วันอาทิตย์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

16.07.2560 Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. 
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. 
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/606/thailand/ayutthaya/wat-phra-si-sanphet


Wat Phra Si Sanphet (วัดพระศรีสรรเพชญ์) (built 15th century onward)

The form of Wat Phra Si Sanphet, the "Temple of the Buddha Si Sanphet", is a unique compound that cannot be understood apart from its history. In the following paragraphs, diagrams of the central portion of the temple show the state of construction in each phase. (Diagrams by Timothy M. Ciccone).
According to tradition, the temple was founded on the site of three earlier prasats built in the mid 14th century by King U-Thong, the sovereign who made Ayutthaya his capital. In 1448 the prasats were converted into phutthawat, transforming them into sacred territory. From then onward, the temple was used exclusively by the Ayutthayan kings (i.e., no monks resided in the temple). The temple's tangible history began around 1491, when King Rama Thibodi II built two chedi (the black circles on the site plan) for close family members. The east chedi was for the ashes of his father, King Borommatrailokanat (r. 1448-1488). The chedi to the west was for his older brother, King Borommaracha Thirat III (r. 1488-1491).
Seven years later King Rama Thibodi II added a viharn (assembly hall--shown in black) to house a standing image of the Buddha called 'Phra Si Sanphet'. After the Buddha was unveiled, the fame of the temple spread and the entire temple was given the name of the Buddha statue.
  
The final chedi was constructed during the reign of King Borommaracha Thirat IV (r. 1529-1533) to house a relic of King Rama Thibodi II.

During the reign of King Narai, the cross-shaped viharn at the west side of the temple was added. In recognition of its benefactor, it is known as the Prasat Phra Narai. It is not clear if the square mondop structures adjacent to the chedi were built around this time or later.
  The temple reached the peak of its glory by 1767.On the eve of the Burmese invasion, the central portion of the temple included three gilded chedis, three gilded mondop (square buildings adjacent to the chedis that held objects of worship), and two enormous viharn. All but the chedi were completely destroyed in the sack of 1767.
  
The present form of the temple includes all of the buildings that survived the sack of 1767. In the early twentieth century only the easternmost chedi was still standing. The rest were restored, but the two viharns have not been rebuilt. Their remains are visible even now. The famed Phra Si Sanphet Buddha statue that was once in the east viharn was melted down in the 1767 sack, with only its bronze core remaining. Of the mondops, little remains but portions of the base.
Detailed Plan View
Drawn by Timothy M Ciccone following Clarence Aasen, Fine Arts Department, and notes/photographs taken on site.

Location


The approximate location of the site is 14.355951' N, 100.558739' E (WGS 84 map datum).

01.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

02.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


03.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


04.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


05.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


06.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


07.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


08.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


09.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


10.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


11.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


12.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


13.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


14.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


15.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


16.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


17.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


18.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


19.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


20.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


21.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


22.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


23.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


24.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


25.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


26.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


27.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


28.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


29.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


30.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


31.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


32.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


33.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


34.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


35.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


36.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


37.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


38.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


39.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


40.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


41.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


42.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


43.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


44.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


45.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


46.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


47.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


48.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


49.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


50.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


51.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


52.Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.



วัดพระศรีสรรเพชญ์ ถนนศรีสรรเพชญ์ ตำบล ประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand. 

Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/606/thailand/ayutthaya/wat-phra-si-sanphet

.....................................................

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Wat_Phra_Si_Sanphet

Wat Phra Si Sanphet


From Wikipedia, the free encyclopedia

Wat Phra Si Sanphet
Wat Phra Si Sanphet (Thaiวัดพระศรีสรรเพชญ์; "Temple of the Holy, Splendid Omniscient") was the holiest temple on the site of the old Royal Palace in Thailand's ancient capital of Ayutthaya until the city was completely destroyed by the Burmese in 1767.[1] It was the grandest[peacock term] and most beautiful temple in the capital and it served as a model for Wat Phra Kaeo in Bangkok.

History[edit]


