วันเสาร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

16.07.2560 Wat Lokaya Sutha, Ayutthaya, Thailand. วัดโลกยสุธา หรือ วัดพระนอน ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Wat Lokaya Sutha, Ayutthaya, Thailand.

วัดโลกยสุธา หรือ วัดพระนอน ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 
Wat Lokaya Sutha, Ayutthaya, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/603/thailand/ayutthaya/wat-lokaya-sutha



Wat Lokaya Sutha (วัดโลกยสุธา) (unknown age)

This temple, constructed at an unknown date, was largely destroyed when the city of Ayutthaya fell to the Burmese in 1767. Its name means "The Temple of the Earth". In the ruined viharn at the west edge of the temple is a 42 meter long, 8 meter tall recumbent Buddha statue known as 'Phra Buddha Sai Yat'.
In its heyday the temple was considerably larger than it now appears. The viharn at the west side (which housed the reclining Buddha) was part of a larger ensemble measuring approximately 150 x 70 meters which included three viharns on the east side of the temple and an ubosot (ordination hall) and prang at the center. Four smaller chedis, now ruined apart from their foundations, stood at the four corners of the ubosot-prang courtyard. Although the layout is easily visible in the satellite image below, it is more difficult to note on the ground as all buildings apart from the prang are ruined apart from their foundations. Outside the temple are several smaller chedi of interest, including one at the northwest corner of the site that retains traces of stucco decoration.

Location

The approximate location of the site is 14.355573' N, 100.552917' E (WGS 84 map datum).

 01.Wat Lokaya Sutha, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดโลกยสุธา หรือ วัดพระนอน ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 

02.Wat Lokaya Sutha, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดโลกยสุธา หรือ วัดพระนอน ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 


03.Wat Lokaya Sutha, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดโลกยสุธา หรือ วัดพระนอน ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 


04.Wat Lokaya Sutha, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดโลกยสุธา หรือ วัดพระนอน ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 


05.Wat Lokaya Sutha, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดโลกยสุธา หรือ วัดพระนอน ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 


06.Wat Lokaya Sutha, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดโลกยสุธา หรือ วัดพระนอน ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 


07.Wat Lokaya Sutha, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดโลกยสุธา หรือ วัดพระนอน ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 


08.Wat Lokaya Sutha, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดโลกยสุธา หรือ วัดพระนอน ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 


09.Wat Lokaya Sutha, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดโลกยสุธา หรือ วัดพระนอน ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 


10.Wat Lokaya Sutha, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดโลกยสุธา หรือ วัดพระนอน ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 


11.Wat Lokaya Sutha, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดโลกยสุธา หรือ วัดพระนอน ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 


12.Wat Lokaya Sutha, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดโลกยสุธา หรือ วัดพระนอน ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 


13.Wat Lokaya Sutha, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดโลกยสุธา หรือ วัดพระนอน ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 


14.Wat Lokaya Sutha, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดโลกยสุธา หรือ วัดพระนอน ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 


15.Wat Lokaya Sutha, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดโลกยสุธา หรือ วัดพระนอน ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 



วัดโลกยสุธา หรือ วัดพระนอน ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 
Wat Lokaya Sutha, Ayutthaya, Thailand.

Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/603/thailand/ayutthaya/wat-lokaya-sutha

---------------------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://de.wikipedia.org/wiki/Wat_Lokayasutharam



Wat Lokayasutharam



Der Ruhende Buddha des Wat Lokayasutharam
Der Wat Lokayasutharam (Thai วัดโลกยสุธาราม - Tempel der Erde; andere Schreibweise: „Wat Lokayasutha“; auch bekannt als „Wat Phra Non“, Thai: วัดพระนอน - Tempel des Ruhenden Buddha) ist eine buddhistische Tempelanlage (Wat) im Geschichtspark Ayutthaya in Zentralthailand.

Lage[Bearbeiten | Quelltext bearbeiten]

Der Wat Lokayasutharam befindet sich im Nordwesten der Insel Ayutthaya, südwestlich des „Alten Palastes“ (Wang Luang) und westlich des Wat Phra Sri Sanphet, jenseits des Khlong Tho. Direkt nördlich schließt sich der Wat Worachetharam an.

Baugeschichte[Bearbeiten | Quelltext bearbeiten]

Es gibt keinerlei Anhaltspunkte in den Chroniken, wann dieser Tempel gegründet wurde. Stilelemente der Buddha-Statue deuten auf eine mittlere Ayutthaya-Periode.

