วันอาทิตย์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

23.07.2560 Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ  ข้อมูลและภาพ จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/616/thailand/chiang-mai/wat-chet-yot


Wat Chet Yot (วัดเจ็ดยอด) (built late 15th century onward)

Chet Yot was built during the reign of King Tilokkarat, whose remains are enshrined in one of the smaller chedi. Literally the "Temple of the Seven Spires," Chet Yot is built in imitation of the Mahabodhi Temple in Bodhgaya, India, where the Buddha reached enlightenment. The architecture is fairly eclectic, incorporating elements of Thai, Lao, Indian, and Chinese design. Visitors should take note of the seventy beautiful thewada bas-reliefs around the base of the temple—a masterpiece of Lanna kingdom art.
In 1477, the temple played host to the 8th world Buddhist council, an ecumenical gathering that sought to clarify certain doctrinal issues. Unfortunately, the records of this proceeding have since been lost.
Because of the various means of translating Thai, "Chet Yot" can also be romanized as "Chet Yod," "Jet Yot," or "Jet Yod".
Also, compare this temple to these other 'Bodhgaya-style' temples:

Location

The approximate location of the site is 18.809031' N, 98.971687' E (WGS 84 map datum).


 01.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


02.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 



03.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


04.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


05.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


06.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


07.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


08.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


09.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


10.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


11.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


12.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


13.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


14.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


15.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


16.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


17.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


18.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


19.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


20.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


21.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


22.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


23.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


24.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


25.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


26.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


27.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


28.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 


29.Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. 

Wat Chet Yot, Chiang Mai, Thailand.

Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ  ข้อมูลและภาพ จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/616/thailand/chiang-mai/wat-chet-yot

----------------------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ข้อมูลและภาพ จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Wat_Chet_Yot


Wat Chet Yot


From Wikipedia, the free encyclopedia


The Maha chedi of Wat Chet Yot


Wat Chet Yot (Thaiวัดเจ็ดยอด, official name: Wat Photharam Maha Wihan - Thaiวัดโพธารามมหาวิหาร) is a Buddhist temple (Wat) in Chiang Mai in northern Thailand. It is a centre of pilgrimage for those born in the year of the Snake.

Location[edit]

Wat Chet Yot is located northwest of the city centre of Chiang Mai along the Super Highway Chiang Mai - Lampang (Highway 11), north of the intersection of Huai Kaeo road and Nimmanhemin road.

Construction history[edit]

King Tilokarat commissioned the construction of the temple in 1455 CE after he had sent monks to Bagan in Burma to study the design of the Mahabodhi temple there, itself a copy of the Mahabodhi Temple of Bodh Gaya in northern India, the location where Siddhartha Gautama, the Buddha, attained enlightenment.
According to the Jinakālamālī chronicle, in 1455 CE the king planted a bodhi tree on the spot and in 1476 CE "had established a large sanctuary in this monastery", probably for the celebration ceremony commemorating 2000 years of Buddhism. The following year the 8th Buddhist World Council was held at Wat Chet Yot to renew the Tripitaka (the Pali Canon).

Temple structures[edit]


Stucco figures on the outside of the Maha Chedi
The design of the central sanctuary, the Maha Pho wihan (also called Maha Chedi, Thaiมหาเจดีย์), does indeed somewhat resemble the Mahabodhi temple, clearly having Indian influences. Crowning the flat roof of the rectangular windowless building are seven spires (In Thai: chet yot) which gives the temple its name: a pyramid-like spire with a square base set back from the centre surrounded by four smaller similar spires, and, set atop the two smaller annexes of the main building, two bell-shaped chedis.
The interior of the building contains a barrel vaulted corridor which leads to a Buddha statue at its end. Right and left of the Buddha statue narrow stairs lead up to the roof. In days past a bodhi tree grew on top of the roof but which was removed in 1910 CE to prevent the structure from collapse. Women should not climb up to the roof as only men are allowed to enter this part of the temple.[1]
The exterior façades of the building feature 70, partially strongly weathered, stucco reliefs of Thewada (Devas), divine beings, the faces of whom have allegedly been modelled after relatives of King Tilokarat.