The three Chedis of Wat Phra Si Sanphet
In 1350 U-thong, also known as King Ramathibodi I, ordered the construction of a royal palace in the same area that Wat Pra Si Sanphet stands today.[1] The palace was completed in 1351 and King Ramathibodi established Ayutthaya as the capital of his Kingdom. The palace contained three wooden buildings named "Phaithun Maha Prasat", "Phaichayon Maha Prasat", and "Aisawan Maha Prasat". Upon finalization of the palace in 1351, he established Ayutthaya as his capital and was bestowed the title of King Ramathibodi I. In 1448 King Borommatrailokanat built a new palace to the north and converted the old palace grounds to be a holy site. His son, King Ramathibodi II had two Stupa, which in Thailand are known as Chedis, built in 1492 where the ashes of his father, King Borom Trailokanath, and his brother, King Borommaracha III were buried.[2]
In 1499 a viharn, or hall of worship, called “Vihara Luang” (Royal Chapel) was built on the palace grounds.[1] King Ramathibodi II gave orders for a gigantic image of Buddha to be cast, and installed in Wat Si Sanphet.[1] This image of Buddha was 16 meters high, covered in gold,[1] and the pedestal was 8 meters in length.[3] The core of the statue was made of bronze and weighed approximately 64 tons.[3] The surface was covered with approximately 343 kilograms of gold.[3] The statue took more than three years to complete.[3] This statue, called “Phra Si Sanphetdayan”, was the main object of veneration within the royal chapel.[3]
Another Chedi was built under King Borommaracha IV in 1592.
In the 1740s under King Borommakot, the temple was renovated. The city of Autthaya including the temple compounds were completely destroyed in the Burmese invasion in 1767, with the exception of the three Chedis that can be seen today.

Use[edit]

The Wat Phra Si Sanphet was the temple of the royal family; no monks lived there.[2] The Wat was used exclusively for royal ceremonies.
In 1767, the Burmese conquered the capital of Ayutthaya and began the extensive destruction and looting of numerous temples and other buildings, including the Wat Phra Si Sanphet. They set the building on fire and melted the gold. The three Chedis were destroyed in the process, but restoration work began in 1956.

Attractions[edit]

In its final stage before its destruction of the temple was an impressive structure. Additional facilities were located on a raised platform, the three Chedis, which are today the only buildings which have been restored. From all other the foundations are still preserved.
The chedi is built in the classic, Ceylonese design that is reminiscent of a bell. In every direction small chapels are recognized, lead to which steep stairs. The roofs of the chapels are in turn topped with a miniature Chedi. Each of the three chedi is on the eastern side assigned a Mondop where possibly footprints Buddhas were.
The terrace of the Chedi with Mondop were surrounded by a cloister (Phra Rabieng), in each case a hall was built in the west and in the east, an arrangement as can be seen in many temples in the country today. The building in the West actually consisted of four individual viharn, which were arranged in a cross shape to a Mondop around. The building to the east was the viharn Luang, the biggest building of the temple. In it stood the statue of Phra Si Sanphet Phuttha, which gave the name to the temple.
Symmetrically around the viharn Luang were grouped four other halls. North was a viharn which was a bit smaller than the viharn Luang, yet large enough to accommodate the more than 10 m high statue of Phra Phuttha Lokanat. East front was the Phra Chom Thong Tinang Throne Hall.
Symmetrically, stood south of the viharn of Luang viharn Pa Le Lei, in which probably was a seated Buddha statue. East front of the Phra Ubosot was.
To the entire complex there drew a high perimeter wall, four gate passages in the four directions offered access to the temple. Inside along the wall were alternately small Chedis and low pavilions (Sala). Of these small chedi are still some survived.

References[edit]

  1. Jump up to:a b c d e "Wat Phra Sri Sanphet (วัดพระศรีสรรเพชญ์)"Bangkok Site. Retrieved 19 June 2015.
  2. Jump up to:a b "Wat Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Thailand"Oriental Architecture. Retrieved 19 June 2015.
  3. Jump up to:a b c d e "WAT PHRA SRI SANPHET"History of Ayutthaya. Retrieved 19 June 2015.

External links[edit]

 Geographic data related to Wat Phra Si Sanphet at OpenStreetMap

---------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://th.wikipedia.org/wiki/วัดพระศรีสรรเพชญ์

วัดพระศรีสรรเพชญ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วัดพระศรีสรรเพชญ์
Wat phra sri sanpetch (Temple), Ayutthaya, Thailand.jpg
พระเจดีย์ใหญ่ 3 องค์ ภายในวัดพระศรีสรรเพชญ์
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อวัดพระศรีสรรเพชญ์
ที่ตั้งทางทิศเหนือของวิหารพระมงคลบพิตร
โบราณสถาน
เวลาทำการเปิดทุกวัน เวลา 08.30-16.30
จุดสนใจพระเจดีย์ใหญ่ 3 องค์
    
Templo Phra Si Sanphet, Ayutthaya, Tailandia, 2013-08-23, DD 09.jpg
วัดพระศรีสรรเพชญ์ หรือ วัดพระศรีสรรเพชญ เป็นวัดหลวงในพระราชวังโบราณ อยุธยา ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษา ซึ่งเป็นต้นแบบของ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพมหานคร

ประวัติ[แก้]

