


 01.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

02.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


03.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


04.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


05.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


06.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


07.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


08.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


09.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


10.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


11.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


12.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


13.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


14.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


15.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


16.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


17.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


18.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


19.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


20.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


21.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


22.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


23.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


24.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


25.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


26.Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

วัดมหาธาตุ เกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
Wat Mahathat, Ayutthaya, Thailand.

Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/604/thailand/ayutthaya/wat-mahathat

----------------------------------------------------------

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Wat_Mahathat_(Ayutthaya)


Wat Mahathat (Ayutthaya)


From Wikipedia, the free encyclopedia

Prang and statue of Buddha, Wat Mahathat, Ayutthaya

Wat Phra Mahathat, Ayutthaya

Probably the most photographed object in the area

Plan of the ruins of Wat Mahathat, Ayutthaya
The Wat Mahathat (Thai วัดมหาธาตุ พระนครศรีอยุธยาTemple of the Great Relic) is a Buddhist temple in Ayutthayacentral Thailand.

Location[edit]

The Wat Mahathat Ayutthaya is located in the center of old Ayutthaya, between Chi Kun Road and Naresuan Road in the northeast corner of Phra Ram Park.

Architecture[edit]

According to the official Thai history, referring to the investigations of the Royal Chronicles of Ayutthaya by Prince Damrong Rajanubhab, the history of Wat Mahathat starts in 1374 when King Borommaracha I erected a temple at this place, bearing another name:
"In the Year of the Tiger 736 C.S. Somdet Phra Borommarachathirat and Phra Mahathera Thammakanlayan built the great, glorious, holy, jewelled reliquary (Phra Si Rattana Mahathat) east of the palace (the Royal gable of the lion). He rose 19 wah in height and equipped with a nine-membered tip that is another 3 wah in height."
His nephew and successor Ramesuan (1369-1370, 1388-1395) expanded the site in 1384 to build a great temple, while he was here as a monk between his throne offices. During this time the temple got its present name.














------------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://th.wikipedia.org/wiki/ วัดมหาธาตุ

วัดมหาธาตุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

วัดมหาธาตุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นหนึ่งในวัดในเขตอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา วัดมหาธาตุเป็นวัดที่มีความสำคัญยิ่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา เพราะเป็นวัดที่ประดิษฐานพระบรมธาตุใจกลางพระนคร และเป็นที่พำนักของสมเด็จพระสังฆราชฝ่ายคามวาสีอีกด้วย วัดแห่งนี้จึงได้รับการก่อสร้างและดูแลตลอดเวลาจวบจนถูกทำลายลงหลังเสียกรุงครั้งที่ 2


01.วัดมหาธาตุ (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)
ปรางค์ประธาน ปัจจุบันได้พังทลายมาแล้ว
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อวัดมหาธาตุ
ที่ตั้งเกาะเมือง อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
โบราณสถาน

ประวัติ
วัดมหาธาตุเป็นวัดที่เก่าแก่และมีประวัติที่ไม่แน่ชัด บางบอกปี พ.ศ. 1917 บางบอกปี พ.ศ. 1927 อย่างไรก็ตาม ได้ใช้เวลาก่อสร้างไปเป็นจำนวนมาก
ในสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม พระปรางค์เคยพังลงมาเกือบครึ่งองค์ถึงชั้นครุฑ ปรางค์ของวัดเดิมสร้างด้วยศิลาแลง แต่จะด้วยเหตุผลประการใดไม่ทราบ จึงยังมิได้ซ่อมแซมให้คืนดีดังเดิมในรัชกาลนั้น ต่อมาสมเด็จพระเจ้าปราสาททองทรงบูรณะใหม่ รวมเป็นความสูง 25 วา แต่ก็ได้พังทลายลงมาอีกรอบในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงนำกำลังทหารไปช่วยกันสร้างยอดพระปรางค์ด้วยไม้สักและได้สถาปนาให้เป็นพระปรางค์ประจำชาติ และพระปรางค์วัดมหาธาตุก็ยังคงอยู่ที่นั้นตลอด