Other buildings[edit]

The extensive temple grounds contain several more chedis (and remains of chedis) in Lanna-style (also called: Prasat-style): all are bell-shaped chedis set on bases, with alcoves on four sides containing Buddha statues. The largest of the chedis contains the ashes of King Tilokarat.
In the northeast corner of the temple compound is a small ubosot featuring an exquisitely carved wooden gable surrounded by double Bai Sema, boundary stones which designate the sacred area of a temple.
A pond and a square mondop are at the southern end of the temple grounds. The mondop features a statue of the Buddha being sheltered by the nāga Mucalinda.
Several Buddha statues showing different mudra (symbolic hand gestures) are found along the western part of the compound with the explanations of the gestures provided in English on information plaques.

Gallery[edit]

References[edit]

  • Michael Freeman: Lanna - Thailand's Northern Kingdom. River Books, Bangkok 2001, ISBN 0-500-97602-3
  • Thaiศิริศกดิ์ คุมรักษา (Sirisak Khumraksa, Publisher): Thaiหนังสือชุด แผนที่ความรู้ เมืองไทย - ศาสนศิลป์ บน แผ่นดินล้านนา (Buddhist Art of Lanna). Plan Readers Publication, Bangkok 2003, ISBN 974-91558-8-2

External links[edit]



---------------------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ข้อมูลและภาพ จาก https://th.wikipedia.org/wiki/วัดโพธารามมหาวิหาร พระอารามหลวง



วัดโพธารามมหาวิหาร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วัดโพธารามมหาวิหาร
Wat 7spires CNX.jpg
พระเจดีย์เจ็ดยอด ทรงยอดสิขร
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อวัดเจ็ดยอด
ที่ตั้งถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลำปาง ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50000
ประเภทพระอารามหลวง
นิกายเถรวาท
    
วัดโพธารามมหาวิหาร พระอารามหลวง เป็นวัดพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ (เดิมชื่อวัดเจดีย์เจ็ดยอด หรือ วัดเจ็ดยอด) ตั้งอยู่ที่ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 1998 พระเจ้าติโลกราช กษัตริย์องค์ที่ 11 แห่งราชวงศ์มังราย ทรงสร้างวัดโพธารามมหาวิหาร สร้างด้วยศิลาแลงประดับลวดลายปูนปั้น เป็นเจดีย์พุทธคยา ประเทศอินเดีย
ในปี พ.ศ. 2020 วัดโพธารามมหาวิหาร เป็นสถานที่สังคายนาพระไตรปิฎกครั้งที่ 8 ของโลก ปัจจุบันเจดีย์เจ็ดยอดหักพังไปเกือบหมด

การประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถาน[แก้]

วัดเจ็ดยอด ได้รับการประกาศเป็นโบราณสถานสำหรับชาติ ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 52 ตอนที่ 0ง วันที่ 8 มีนาคม 2478 พร้อมกับวัดอีกหลายแห่งในจังหวัดเชียงใหม่ [1]

อ้างอิง[แก้]












--------------------------------------------------------------------------

Moonfleet ได้มาเยือนวัดเจ็ดยอด (โพธารามมหาวิหาร) ตำบล ช้างเผือก อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่ 
เมื่อ วันพุธ ที่ 9 เดือนกันยายน พ.ศ.2552 

 01.วัดเจ็ดยอด (โพธารามมหาวิหาร) ตำบล ช้างเผือก อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่.
   WAT JED YOD ( PHOTHARAMMAHAVIHAN)

 02.
 03.

 04.

 05.วัดเจ็ดยอด (โพธารามมหาวิหาร) ตำบล ช้างเผือก อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่.
   WAT JED YOD ( PHOTHARAMMAHAVIHAN)

 06.วัดเจ็ดยอด (โพธารามมหาวิหาร) ตำบล ช้างเผือก อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่.
   WAT JED YOD ( PHOTHARAMMAHAVIHAN)

 07. วิหาร พระเจ้า 700 ปี ศรีเมืองเชียงใหม่ 
วัดเจ็ดยอด (โพธารามมหาวิหาร) ตำบล ช้างเผือก อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่.

***วิหารพระเจ้า 700 ปี
สร้างเมื่อ พ.ศ. 2539 เป็นสถาปัตยกรรมพื้นเมืองล้านนา หน้าบันเป็นไม้แกะสลักติดทองคำเปลว บานประตูหน้าต่างเป็นไม้แกะสลักลวดลายแตกต่างกัน บนราวบันไดขึ้นลงเป็นนาคคู่หนึ่ง ภายในประดิษฐานพระประธานปางมารวิชัย พระพุทธรูปทรงเครื่อง และพระพุทธรูปปางต่างๆ


 08.วิหาร พระเจ้า 700 ปี ศรีเมืองเชียงใหม่ 
วัดเจ็ดยอด (โพธารามมหาวิหาร) ตำบล ช้างเผือก อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่.