วัดพระศรีสรรเพชญ์ เดิมในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ใช้เป็นที่ประทับ ต่อมาสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงสร้างพระราชมณเฑียรขึ้นใหม่ทางตอนเหนือ แล้วจึงโปรดฯให้ยกเป็นเขตพุทธาวาส เพื่อประกอบพิธีสำคัญต่าง ๆ ของบ้านเมือง จึงเป็นวัดในเขตพระราชวังที่ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษา แตกต่างกับวัดมหาธาตุสุโขทัย ที่มีพระสงฆ์จำพรรษา ทั้งวัดมหาธาตุ สุโขทัย,วัดพระศรีสรรเพชญ์ อยุธยา และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ต่างก็ถูกสถาปนาขึ้นในมูลเหตุการสร้างวัดเดียวกันนั่นคือ "สร้างเพื่อเป็นวัดประจำพระราชวัง"
ต่อมาในปี พ.ศ. 2035 รัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระสถูปเจดีย์องค์ตะวันออก เพื่อบรรจุพระอัฐิของพระราชบิดา สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และพระสถูปเจดีย์องค์กลางเพื่อบรรจุพระอัฐิของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 ผู้เป็นพระเชษฐา
หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2042 พระองค์โปรดให้สร้างพระวิหารหลวงขึ้น
ในปีต่อมา พ.ศ. 2043 สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ทรงสร้างพระวิหาร ทรงหล่อพระพุทธรูป ยืนสูง 8 วา (ประมาณ 16 เมตร) หุ้มด้วยทองคำหนัก 286 ชั่ง (ประมาณ 171 กิโลกรัม) ประดิษฐานไว้ในวิหาร ถวายพระนามว่า พระศรีสรรเพชญดาญาณ ต่อมาในรัชสมัยรัชกาลที่ 1โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายมาประดิษฐานวัดพระเชตุพน และ บรรจุชิ้นส่วนซึ่งบูรณะไม่ได้เหล่านั้นไว้ในเจดีย์องค์ใหญ่ที่สร้างขึ้นแล้วพระราชทานชื่อเจดีย์ว่า เจดีย์ศรีสรรเพชญดาญาณ เจดีย์องค์ที่ 3 ถัดมาจากด้านทิศตะวันตกเป็น เจดีย์บรรจุพระอัฐิ ของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ซึ่งสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4(พระหน่อพุทธางกูร) พระราชโอรสได้โปรดให้สร้างขึ้น เจดีย์ทั้งสามองค์นี้เป็นเจดีย์แบบลังกา
ในรัชสมัยพระเจ้าทรงธรรมพระองค์โปรดเกล้าฯให้สร้าง พระที่นั่งจอมทอง ตั้งอยู่ใกล้ๆ กำแพงทางด้านติดกับ วิหารพระมงคลบพิตร เพื่อให้เป็นสถานที่ให้พระสงฆ์บอกเล่าหนังสือพระสงฆ์
ราวรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ มีการบูรณะปฏิสังขรณ์วัดหลวงแห่งนี้เป็นครั้งแรก ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระยาโบราณราชธานินทร์ สมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่าได้ดำเนิน การขุดสมบัติจากกรุภายในเจดีย์ พบพระพุทธรูป เครื่องทอง มากมาย และในสมัย จอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้มีการบูรณะวัดนี้จนมีสภาพที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน

ระเบียงภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  • วิไลรัตน์. 2546. กรุงศรีอยุธยา. อมรินทร์พริ้นติ้ง

.......................................................................................

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จากhttps://watboran.wordpress.com/category/วัดพระศรีสรรเพชญ์

วัดพระศรีสรรเพชญ ตั้งอยู่ในเขตพระราชวังโบราณ เป็นวัดพุทธาวาสที่ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษา
เพื่อประกอบพิธีสำคัญต่าง ๆ ของบ้านเมือง และเก็บอัฐิของพระมหากษัตริย์
เปรียบได้กับวัดพระศรีรัตนศาสดารามในพระบรมมหาราชวังในกรุงเทพมหานคร
ปัจจุบันเหลือเพียงซากอิฐปูนและเจดีย์สามองค์ที่ตั้งตะหง่านเป็นจุดเด่น แต่ยังคงเป็นจุดที่
ดึงความสนใจของนักท่องเที่ยวให้เข้ามาเยี่ยมชมอยู่เสมอ และเมื่อได้ลองจินตนาการดู
ก็จะรู้สึกถึงความยิ่งใหญ่และความงดงามของกรุงศรีอยุธยาในสมัยที่ยังเป็นราชธานี