 02.พระปรางค์ขนาดเล็ก
สิ่งก่อสร้าง
  1. พระปรางค์ขนาดใหญ่ ซึ่งในปัจจุบันพังทลายลงมาหมดแล้ว แต่ราชทูตลังกาที่ได้เคยมาเยี่ยมชมวัดมหาธาตุ ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศไว้ว่า ที่ฐานของพระปรางค์ มีรูปราชสีห์ หมี หงส์ นกยูง กินนร โค สุนัขป่า กระบือ มังกร เรียงรายอยู่โดยรอบ รูปเหล่านี้อาจหมายถึงสัตว์ในป่าหิมพานต์ที่รายล้อมอยู่เชิงเขาพระสุเมรุ ซึ่งเป็นแกนกลางของจักรวาล
  2. เจดีย์แปดเหลี่ยม เป็นเจดีย์ลดหลั่นกัน 4 ชั้น 8 เหลี่ยม ชั้นบนสุดประดิษฐานปรางค์ขนาดเล็ก ซึ่งเจดีย์องค์นี้จัดว่าเป็นเจดีย์ที่แปลกตา พบเพียงองค์เดียวในอยุธยา
  3. วิหารที่ฐานชุกชี ของพระประธานในวิหาร กรมศิลปากรพบว่ามีผู้ลักลอบขุดลงไปลึกถึง 2 เมตร จึงดำเนินการขุดต่อไปอีก 2 เมตร พบภาชนะดินเผาขนาดเล็ก 5 ใบ บรรจุแผ่นทองเบารูปต่างๆ
  4. วิหารเล็ก วิหารเล็กแห่งนี้ มีรากไม้แผ่รากขึ้นเกาะเต็มผนัง รากไม้ส่วนหนึ่งได้ล้อมเศียรพระพุทธรูปไว้
  5. พระปรางค์ขนาดกลางภายในพระปรางค์ มีภาพจิตรกรรม เรือนแก้วซึ่งเป็นตอนหนึ่งในพุทธประวัติ
  6. ตำหนักพระสังฆราช บริเวณพื้นที่ว่างทางด้านทิศตะวันตก เคยเป็นที่ตั้งพระตำหนักพระสังฆราช ฝ่ายคามวาสี ราชทูตลังกาได้เล่าไว้ว่า เป็นตำหนักที่สลักลวดลายปิดทอง มีม่านปักทอง พื้นปูพรม มีขวดปักดอกไม้เรียงรายเป็นแถวเพดานแขวนอัจกลับ (โคม) มีบังลังก์ 2 แห่ง

คลังภาพ


 03.เศียรพระ หน้าวิหารเล็ก

 04.พระพุทธเจ้า

 05.เจดีย์

 06.พระพุทธรูปและเจดีย์

 07.พระปรางค์ วัดมหาธาตุ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ก่อนพังทลายในเวลาต่อมา

 08.พระปรางค์และองค์พระพุทธรูปหน้าพระปรางค์ประธาน

09.เศียรพระ หน้าวิหารเล็ก

----------------------------------------------
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://m.donmueangairportthai.com/th/popular-destinations/1700/wat-mahathat-phra-nakhon-si-ayutthaya


 01.

 02.

 03.

 04.

 05.

 06.

 07.

08.

-----------------------------------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://watboran.wordpress.com/category/วัดมหาธาตุ

วัดมหาธาตุ

22012007
วัดมหาธาตุ กรุงศรีอยุธยา เป็น ๑ ในวัดที่จัดอยู่ในอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา
เป็นศูนย์กลางทางศาสนาที่สำคัญที่สุดในกรุงศรีอยุธยา เพราะนอกจากเป็นที่ประดิษฐาน
พระบรมธาตุกลางเมืองแล้ว ยังเป็นที่พำนักของ สมเด็จพระสังฆราช ฝ่ายคามวาสีอีกด้วย
วัดแห่งนี้จึงได้รับการก่อสร้าง และ ดูแลตลอดเวลา