 09.วิหาร พระเจ้า 700 ปี ศรีเมืองเชียงใหม่ 
วัดเจ็ดยอด (โพธารามมหาวิหาร) ตำบล ช้างเผือก อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่.

 10.วิหาร พระเจ้า 700 ปี ศรีเมืองเชียงใหม่ 
วัดเจ็ดยอด (โพธารามมหาวิหาร) ตำบล ช้างเผือก อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่.

 11.วิหาร พระเจ้า 700 ปี ศรีเมืองเชียงใหม่ 
วัดเจ็ดยอด (โพธารามมหาวิหาร) ตำบล ช้างเผือก อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่.

 12.วิหาร พระเจ้า 700 ปี ศรีเมืองเชียงใหม่ 
วัดเจ็ดยอด (โพธารามมหาวิหาร) ตำบล ช้างเผือก อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่.

 13.วิหาร พระเจ้า 700 ปี ศรีเมืองเชียงใหม่ 
วัดเจ็ดยอด (โพธารามมหาวิหาร) ตำบล ช้างเผือก อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่.

 14.  พระเจ้า 700 ปี@วิหาร พระเจ้า 700 ปี ศรีเมืองเชียงใหม่ 
วัดเจ็ดยอด (โพธารามมหาวิหาร) ตำบล ช้างเผือก อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่.

 15.พระเจ้า 700 ปี@วิหาร พระเจ้า 700 ปี ศรีเมืองเชียงใหม่ 
วัดเจ็ดยอด (โพธารามมหาวิหาร) ตำบล ช้างเผือก อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่.

 16.พระเจ้า 700 ปี@วิหาร พระเจ้า 700 ปี ศรีเมืองเชียงใหม่ 
วัดเจ็ดยอด (โพธารามมหาวิหาร) ตำบล ช้างเผือก อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่.

 17. ประวัติพระเจ้า 700 ปี@วิหาร พระเจ้า 700 ปี ศรีเมืองเชียงใหม่ 
วัดเจ็ดยอด (โพธารามมหาวิหาร) ตำบล ช้างเผือก อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่.

08.

19.

20.

21.

22. ประตูทางเข้า ด้านทิศตะวันออก

23.ประตูทางเข้า ด้านทิศตะวันออก

24.ประตูทางเข้า ด้านทิศตะวันออก

25.ประตูทางเข้า ด้านทิศตะวันออก

26. ถนน ทางเข้า ด้านทิศตะวันออก

27.ถนน ทางเข้า ด้านทิศตะวันออก

28.ถนน ทางเข้า ด้านทิศตะวันออก

29.รอยพระพุทธบาท  ประตูทางเข้าออกด้านทิศตะวันออก


30.รอยพระพุทธบาท  ประตูทางเข้าออกด้านทิศตะวันออก

31.รอยพระพุทธบาท  ประตูทางเข้าออกด้านทิศตะวันออก


32.อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์

33.อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์

34.อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์

อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์

พญาเมืองแก้ว โปรดให้สร้างอุโบสถขึ้นในปี พ.ศ.2054 โปรดให้อัญเชิญพระพุทธปฏิมากรแก่นจันทร์จากพะเยามาประดิษฐาน อุโบสถหลังปัจจุบันขนาดกว้าง 6 เมตร ยาว 10.55 เมตร ศิลปะล้านนา

สร้างขึ้นบนฐานเดิมของอุโบสถเก่า ซึ่งมีลานประทักษิณขนาดกว้าง 16.20 เมตร ยาว 46.65 เมตร ยกพื้นสูงล้มรอบด้วยกำแพงเตี้ยโดยรอบ มีทางขึ้นอยู่ทางข้างทิศใต้ และ ทางขึ้นหลักที่บันไดด้านหน้างด้านทิศตะวันออก 

ด้านหลังอุโบสถเป็นมณฑปพระแก่นจันทร์สร้างขึ้นภายหลัง ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนาดกว้าง 5.70 เมตร ยาว 6 เมตร ด้านบนเป็นซุ้มคูหาทะลุถึงกันทั้ง่ 4 ด้าน ภายในประดิษฐานพระแก่นจันทร์(องค์จำลอง) 