เจดีย์ทรงกลมเรียงกัน 3 องค์ คือสัญลักษณ์ของวัดพระศรีสรรเพชญ
ประวัติ
วัดพระศรีสรรเพชญ์ เดิมในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ใช้เป็นที่ประทับ
ต่อมาสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงสร้างพระราชมณเฑียรขึ้นใหม่ทางตอนเหนือ
แล้วจึงโปรดฯให้ยกเป็นเขตพุทธาวาส เพื่อประกอบพิธีสำคัญต่าง ๆ ของบ้านเมือง
จึงเป็นวัดในเขตพระราชวังที่ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษา แตกต่างกับวัดมหาธาตุสุโขทัย
ที่มีพระสงฆ์จำพรรษา ทั้งวัดมหาธาตุ สุโขทัย,วัดพระศรีสรรเพชญ์ อยุธยา
และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ต่างก็ถูกสถาปนาขึ้นในมูลเหตุการสร้างวัดเดียวกันนั่นคือ
“สร้างเพื่อเป็นวัดประจำพระราชวัง”
ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๐๓๕ รัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ พระองค์ทรงโปรดเกล้าฯ
ให้สร้างพระสถูปเจดีย์องค์ตะวันออก เพื่อบรรจุพระอัฐิของพระราชบิดา สมเด็จพระบรม
ไตรโลกนาถ
หลังจากนั้นในปี พ.ศ. ๒๐๔๒ พระองค์ก็ทรงให้สร้างพระเจดีย์องค์ต่อมา ซึ่งเป็นพระเจดีย์
องค์กลาง เพื่อบรรจุพระอัฐิของสมเด็จพระบรมราชาที่ 3 พระบรมเชษฐาธิราช
ในปีต่อมา พ.ศ. ๒๐๔๓ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ ทรงสร้างพระวิหาร ทรงหล่อพระพุทธรูป
ยืนสูง ๘ วา (ประมาณ 16 เมตร)หุ้มด้วยทองคำหนัก ๒๘๖ ชั่ง (ประมาณ ๑๗๑ กิโลกรัม)
ประดิษฐานไว้ในวิหาร ถวายพระนามว่า พระศรีสรรเพชญดาญาณ
เจดีย์องค์ที่ ๓ ถัดมาจากด้านทิศตะวันตกเป็น เจดีย์บรรจุพระอัฐิ ของสมเด็จพระบรม
ราชาธิราชที่ ๒ ซึ่งสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๔(พระหน่อพุทธางกูร) พระราชโอรสได้โปรด
ให้สร้างขึ้น เจดีย์ทั้งสามองค์นี้เป็นเจดีย์แบบลังกา
ในรัชสมัยพระเจ้าทรงธรรมพระองค์โปรดเกล้าฯให้สร้าง พระที่นั่งจอมทอง ตั้งอยู่ใกล้ๆ
กำแพงทางด้านติดกับ วิหารพระมงคลบพิตร เพื่อให้เป็นสถานที่ให้พระสงฆ์บอกเล่าหนังสือ
พระสงฆ์
ราวรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ มีการบูรณะปฏิสังขรณ์วัดหลวงแห่งนี้เป็นครั้งแรก
ภายหลังเมื่อเสียกรุง พ.ศ. ๒๓๑๐ พม่าได้เผาลอกทองคำไปหมด และองค์พระพังยับเยิน
ในสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จึงโปรดเกล้าฯ ให้
ย้ายมาประดิษฐานวัดพระเชตุพน และ บรรจุชิ้นส่วนซึ่งบูรณะไม่ได้เหล่านั้นไว้ในเจดีย์องค์ใหญ่
ที่สร้างขึ้นแล้วพระราชทานชื่อเจดีย์ว่า เจดีย์สรรเพชญดาญาณ ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ ณ วิหารทิศ
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระยาโบราณราชธานินทร์ สมุหเทศาภิบาล
มณฑลกรุงเก่าได้ดำเนิน การขุดสมบัติจากกรุภายในเจดีย์ พบพระพุทธรูป เครื่องทองคำมากมาย
และในสมัย จอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้มีการบูรณะวัดนี้จนมีสภาพที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน

-เจดีย์วัดพระศรีสรรเพชญ์ยามค่ำ-
การเดินทาง
หากเดินทางมาจากรุงเทพโดยใช้ถนนสายเอเชีย(ทางหลวงหมายเลข 32)เลี้ยวซ้าย
ตรงสี่แยกเข้าอยุธยา ตรงเข้ามาผ่านสะพานนเศวร ไปตาม ถ.โรจนะจนสุดถนน
เลี้ยวขวาตรงศาลากลางเก่าไปจนถึงวงเวียน บริเวณที่ทำการตำรวจท่องเที่ยว
เลี้ยวซ้ายไปประมาณ 500 ม.จะมีทางแยกเลี้ยวขวาซึ่งจะเป็นด้านหลังวิหาร
พระมงคลบพิตร วัดพระศรีสรรเพชญจะอยู่ถัดออกไป
เปิดให้เข้าชมทุกวันตั้งแต่เวลา 08.30–16.30 น.
ค่าเข้าชม ชาวไทย 10 บาท ชาวต่างประเทศ 30 บาท
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่สำนักงานโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่ 3
โทร (035)242501,(035)242448
หมายเหตุ ตั้งแต่เวลาประมาณ 19.30น.-21.00น. จะมีการส่องไฟชมโบราณสถาน
--------------------------------------
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://thai.tourismthailand.org/วัดพระศรีสรรเพชญ์