-วัดมหาธาตุ –
ประวัติ
สันนิษฐานว่าวัดนี้ได้ริเริ่มสร้างองค์พระมหาธาตุขึ้นในแผ่นดินสมเด็จบรมราชาธิราชที่ ๑
(ขุนหลวงพระงั่ว) แต่อาจจะยังไม่สำเร็จในรัชกาลของพระองค์ จนถึงรัชกาของสมเด็จ
พระราเมศวรจึงทรงสร้างเพิ่มเติมจนเสร็จบริบูรณ์เป็นพระอาราม แล้วขนานนามว่า”วัดมหาธาตุ”
ในสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม (พ.ศ.๒๑๕๓-๒๑๗๑)พระปรางค์เคยพังลงมา
เกือบครึ่งองค์ถึงชั้นครุฑ ต่อมาสมเด็จพระเจ้าปราสาททองทรงบูรณะใหม่
โดยเสริมพระมหาธาตุให้สูงยิ่งขึ้น รวมเป็นความสูง 25 วา ดังปรากฏในพงศาวดารฉบับ
พระราชหัตถเลขาว่า“ศักราช ๙๙๕ (พ.ศ.๒๑๗๖) ปีระกา เบญจศก ทรงพระกรุณาให้สถาปนา
พระปรางค์วัดพระมหาธาตุอันทำลายลง เก่าเดิมในองค์สูง ๑๙ วายอดนภศูลสูง ๓ วาจึงดำรัสว่า
ทรงเก่าล่ำนัก ให้ก่อใหม่ไห้องค์สูงเส้น ๒ วายอดนภศูลคงไว้ เข้ากันเป็นเส้น ๕ วา (๕๐เมตร)
ก่อแล้วเห็นเพรียวอยู่ ให้เอาไว้มะค่ามาแทรก ตามอิฐเอาปูนบวก ๙ เดือนสำเร็จให้กระทำ
การฉลองเป็นอันมาก”หลังจากรัชกาลสมเด็จพระเจ้าปราสาททองแล้ว ก็ไม่ปรากฏเรื่องราว
ของวัดมหาธาตุอีกเลย
ครั้นเมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่ข้าศึกครั้งหลังใน พ.ศ.๒๓๑๐ ในคราวนั้นวัดมหาธาตุถูกไฟไหม้
เสียหายมาก พระอุโบสถและวิหาร ตลอดจนกุฏิสงฆ์ถูกเผาผลาญยับเยิน คงเหลือแต่ซากผนัง
และตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา วัดมหาธาตุก็ได้กลายเป็นวัดร้าง จนกระทั่งพระยาไชยวิชิต (เผือก)
ผู้รักษาการกรุงศรีอยุธยา ในรัชกาลที่๓ทำการซ่อมวัดหน้าพระเมรุที่ริมครองสระบัวขึ้นใหม่หมด
ทั้งวัด จึงได้เชิญพระพุทธรูปองค์นั่งห้องพระบาทไปประดิษฐานไว้ในวิหารน้อย ซึ่งอยู่ใน
วัดหน้าพระเมรุจนบัดนี้
ปัจจุบันกรมศิลปากรได้พยายามบูรณะไว้ตามสภาพ

-เศียรพระพุทธรูป วัดมหาธาตุ ซึ่งเป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยว-
การเดินทาง
หากเดินทางมาจากรุงเทพโดยใช้ถนนสายเอเชีย(ทางหลวงหมายเลข 32)เลี้ยวซ้าย
ตรงสี่แยกเข้าอยุธยา ตรงเข้ามาผ่านสะพานนเศวร ตรงไปจนถึงสี่แยกไฟแดงที่ ๒
เลี้ยวขวาตรงไปไม่ไกลนัก ผ่านบึงพระราม จะเห็นวัดมหาธาตุอยู่ทางซ้ายมือ

2 ความคิดเห็น:

  1. ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.weloveayutthaya.com/?ContentID=ContentID-110314165728181