สันนิฐานว่า อุโบสถหลังใหม่นี้น่าจะสร้างขึ้นเมื่อครั้งพระเจ้ากาวิละมาบูรณะปฏิสังขรณ์ขึ้นในช่วงต้นสมัยรัตนโกสินทร์




35.อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์


36.ใบเสมา @อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์

***สีมา 
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สีมา แปลว่า เขต, แดน, เครื่องหมายบอกเขต ใช้ว่า เสมา ก็มี
สีมา หมายถึงเขตหรือแดนที่กำหนดไว้สำหรับทำสังฆกรรมต่างๆ กำหนดเขตแดนด้วยเครื่องหมายบอกเขตที่เรียกว่า นิมิต ที่เหนือนิมิตนิยมสกัดหินเป็นแผ่นประดิษฐานไว้ในซุ้มที่สร้างครอบนิมิต ถือเป็นสัญลักษณ์แทนนิมิต เรียกแผ่นหินนั้นว่า ใบสีมา หรือ ใบเสมา เรียกซุ้มนั้นว่า ซุ้มสีมา หรือ ซุ้มเสมา
ใบสีมา นิยมทำด้วยแผ่นหินสกัดเป็นแผ่นหนาประมาณ 5-7.5 เซนติเมตร มีรูปทรงเฉพาะ บางแห่งสกัดเป็นลายเส้นรูปธรรมจักรเพิ่มความสวยงาม ประดิษฐานไว้ในซุ้มที่สร้างคร่อมนิมิตทั้ง 8 ทิศของโบสถ์ คล้ายเป็นสัญลักษณ์แทนนิมิต ถ้าเป็นวัดราษฎร์นิยมทำซุ้มละแผ่นเดียว ถ้าเป็นวัดหลวงนิยมทำซุ้มละสองแผ่นเรียกว่า สีมาคู่ นัยว่าเพื่อเป็นข้อสังเกตให้ทราบว่าเป็นวัดราษฎร์หรือวัดหลวง
สีมา ยังหมายถึงอุโบสถได้ด้วย


37.ใบเสมา@อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์


38.ใบเสมา@ อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์


39.ใบเสมา@ อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์


40.อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์

41.มณฑปพระแก่นจันทร์ ประดิษฐานพระพุทธรูป พระแก่นจันทร์ (องค์จำลอง)

42.อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์

42. มณฑปพระแก่นจันทร์ ประดิษฐานพระพุทธรูป พระแก่นจันทร์ (องค์จำลอง)

43.มณฑปพระแก่นจันทร์ ประดิษฐานพระพุทธรูป พระแก่นจันทร์ (องค์จำลอง)

44. มณฑปพระแก่นจันทร์ ประดิษฐานพระพุทธรูป พระแก่นจันทร์ (องค์จำลอง)


45.อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์

46.อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์


47.มณฑปพระแก่นจันทร์

สร้างฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนาดกว้าง 5.70 เมตร ยาว 6 เมตร 
ด้านบนเป็นซุ้มคูหาทะลุถึงกันทั้ง่ 4 ด้าน 
ภายในประดิษฐานพระแก่นจันทร์(องค์จำลอง) 


48.อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์

49.อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์

50. พระเจดีย์ที่บรรจุอัฐิ พระเจ้าติโลกราช พ.ศ.2030
PHRA CHEDI CONTAINING ASHES OF KING TI-LOGARAJA BUILT IN 1487.

51.พระเจดีย์ที่บรรจุอัฐิ พระเจ้าติโลกราช พ.ศ.2030
PHRA CHEDI CONTAINING ASHES OF KING TI-LOGARAJA BUILT IN 1487.

52. ช่องทางเดินไปยัง พระเจดีย์ที่บรรจุอัฐิ พระเจ้าติโลกราช พ.ศ.2030

53. พระสถูปเจดีย์พระเจ้าติโลกราช

เมื่อพระเจ้าติโลกราช สวรรคตในปี พ.ศ. 2030 พระยอดเชียงราย ราชนัดดาได้สืบราชสมบัติแทน และโปรดฯ ให้สร้างจิตกาธาน(เชิงตะกอน) ขึ้นในวัดนี้เพื่อเป็นสถานที่ฌาปนสถานถวายพระเพลิงพระศพของพระอัยกาธิราช แล้วโปรดฯ ให้สร้างพระสถูปใหญ่บรรจุพระอัฐิและพระอังคารธาตุของพระเจ้าติโลกราชไว้ภายในบริเวณวัด