วัดพระศรีสรรเพชญ์
วัดพระศรีสรรเพชญ์

วัดพระศรีสรรเพชญ์
 ทุกวัน
 08.00 - 18.00
ข้อมูลการติดต่อ
ที่อยู่ ตั้งอยู่ที่ ถนนศรีสรรเพชญ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เบอร์โทร +66 3524 2284, +66 3524 2286







สถานที่ท่องเที่ยว
บรรดาวัดนับร้อยนับพันทั่วอยุธยา วัดที่มีความสำคัญที่สุดวัดหนึ่งในยุคโบราณคือวัดพระศรีสรรเพชญ์แห่งนี้ เพราะมีวัตถุประสงค์ในการก่อสร้างให้เป็นวัดส่วนพระองค์ของพระมหากษัตริย์ ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานโดยไม่มีพระสงฆ์จำวัด ใช้ประกอบพระราชพิธีสำคัญมากมาย รวมถึงพระราชพิธีถือน้ำพิพัฒน์สัตยาปีละ 2 ครั้ง เป็นที่เก็บพระบรมอัฐิของพระมหากษัตริย์อยุธยาเกือบทุกพระองค์ จึงกล่าวได้ว่าสำคัญเทียบเท่าวัดพระศรีรัตนศาสดารามแห่งกรุงเทพมหานครหรือวัดมหาธาตุแห่งกรุงสุโขทัยเลยทีเดียว
เดิมที่ตั้งของวัดเป็นพระราชมณเฑียรที่ประทับของพระมหากษัตริย์ซึ่งสร้างขึ้นสมัยพระเจ้าอู่ทอง แต่ต่อมาในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงย้ายพระราชวังขึ้นไปทางทิศเหนือต่อจากเขตวัดจรดแม่น้ำลพบุรี และยกที่ดินเดิมผืนนี้เป็นเขตพุทธาวาส และสร้างวัดพระศรีสรรเพชญ์ขึ้นเมื่อ พ.ศ.1991
ใจกลางวัดเป็นที่ตั้งของพระเจดีย์ใหญ่ศิลปะลังกา 3 องค์ มีมณฑป 3 หลังคั่นกลางสร้างในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง พระเจดีย์สององค์แรกทางทิศตะวันออกสร้างเมื่อ พ.ศ.2035 ในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 เพื่อบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถพระราชบิดา และองค์ที่สองคือองค์กลางเพื่อบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 พระบรมเชษฐา ส่วนเจดีย์องค์ที่ 3 ทางทิศตะวันตก สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 (สมเด็จพระหน่อพุทธางกูร) พระราชโอรสได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 วิหารปลายทิศตะวันออกของพระเจดีย์องค์ที่ 1 นี้เรียกว่าพระวิหารหลวงหรือพระวิหารหลวงหรือวิหารพระศรีสรรเพชญ์นี้ เคยมีพระพุทธรูปหุ้มทองคำหนัก 286 ชั่ง หรือ 171 กิโลกรัม เท่ากับ 12,880 บาท ประทับยืนสูงถึง 8 วาหรือ 16 เมตร พระนามว่า พระศรีสรรเพชญดาญาณ ถือกันว่าเป็นพระพุทธรูปที่สำคัญที่สุดในสมัยอยุธยา ซึ่งสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.2043 แต่เมื่อครั้งเสียกรุง พ.ศ.2310 พม่าได้เผาลอกทองไปหมดสิ้น จนเหลือแต่แกนในพระซึ่งทำด้วยสำริด ครั้นถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงอัญเชิญแกนในพระศรีสรรเพชญ์นี้ลงไปที่กรุงเทพมหานครและสร้างพระเจดีย์หุ้มแกนพระไว้ที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามหรือวัดโพธิ์ แล้วถวายพระนามว่า เจดีย์พระศรีสรรเพชญ์ดาญาณตามองค์พระประธานที่ประดิษฐานอยู่ภายใน 
ตัวพระวิหารหลวงที่อยุธยานั้นมีวิหารพระโลกนาถขนาบด้านทิศเหนือทิศใต้คือ วิหารพระป่าเลไลยก์ ทิศเหนือคือพระวิหาร ส่วนพระอุโบสถอยู่ทางทิศใต้ เป็นการจัดวางพระเจดีย์ล้อมกรอบเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสลับกับวิหารแกลบ นับเป็นรูปแบบการจัดวางสิ่งก่อสร้างที่ชาญฉลาดและงดงามของช่างยุคโบราณ