    วัดมหาธาตุ

    “เศียรพระพุทธรูปหินทรายใต้ต้นโพธิ์ อยุธยา” ฮอตติดเว็บ ระดับโลก ปี 53


    เศียรพระพุทธรูปหินทรายที่ถูกห่อหุ้มด้วยรากของต้นโพธิ์ ภายในวัดมหาธาตุ
    บริเวณพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา

    “เว็บไซต์ Tripadvisor อยู่ในเครือข่ายของเว็บไซต์ยูเนสโก ซึ่งนักท่องเที่ยวยุโรป นิยมหาข้อมูลท่องเที่ยวในเอเชีย พบว่า นักท่องเที่ยวจะไม่พลาดที่จะมาชมแหล่งอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา เศียรพระพุทธรูปหินทรายที่ถูกห่อหุ้มด้วยรากของต้นโพธิ์ ภายในวัดมหาธาตุ ถือว่าเป็นอันซีนอินไทยแลนด์ เพราะนักท่องเที่ยวเข้าใจว่าพระอยู่ใต้ต้นโพธิ์ผุดขึ้นมา จึงทำให้นักท่องเที่ยวสนใจเป็นอย่างมาก ซึ่งผมลองเข้าไปดูในเว็บไซต์ Tripadvisor มีการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพเศียรพระพุทธรูปหินทรายที่ถูกห่อหุ้มด้วยรากต้นโพธิ์ ในปี2553 มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในยุโรปและเอเชียมาเที่ยวชมอยุธยามากถึง 1.2 ล้านคน จาก 92 ประเทศ เช่น โปรตุเกส เยอรมนี ญี่ปุ่น ซึ่งประเทศแถบยุโรปถือเป็นอันดับ 1 ของจำนวนนักท่องเที่ยวทั้งหมด”

    นายเมธาดล ผอ.อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา สำนักศิลปากรที่ 3 พระนครศรีอยุธยา กรมศิลปากร กล่าวว่า เศียรพระพุทธรูปนี้ถูกห่อหุ้มด้วยรากต้นโพธิ์มาแล้วกว่า 50 ปี ซึ่งคนต่างประเทศมองว่าสวยงาม และเป็นสิ่งที่แปลกตา จึงได้รับความนิยมอย่างรวดเร็ว ในขณะเดียวกัน วัดมหาธาตุ ถือเป็นหนึ่งในอุทยานประวัติศาสตร์แหล่งมรดกโลกของไทยที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ เมื่อนักท่องเที่ยวมาประเทศไทย ได้มาเจอกับเศียรพระพุทธรูปแห่งนี้ ก็นำไปเผยแพร่และเขียนบรรยายความรู้สึกในเว็บไซต์ Tripadvisor เป็นจำนวนมาก


    ตอบลบ

  2. วัดมหาธาตุ เป็นพระอารามหลวง ตั้งอยู่ใกล้วัดราชบูรณะ ในบริเวณอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา สร้างในสมัย สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพะงั่ว กษัตริย์องค์ที่ 3) เมื่อปี พ.ศ. 1917 แต่ไม่แล้วเสร็จ ทรงเสด็จสวรรคตเสียก่อน และได้สร้างเพิ่มเติมจนเสร็จ ในสมัย สมเด็จพระราเมศวร (กษัตริย์องค์ที่ 2) เมื่อครั้งพระองค์ได้กลับมาครองราชสมบัติอีกครั้ง โดยได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระปรางค์ประธาน และอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุมาบรรจุไว้ใต้ฐานพระปรางค์ประธานของวัดมหาธาตุ เมื่อปี พ.ศ. 1927 ซึ่งเป็นจุดที่พระองค์เคยทอดพระเนตรเห็น พระบรมสารีริกธาตุเปล่งแสงสว่างและลอยขึ้นสู่ท้องฟ้า