Sehenswürdigkeiten[Bearbeiten | Quelltext bearbeiten]

Die riesige liegende Buddha-Statue ist die Hauptattraktion dieses Tempels. Sie ist etwa 40 Meter lang und 8 m hoch und besteht aus Ziegeln und Mörtel. Die Statue liegt nicht wie üblich in Ost-West-Richtung, sondern in Nord-Süd-Richtung. Der Kopf liegt auf vier Lotos-Knospen und wird von der rechten Hand abgestützt.
Ursprünglich befand sich die Statue wohl in einem Viharn, davon sind allerdings nur noch die Fundamente von 24 oktogonalen Säulen zu sehen.
Die Statue wurde 1954 durch das Fine Arts Department (etwa: Akademie der Künste) restauriert, die Mittel dazu stiftete die Alcoholic Beverage Factory. Im Jahre 1989 wurde die Statue von der Familie des ehemaligen Premierministers Thawal Thamrong Navaswadhi zu seinen Ehren erneut renoviert.
Auf dem Tempelgelände sind außerdem die Grundmauern eines Ubosot zu erkennen, an dessen vier Ecken jeweils eine Chedi stand. Rund um den Ubosot war eine Galerie (Phra Rabieng) angeordnet, von der auch nur noch die Fundamente zu erahnen sind. Das thailändische Fine Arts Department hat bei Ausgrabungen Köpfe von Buddha-Statuen aus Sandstein gefunden, die sich heute im Chao-Sam-Phraya-Nationalmuseum befinden.

Ikonographie[Bearbeiten | Quelltext bearbeiten]

Liegende Buddha-Statuen (Thai: พระพุทธไสยาสน์ - sprich: [pʰrá pʰút-tʰá săi-jâːt]) dieser Größe stellen oft nicht den Buddha dar, der in das Parinibbana eingeht, sondern sie beziehen sich auf eine Legende aus dem Leben des Buddha:
Als einst der Buddha in einem Ashram in Sravasti weilte, ersuchte der Riese (Thai: ยักษ์ - Yak) Asurindarahu (Thai: อสุรอินดะราหุ) um eine Audienz beim Buddha. Da der Riese sehr stolz auf seine Größe war, wollte er sich nicht vor dem Buddha verbeugen. So manifestierte sich der Buddha um ein Vielfaches größer als der Riese. Zusätzlich zeigt er dem Eingebildeten das Reich der Devata in einem der oberen Himmel, die nochmals größer als der Buddha waren. Beschämt machte Asurindarahu daraufhin dem Buddha seine Ehrerbietung.

Literatur[Bearbeiten | Quelltext bearbeiten]

  • Elizabeth Moore: Ancient Capitals of Thailand. Bangkok 1996. ISBN 0-500-97429-2.
  • Chaiwat Worachetwarawat: Interesting Temples and Ruins in Ayutthaya. Rajabhat Institute Phra Nakhon Si Ayutthaya, Ayutthaya 2001 (ohne ISBN).
  • K.I. Matics: Gestures of the Buddha. Bangkok 2001. ISBN 974-346-796-3.

--------------------------------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://th.wikipedia.org/wiki/ วัดโลกยสุธา

วัดโลกยสุธาราม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วัดโลกยสุธาราม
Wat Lokaya Suttha
Wat Lokaya Suttha in Ayutthaya Thailand 001.jpg
ข้อมูลทั่วไป
ประเภทวัดอาราม
ที่ตั้งตำบลประตูชัย, อำเภอพระนครศรีอยุธยาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประเทศประเทศไทย
การก่อสร้าง
ปีสร้างราว พ.ศ. 1995
ผู้สร้างสมเด็จพระนครินทราธิราช
ปีบูรณะพ.ศ. 2499
ผู้บูรณะจอมพล แปลก พิบูลสงคราม[1]
สถาปัตยกรรมสถาปัตยกรรมสมัยอยุธยา
ข้อมูลด้านการท่องเที่ยว
สิ่งที่น่าสนใจมีพระพุทธไสยาสน์ ปางไสยาสน์ ที่ใหญ่ที่สุดในเกาะเมืองอยุธยา[2]
วัดโลกยสุธาราม ตั้งอยู่ที่ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทางด้านหลังพระราชวังหลวงและโรงเรียนประตูชัย ใกล้กับวัดวรโพธิ์ และวัดวรเชษฐาราม จุดเด่นของวัดแห่งนี้คือ มีพระพุทธไสยาสน์ ปางไสยาสน์ ที่ใหญ่ที่สุดในเกาะเมืองอยุธยา

ประวัติ[แก้]