รู้ก่อนเที่ยว

ค่าเข้าชม ชาวไทย 10 บาท ชาวต่างชาติ 50 บาท หรือซื้อบัตรรวม ชาวไทย 40 บาท ชาวต่างชาติ 220 บาท เข้าชมวัดบริเวณอุทยานประวัติศาสตร์ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาได้ภายในระยะเวลา 30 วัน เปิดให้เข้าชมทุกวันเวลา 08.00–18.00 น. และเวลา 19.30-21.00 น. จะมีการส่องไฟชมโบราณสถาน สอบถามรายละเอียดที่สำนักงานอุทยานประวัติศาสตร์ พระนครศรีอยุธยา โทร.0 3524 2284, 0 3524 2286

เช่าเครื่องโสตทัศนาจรเพื่อรับฟังข้อมูลการบรรยายวัดพระศรีสรรเพชญ์ วัดไชยวัฒนารามและวัดมหาธาตุ เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ได้ที่จุดบริการใกล้ป้อมจำหน่ายบัตรของอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ค่าบริการเครื่องละ 150 บาท สำหรับชม 3 วัดดังกล่าว (ราคานี้ไม่รวมค่าบัตรเข้าชมโบราณสถาน)

โทร.0 3524 2501

แผนที่เดินทางวัดพระศรีสรรเพชญ์
http://www.tourismthailand.org/fileadmin/upload_img/Multimedia/Ebrochure/459/วัดพระศรีสรรเพชญ์.pdf

-----------------------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล เกี่ยวกับ วัดพระศรีสรรเพชญ์
จาก https://www.matichon.co.th/news/505645



1.ซากวิหารหลวงวัดพระศรีสรรเพชญ์ อยุธยา ที่ประดิษฐานพระศรีสรรเพชญ์ ด้านหลังเป็นพระมหาเจดีย์ 3 องค์


 2.ผลงานที่กลั่นกรองมาจากผลการศึกษาอย่างลุ่มลึก วางจำหน่ายแล้ว ราคา 240 บาท

 3.เศียรพระพุทธรูปใหญ่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนครซึ่ง ผศ.ดร.รุ่งโรจน์ ภิรมย์อนุกูลเสนอว่าเป็นเศียรพระศรีสรรเพชญ์ พระพุทธรูปสำคัญครั้งกรุงเก่า

 4.รัชกาลที่ 5 ประทับบนเสลี่ยงคานหามทอดพระเนตรโบราณสถานในวัดพระศรีสรรเพชญ์ อย่างไรก็ตามมีผู้ตั้งคำถามว่า ถ้าแนวคิดของ ผศ.ดร.รุ่งโรจน์เป็นจริง เหตุใดสมัยดังกล่าวรวมถึงยุครัชกาลที่ 6 ไม่มีการกล่าวถึงเศียรพระศรีสรรเพชญ์เลย ไม่ว่าจะเป็นสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ซึ่งมีความรู้ในด้านประวัติศาสตร์โบราณคดี รวมถึงพระยาโบราณราชธานินทร์ ผู้ก่อตั้งอยุธยาพิพิธภัณฑสถาน หรือพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติจันทรเกษมในเวลาต่อมา อันเป็นสถานที่เก็บรักษาเศียรพระพุทธรูปดังกล่าว ก่อนที่จะย้ายมายัง พช.พระนคร (ที่มาภาพ :พระพุทธเจ้าหลวงกับชาวกรุงเก่า)

5.ภาพถ่ายมุมสูง วัดพระศรีสรรเพชญ์ โดย วิลเลียม ฮันท์ (ที่มา : Elizabeth Moore, Phillip Stott and Suriyavudh Sukhavasti, Ancient of Thailand (Bangkok : Asiabooks,1996)

------------------------------------------------------

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล เกี่ยวกับ วัดพระศรีสรรเพชญ์ 
จาก https://travel.kapook.com/view154248.html



00.

14 สิ่งน่ารู้ของวัดพระศรีสรรเพชญ์ อยุธยา ไปเที่ยวกี่ครั้งก็ประทับใจ

 01.