    ความสำคัญของวัดมหาธาตุนั้น นอกจากจะเป็นที่ประดิษฐานองค์พระบรมสารีริกธาตุแล้ว ยังถือเป็นวัดที่เป็นศูนย์กลางเมืองและเป็นสถานที่จัดพระราชพิธีต่างๆ ของกรุงศรีอยุธยาอีกด้วย โดยมีสมเด็จพระสังฆราช ฝ่ายคามวาสีประทับอยู่ภายในวัด ส่วนพระสังฆราช ฝ่ายอรัญวาสีนั้น ประทับอยู่ที่วัดป่าแก้ว (วัดใหญ่ชัยมงคล) อีกทั้งยังมีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ตามพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา คือได้เคยเป็นสถานที่ๆ พระศรีสิน (สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม) และจมื่นศรีเสาวรักษ์พร้อมคณะ ได้ซุ่มพลที่ปรางค์วัดมหาธาตุ ก่อนยกพลเข้าพระราชวังทางประตูมงคลสุนทร เพื่อจับกุมพระศรีเสาวภาคย์ (กษัตริย์องค์ที่ 20) ต่อมาในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม (กษัตริย์องค์ที่ 21) ยอดพระปรางค์องค์ใหญ่ได้ทลายลงบางส่วน และได้มีการบูรณะอีก 2 ครั้ง ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง (กษัตริย์องค์ที่ 24) เมื่อปี พ.ศ. 2176 และในสมัยสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ เมื่อปี พ.ศ. 2275 - 2301

    เมื่อคราวเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2310 นั้น วัดมหาธาตุได้ถูกเพลิงไหม้เสียหายเป็นอันมาก จนถูกทิ้งร้างตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

    จุดสนใจภายในวัดมหาธาตุ ประกอบด้วย
    พระวิหารหลวง ตั้งอยู่ด้านหน้าของวัด บริเวณใต้ฐานชุกชีภายในพระวิหาร ได้ค้นพบภาชนะดินเผาขนาดเล็ก 5 ใบ ภายในบรรจุแผ่นทองดุนลายรูปพระพุธรูป และรูปสัตว์ต่างๆ

    พระปรางค์ประธาน เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ตั้งอยู่บนฐานสี่เหลี่ยมยกสูง โดยมีระเบียงคดล้อมรอบทั้งสี่ด้าน เป็นปรางค์ในยุคแรกของสมัยอยุธยาซึ่งได้รับอิทธิพลจากศิลปะขอม โดยมีปรางค์บริวารประจำอยู่ทั้งสี่ทิศ เมื่อปี พ.ศ. 2499 กรมศิลปากรได้ขุดแต่งพระปรางค์ ได้พบกรุใต้ห้องเรือนธาตุของพระปรางค์ พบตลับทองรูปปลาภายในบรรจุสิงโตทองคำ ด้านล่างกรุพบ ผอบศิลาบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ภายในมีสถูปซ้อนกัน 6 ชั้น ชั้นในสุดบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ปัจจุบันเก็บรักษาและประดิษฐานอยู่ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา

    พระอุโบสถ ตั้งอยู่ด้านหลังปรางค์ประธาน ผนังก่ออิฐเหลืออยู่บางส่วน ภายในปรากฏเสาแปดเหลี่ยม ด้านหลังเป็นที่ตั้งของฐานชุกชี

    เจดีย์แปดเหลี่ยม เป็นเจดีย์รูปแปดเหลี่ยม ตั้งอยู่บนฐานสี่เหลี่ยมย่อมุมไม้ยี่สิบ ชั้นบนเป็นเจดีย์รูปแปดเหลี่ยม ลดหลั่นกันขึ้นไป 4 ชั้น ทำซุ้มอยู่โดยรอบทั้ง 8 ด้าน ผนังประดับด้วยปูนปั้นรูปเทวดา นับเป็นเจดีย์แปดเหลี่ยมองค์เดียวที่พบในพระนครศรีอยุธยา

    เศียรพระพุทธรูปหินทราย ซึ่งปกคลุมด้วยรากต้นโพธิ์ นับเป็นจุดดึงดูดความสนใจจากนักท่องเที่ยวจุดหนึ่งของวัดมหาธาตุ ตั้งอยู่ข้างวิหารเล็ก

    ตอบลบ