พระสถูปนี้ก่ออิฐถือปูน ทรงมณฑปสี่เหลี่ยมย่อมุม มีซุ้มคูหาเป็นจัตุรมุข หลังคาทรงบัวกลุ่ม ส่วนเครื่องยอดต่อขึ้นไปก่อเป็นพระสถูปทรงระฆังกลม ซุ้มคูหาด้านทิศตะวันออกฝังเข้าไปในตัวมณฑป ประดิษฐานพระพุทธปฏิมากรปูนปั้นปางมารวิชัยหนึ่งองค์


54. พระสถูปเจดีย์พระเจ้าติโลกราช
55.พระสถูปเจดีย์พระเจ้าติโลกราช

56.พระพุทธรูปประดิษฐานที่ พระเจดีย์ที่บรรจุอัฐพระเจ้าติโลกราช ด้านทิศตะวันออก

พระสถูปเจดีย์พระเจ้าติโลกราช
*** ซุ้มคูหาด้านทิศตะวันออกฝังเข้าไปในตัวมณฑป ประดิษฐานพระพุทธปฏิมากรปูนปั้นปางมารวิชัยหนึ่งองค์



57.พระสถูปเจดีย์พระเจ้าติโลกราช

58.พระสถูปเจดีย์พระเจ้าติโลกราช

59.พระสถูปเจดีย์พระเจ้าติโลกราช

60.อุโบสถ และ มณฑปพระแก่นจันทร์

61.พระสถูปเจดีย์พระเจ้าติโลกราช

62. วัดเจ็ดยอด

ประวัติวัดเจ็ดยอด โดยสังเขป

วัดเจ็ดยอด

วัดเจ็ดยอด หรือ วัดโพธารามมหาวิหาร ตั้งอยู่นอกเมืองเชียงใหม่ ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ริมน้ำแม่ขาน นับเป็นปูชนียสถานที่สำคัญมากแห่งหนึ่งของประเทศไทย พญาติโลกราช กษัตริย์ลำดับที่ 12 (พ.ศ.1985-2030) ของแคว้นล้านนา ทรงโปรดให้สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่จำพรรษาของ พระอุตตมะปัญญามหาเถระ เจ้าอาวาส เมื่อปี พ.ศ. 1998 พร้อมกับปลูกต้นศรีมหาโพธิ์ให้เหมือนเมื่อครั้งพระพุทธเจ้าทรงผจญมาร อีกทั้งจำลองสัตตมหาสถาน คือ สถานที่สำคัญ 7 แห่ง ที่พระพุทธเจ้าทรงประทับเสวยวิมุติสุข แห่งละ 7 วัน ก่อนการเผยแผ่ศาสนา ได้แก่ โพธิบัลลังก์ (เจดีย์เจ็ดยอดในปัจจุบัน ซึ่งถ่ายแบบศิลปะกรรมจากเจดีย์มหาโพธิวิหารพุทธคยาในประเทศอินเดีย ผนังวิหารด้านนอกประดับปูนปั้นเทพชุมนุม) อนิมิสเจดีย์ รัตนจงกรม รัตนฆรเจดีย์ ราชายตนเจดีย์ อชปาลนิโครธ และ มณฑปสระมุจจลินท์ แล้วทำการสังคยนาพระไตรปิฏกขึ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย และ เป็นครั้งที่ 8 ของโลก เมื่อ พ.ศ.2020 ใช้เวลาประชุมสังคายนานาน 1 ปี โดยมีพระธรรมทินมหาเถระ สำนักวัดป่าตาลเป็นประธานฝ่ายสงฆ์ และ พญาติโลกราชเป็นประธานฝ่ายฆารวาส พระราชทานนามว่า "โพธารามมหาวิหาร" เพราะมีต้นศรีมหาโพธิและวิหารใหญ่ แต่เนื่องจากวิหารมียอดเจดีย์อยู่ 7องค์ คนทั่วไปจึงนิยมเรียกว่า "วัดเจ็ดยอด"


เมื่อพญาติโลกราชสวรรคต ในปี พ.ศ. 2030 พญายอดเชียงราย ราชนัดดาของพระองค์ทรงโปรดให้สร้างจิตกาธาน (เชิงตะกอน) เพื่อเป็นที่ถวายพระเพลิงพระศพ พร้อมกันนั้น ได้ทรงสร้างเจดีย์องค์ใหญ่บรรจุอัฐและอังคารธาตุไว้ด้วย 