วัดพระศรีสรรเพชญ์จะไปเที่ยววัดพระศรีสรรเพชญ์ ที่เที่ยวอยุธยาควรเตรียมตัวอย่างไร มีข้อมูลอะไรน่าสนใจบ้าง เดินทางไปเที่ยวโดยไม่มีรถส่วนตัวได้ไหม เรามีคำตอบ

          วัดพระศรีสรรเพชญ์ วัดที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในประวัติศาสตร์ช่วงสมัยอยุธยา ปัจจุบันได้กลายเป็นที่เที่ยวอยุธยาที่ห้ามพลาด ไม่ว่าจะนักท่องเที่ยวชาวไทยหรือชาวต่างชาติ หากได้มาเที่ยวอยุธยาจะต้องไปเที่ยวชมวัดแห่งนี้กันสักครั้ง เพราะอะไรวัดพระศรีสรรเพชญ์จึงเป็นวัดที่สำคัญของประวัติศาสตร์ไทย มีอะไรที่น่าสนใจรออยู่ที่วัดแห่งนี้บ้าง เดินทางไปเที่ยวได้อย่างไร ฯลฯ ตามเราไปเก็บข้อมูลเหล่านี้กันได้เลย 
         
1. วัดพระศรีสรรเพชญ์ ตั้งอยู่บนถนนศรีสรรเพชญ์ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทางทิศเหนือของวิหารพระมงคลบพิตรในเขตอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา
          
2. วัดพระศรีสรรเพชญ์ มีฐานะเป็นวัดประจำพระราชวังเช่นเดียวกันกับวัดมหาธาตุ จังหวัดสุโขทัย และวัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพฯ 
          
3. เดิมทีบริเวณวัดพระศรีสรรเพชญ์เป็นที่ประทับของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 แต่ต่อมาสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถได้ย้ายพระราชวังไปทางเหนือ และอุทิศที่ดินเดิมนี้เพื่อสร้างวัดภายในพระราชวัง เพื่อประกอบพิธีสำคัญต่าง ๆ แต่ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษา

 02.

4. ภายในวัดพระศรีสรรเพชญ์จะมีเจดีย์สำคัญ 3 องค์ มีลักษณะเป็นเจดีย์ทรงลังกา ตั้งเรียงรายเป็นสัญลักษณ์อย่างสวยงาม ได้แก่ 
          - เจดีย์ทางด้านทิศตะวันออก สร้างโดยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ในปี พ.ศ. 2035 เพื่อบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พระราชบิดา
          - เจดีย์องค์กลาง สร้างโดยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 ในปี พ.ศ. 2035 เช่นกัน เพื่อบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 พระบรมเชษฐา
          - เจดีย์ทางด้านทิศตะวันตก สร้างโดยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 (สมเด็จพระหน่อพุทธางกูร) เพื่อบรรจุพระบรมอัฐิของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2
          
5. นอกจากเจดีย์ทั้ง 3 องค์แล้ว ภายในวัดก็ยังมีซากปรักหักพังของสิ่งก่อสร้างที่สำคัญอื่น ๆ อีกด้วย ไม่ว่าจะเป็นพระวิหาร หอระฆัง พระอุโบสถ ฯลฯ ซึ่งล้วนแต่มีความเก่าแก่และสวยงามอย่างยิ่ง

 03.

6. อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาจะมีบริการเครื่องโสตทัศนาจร สามารถฟังข้อมูลการบรรยายวัดพระศรีสรรเพชญ์ วัดไชยวัฒนาราม และวัดมหาธาตุ ได้ในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เช่าได้ที่จุดบริการใกล้ป้อมจำหน่ายบัตรของอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา โดยคิดค่าบริการเครื่องละ 150 บาท 
          
7. นักท่องเที่ยวสามารถเช่าจักรยานเพื่อปั่นชมรอบ ๆ อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาได้ แล้วนำมาจอดหน้าวัดพระศรีสรรเพชญ์ ก็จะสะดวกกว่าการขับรถเข้ามาเที่ยว เพราะจะต้องหาที่จอดรถ ยิ่งถ้ามาในช่วงวันหยุด นักท่องเที่ยวจะพลุกพล่าน และหาที่จอดรถได้ยากมาก 
          
8. วัดพระศรีสรรเพชญ์เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.00-18.00 น. 
          
9. ค่าเข้าชมวัดพระศรีสรรเพชญ์ สำหรับคนไทย ผู้ใหญ่คนละ 10 บาท ชาวต่างชาติ ผู้ใหญ่คนละ 50 บาท หรือจะซื้อบัตรรวมสำหรับการเข้าชมวัดต่าง ๆ โดยรอบอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาเลยก็ได้ คนไทยคนละ 40 บาท และชาวต่างชาติ 220 บาท ส่วนเด็ก นักเรียน นักศึกษา ไม่เสียค่าเข้าชม 

 04.

10. หากมาเที่ยวชมอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาแล้ว ต้องไม่พลาดที่จะชมความสวยงามยามค่ำคืนของที่นี่ โดยทางอุทยานจะเปิดไฟตั้งแต่เวลา 18.30-21.00 น. แสงสีทองจะส่องสว่างไปรอบวัดต่าง ๆ อย่างสวยงามอลังการ นักท่องเที่ยวสามารถที่จะชมได้จากด้านนอกของอุทยานเท่านั้น เพราะอุทยานจะปิดให้เข้าชมเวลา 18.00 น. 
          
11.การมาเที่ยวชมวัดพระศรีสรรเพชญ์และโบราณสถานโดยรอบอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา นักท่องเที่ยวต้องทำตามกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด อาทิ ไม่ปีนป่ายโบราณสถาน, ไม่หยิบจับวัตถุโบราณ, ไม่เหยียบย่ำบริเวณซากปรักหักพัง เป็นต้น เพราะนอกจากจะทำลายโบราณสถานแล้ว ก็ยังอาจจะก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้เข้าชมอีกด้วย 
          
12. ถึงแม้ว่าทางอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาไม่ได้มีข้อบังคับในเรื่องการแต่งกาย แต่นักท่องเที่ยวก็ควรแต่งกายให้สุภาพ เหมาะสมกับสถานที่ หลีกเลี่ยงการใส่กางเกงขาสั้น กระโปรงสั้น เสื้อสายเดี่ยว ฯลฯ นอกจากจะให้เกียรติกับสถานที่แล้ว ยังเป็นการป้องกันอันตรายจากแมลง เศษกิ่งไม้และเศษหิน อิฐ ปูน บริเวณโดยรอบโบราณสถานด้วย 



13. การเดินทางมายังวัดพระศรีสรรเพชญ์ 

          - โดยรถยนต์ส่วนตัว จากกรุงเทพฯ ขับรถมาตามถนนสายเอเชีย (ทางหลวงหมายเลข 32) แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าอยุธยา ขับไปเรื่อย ๆ ผ่านวงเวียน ข้ามสะพานปรีดีพนมยงค์ ตรงไปจนถึงถนนศรีสรรเพชญ์ เลี้ยวขวา แล้วขับเลยวงเวียนไปสักพักจะเจอกับทางเข้าวัดพระศรีสรรเพชญ์ 

          - โดยรถประจำทาง นักท่องเที่ยวสามารถที่จะนั่งรถตู้ประจำทางมาลงที่ตัวอำเภอเมืองพระนครศรีอยุธยาได้ แล้วเช่ารถตุ๊กตุ๊กแบบเหมาพาเที่ยวทั้งวัน แต่ถ้าใครสามารถขับขี่รถมอเตอร์ไซค์ได้ ก็จะมีร้านให้เช่ามอเตอร์ไซค์อยู่บริเวณท่ารถและหน้าสถานีรถไฟ

          - โดยรถไฟ การเดินทางด้วยรถไฟเป็นอีกหนึ่งวิธีที่นักท่องเที่ยวเลือกเดินทางจากกรุงเทพฯ เพราะสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายได้มากทีเดียว และยังได้ชมบรรยากาศสองฟากฝั่งระหว่างทางได้อีกด้วย โดยนักท่องเที่ยวสามารถที่จะมาขึ้นรถไฟได้ที่สถานีรถไฟหัวลำโพง มีรถไฟให้บริการทุกวัน แล้วลงที่สถานีรถไฟอยุธยา จากนั้นจะเช่ารถตุ๊กตุ๊กให้พาเที่ยว หรือจะเช่ารถมอเตอร์ไซค์เที่ยวเองก็ได้เช่นกัน 
          
14. สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา โทรศัพท์ 0 3524 2284, 0 3524 2286 

          ทั้งหมดนี้ก็เป็นเรื่องราวดี ๆ ที่น่ารู้ของวัดพระศรีสรรเพชญ์ ภายในเขตอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หากได้รู้เรื่องราวเหล่านี้ไปบ้างก็จะทำให้เที่ยววัดแห่งนี้ได้อย่างเต็มที่มากยิ่งขึ้น และต้องไม่ลืมที่จะหยิบแผ่นพับเกี่ยวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์และวัดอื่น ๆ ภายในอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยาจากบริเวณที่ทำการอุทยานติดมือไปด้วยนะคะ จะได้เที่ยวที่ต่าง ๆ ได้อย่างครบรส :) 

ขอขอบคุณข้อมูลจาก
 , อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา, สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 
----------------------------------------------------------------------




1 ความคิดเห็น:

  1. วัดพระศรีสรรเพชญ์ หมายถึง วัดแห่งความศักดิ์สิทธิ์อันวิจิตรงดงาม.

    ตอบลบ