ต่อมาในสมัยพญาเมืองแก้ว (พ.ศ.2083-2068) ทรงบูรณะ ปฏิสังขรณ์ และ ทรงโปรดให้สร้างอุโบสถ ศาสนถานต่างๆ เหล่านี้ล้อมรอบด้วยกำแพงที่มีซุ้มประตูโขง หรือ ประตูทางเข้าหลักของวัด อยู่ทางด้านทิศตะวันออก 

วัดเจ็ดยอดได้สร้างไประยะหนึ่ง กระทั่งต้นสมัยรัตนโกสินทร์ พระเจ้ากาวิละ เจ้าเมืองเชียงใหม่ (พ.ศ.2339) ได้มาฟื้นฟูบ้านเมือง และ ปฏิสังขรณ์อารามต่างๆทั่วเมืองเชียงใหม่ รวมทั้งวัดเจ็ดยอดแห่งนี้ด้วย

วัดเจ็ดยอดจึงดำรงความสำคัญในฐานะเป็นแหล่งรวมศิลปกรรมชั้นเยี่ยมที่มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาคู่เมืองเชียงใหม่สืบมาจนถึงปัจจุบัน

กรมศิลปากรดำเนินการบูรณะและอนุรักษ์ ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2508 ครั้งที่สอง พ.ศ.2517 - 2527 และ ครั้งที่สาม พ.ศ.2545 - 2547


63 แผนผัง วัดเจ็ดยอด.



64. พระวิหาร วัดเจ็ดยอด (กำลังอยู่ในช่วงการบูรณะปฏิสังขรณ์)


65.พระวิหาร วัดเจ็ดยอด (กำลังอยู่ในช่วงการบูรณะปฏิสังขรณ์)

66.

67.

68.

69.

70.

71.

72.

73.

74.

75.

76.

77.

78.

79.

80.

81.

82.

83.

84.

85.

86.

87.

88.

89.

90.

91.อนิมิสเจดีย์ : ANIMISA CHEDI

***อนิมิตเจดีย์ คือสถานที่ที่พระพุทธเจ้าเสด็จยืนทอดพระเนตรโพธิบัลลังก์ ซึ่งพระองค์ได้ประทับและตรัสรู้ ณ ที่นั้นเป็นเวลา 7 วัน 

ตั้งอยู่ทางทิศเหนือ ห่างจากเจดีย์เจ็ดยอดเล็กน้อย รูปทรงเป็นมณฑปแปดเหลี่ยม ก่ออิฐถือปูน ผนังภายนอกทำเป็นซุ้มคูหาตื้นๆ ส่วนบนน่าจะเป็นเจดีย์แต่ปรักหักพังจนไม่ทราบรูปทรงเดิม สิ่งที่น่าสนใจคือ ลวดลายปูนปั้นตกแต่งรอบเสาและหางซุ้มคูหารอบมณฑปมีความสวยงามมาก


92. อนิมิสเจดีย์ : ANIMISA CHEDI

93.อนิมิสเจดีย์ : ANIMISA CHEDI

94.อนิมิสเจดีย์ : ANIMISA CHEDI

95.

96.

97.

98.

99.

100.

101.

102.

103.

104.

105.

106.

107.

108.

109.

110.

111.

112.

113.

114.

115.

116.

117.

118.

119.

120.

121.

122.

123.

124.

125.

126.

127.

128.

129.

130.

131.

132.

133.

134.

135.

136.

137.

138.

139.

140.

141.

142.

143.

144.

145.

146.

147.

148.

149.


150.

151.


Moonfleet ได้มาเยือนวัดเจ็ดยอด (โพธารามมหาวิหาร) ตำบล ช้างเผือก อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่ 
เมื่อ วันพุธ ที่ 9 เดือนกันยายน พ.ศ.2552 


------------------------------------------------------------


สื่อวัดเจ็ดยอดสำหรับชาวต่างชาติ

 01.

 02.

 03.

 04.

 05.

 06.

 07.

 08.

 09.

 10.

 11.

 12.

 13.

 14.

 15.

 16.

 17.

 18.

 19.

 20.

 21.

22.

23.

24.

---------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ภาพ วัดเจ็ดยอด จาก fb: จากหลายๆท่าน ครับ.

 01.

 02.

 03.

 04.

 05.

 06.

 07.

 08.

 09.

 10.

 11.

 12.

 13.

 14.

 15.

 16.

 17.

 18.

 19.

 20.

 21.

 22.

23.

--------------------------------------------------------------

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น