วัดโลกยสุธาราม สันนิษฐานว่าได้สร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง ในรัชสมัยสมเด็จพระนครินทราธิราช พระราชบิดาเจ้าสามพระยา ราว พ.ศ. 1995 วัดนี้มีพระพุทธไสยาสน์ ปางไสยาสน์ ที่ใหญ่ที่สุดในเกาะเมืองอยุธยา ประดิษฐานอยู่กลางแจ้ง ก่ออิฐถือปูน มีความยาว 42 เมตร และสูง 8 เมตร พระพักตร์หันไปทางทิศเหนือ ที่พระเศียรมีดอกบัวรองรับ พระบาทซ้อนกันเป็นมุมฉาก นิ้วพระบาทยาวเท่ากัน มีดอกบัวเกยซ้อนรองรับพระเศียรแทนพระเขนย สันนิษฐานว่าแต่เดิมเป็นพระพุทธรูปไม่ทรงเครื่อง แต่การบูรณะใน พ.ศ. 2499 คงมีการแก้พระเศียรเป็นอย่างพระพุทธรูปทรงเครื่อง รอบองค์พระมีเสาอิฐ 8 เหลี่ยม รวม 24 ต้น ซึ่งแต่เดิมคงจะมีการสร้างวิหารครอบพระพุทธไสยาสน์ แต่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าได้พังทลายลงเมื่อใด
พระพุทธไสยาสน์องค์นี้ได้รับการขุดแต่งโดยโรงงานสุรา ร่วมกับกรมศิลปากร เมื่อปี พ.ศ. 2497 และต่อมาในปี พ.ศ. 2532คุณหญิงระเบียบ ธำรงนาวาสวัสดิ์ และครอบครัว ได้บูรณะพระพุทธไสยาสน์เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่ นาย ธำรง และ พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ อดีตนายกรัฐมนตรี

อ้างอิง[แก้]

  • วิไลรัตน์. 2546. กรุงศรีอยุธยา. อมรินทร์พริ้นติ้ง





-----------------------------------------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://traveling1081009.blogspot.com/2015/12/wat-lokaya-sutha.html

วันพุธที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2558

วัดโลกยสุธาหรือวัดพระนอน ( Wat Lokaya Sutha ) จ.พระนครศรีอยุธยา


          วันนี้ชวนทุกท่านไปกราบพระที่วัดโลกยสุธาหรือวัดพระนอน ( Wat Lokaya Sutha ) จ.พระนครศรีอยุธยาราชธานีเก่า อู่ข้าวอู่น้ำ เลิศล้ำกานท์กวี คนดีศรีอยุธยา )  ครับ

 ประวัติ/ความสำคัญ  : วัดโลกยสุธาหรือวัดพระนอน ( Wat Lokaya Sutha ) 


         วัดโลกยสุธาหรือวัดพระนอน ตั้งอยู่ในเกาะเมืองอยุธยาด้านทิศตะวันตก ติดกับวัดวรเชษฐารามทางด้านทิศใต้ ในตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จากประวัติศาสตร์ความเป็นมาไม่ปรากฎหลักฐานการก่อสร้างว่าสร้างขึ้นเมื่อใด แต่จากการศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบทางสถาปัตยกรรมของปรางค์ประธานภายในวัดที่คล้ายคลึงกับพระปรางค์วัดราชบูรณะ พระปรางวัดมาธาตุ และพระปรางค์วัดส้ม ซึ่งสร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้น วัดแห่งนี้จึงน่าจะสร้างขึ้นในช่วงสมัยอยุธยาตอนต้นเช่นเดียวกัน
         ลักษณะรูปแบบแผนผังของวัดวางตัวตามแนวแกนทิศตะวันออก-ทิศตะวันตก มีปรางค์ประธานตั้งอยู่เป็นศูนย์กลางของวัด ด้านหน้าปรางค์ประธานมีวิหารสามหลังตั้งเรียงกัน ด้านหลังพระปรางค์เป็นอุโบสถ และวิหารประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์
         จากการขุดค้นทางโบราณคดีในบริเวณพื้นที่วัด พบว่าวัดโลกยสุธาเริ่มก่อสร้างมาตั้งแต่ในสมัยอยธยาตอนต้น และมีการใช้ประโยชน์พื้นที่ภายในวัดเรื่อยมาจนถึงสมัยอยธยาตอนปลาย ในปี พ.ศ.2497 ได้มีการบูรณะองค์พระพุทธไสยาสน์โดยการก่อหุ้มองค์พระใหม่ทั้งองค์พร้อมทั้งปรับปรุงรูปแบบเศียรองค์พระเป็นรูปแบบพระพุทธรูปทรงเครื่องอย่างที่เห็นในปัจจุบัน (ที่มา : ป้ายข้อมูลวัดภายในวัดโลกยสุธาหรือวัดพระนอน)
         วัดโลกยสุธาหรือวัดพระนอน ( Wat Lokaya Sutha ) อยู่ในอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา และพื้นที่อยู่ในเขตมรดกโลกตั้งแต่แรกเริ่มที่อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนเป็นมรดก จากการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญ ณ กรุงคาร์เธจ ประเทศตูซิเนีย เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2534
       
แผนที่ขอบเขตมรดกโลกอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ( Ayutthaya Historical Park ) อิงตามเว็บไซต์ UNESCO
สถานที่ตั้ง วัดโลกยสุธาหรือวัดพระนอน ( Wat Lokaya Sutha ) 
         อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา

การเดินทางไปวัดโลกยสุธาหรือวัดพระนอน ( Wat Lokaya Sutha ) 
         การเดินทางจากรุงเทพมหานครมุ่งหน้าไป วัดโลกยสุธาหรือวัดพระนอน ( Wat Lokaya Sutha ) จ.พระนครศรีอยุธยา ( รายละเอียดการเดินทางจากกรุงเทพมหานครไป จ.พระนครศรีอยุธยา ) รายละเอียดดังนี้ (โดยรถยนต์)
  • เลี้ยวซ้ายจากสายเอเซีย (ทางหลวงหมายเลข 32) เข้า ถ.โรจนะ ( ทางหลวงหมายเลข 309 ) มุ่งหน้าเข้า จ. พระนครศรีอยุธยา 
  • ขับไปเรื่อยๆตาม ถ.โรจนะจนถึงวงเวียนเจดีย์วัดสามปลื้ม ให้ตรงไปเรื่อยจนสุดทางจะเจอสามแยกให้เลี้ยวขวา แล้วขับมุ่งหน้าจนถึงวงเวียนแล้วเลี้ยวซ้ายแรกของวงเวียน และมุ่งหน้าจนถึงสะพานไม้ข้ามสะพานไม้แล้วเลี้ยวขวา ขับไปเรื่อยๆ จะมีป้ายบอกทางเข้าวัดแล้วเลี้ยวซ้ายเข้าไปตามป้ายบอกทาง และจะถึงเป้าหมายตามลำดับ (รายละเอียดดังแผนที่ด้านล่าง)

(แผนที่จาก : maps.google.com)
 
ถึงจุดหมาย : วัดโลกยสุธาหรือวัดพระนอน ( Wat Lokaya Sutha ) 
              เมื่อเดินทางไปถึงวัดโลกยสุธาหรือวัดพระนอน ( Wat Lokaya Sutha )  วัดที่สร้างตั้งแต่สมัยอยธยาตอนต้นอิงตามการขุดค้นทางโบราณคดีในบริเวณพื้นที่วัด เรามุ่งหน้าไปตามรอยประวัติศาสตร์และกราบพระเพื่อเป็นศิริมงคลกันเลยครับ (รูปประกอบ : การเดินทางวันที่ 19 ธ.ค.2558 )
          

            อ่านเรื่องราวเกี่ยวกับพระพุทธไสยาสน์กันก่อนครับ ความยาวของพระพุทธไสยาสน์มีความยาวตั้งแต่พระเศียรจรดพระบาทรวม 42 เมตรครับ


พระพุทธไสยาสน์ (พระนอน) วัดโลกยสุธา

พระพุทธไสยาสน์ (พระนอน) วัดโลกยสุธา

พระพุทธไสยาสน์ (พระนอน) วัดโลกยสุธา

พระพุทธไสยาสน์ (พระนอน) วัดโลกยสุธา

พระพุทธไสยาสน์ (พระนอน) วัดโลกยสุธา
        
            เมื่อมาถึงวัดโลกยสุธาหรือวัดพระนอน ( Wat Lokaya Sutha ) จ.พระนครศรีอยุธยา สิ่งที่ต้องทำคือ กราบพระขอพร พระพุทธไสยาสน์ (พระนอน) เพื่อเป็นศิริมงคลครับ


            หลังจากกราบพระขอพรพระพุทธไสยาสน์เรียบร้อย อย่าพลาดเดินชมความงดงามทางสถาปัตยกรรม โบราณศิลปะของโบราณสถานของวัดโลกยสุธากันต่อนะครับ


            หากใครชอบการท่องเที่ยวแบบสบายๆ ขับรถกินลม ชมบรรยากาศ ไหว้พระ ตามรอยประวัติศาสตร์   วัดโลกยสุธาหรือวัดพระนอน ( Wat Lokaya Sutha ) อีกหนึ่งสถานที่ในเมืองไทยที่เราไม่ควรพลาดไปเยือนครับ...สวัสดีครับ

1 ความคิดเห็น:

  1. วัดโลกยสุธาหรือวัดพระนอน ตั้งอยู่ในเกาะเมืองอยุธยาด้านทิศตะวันตก ติดกับวัดวรเชษฐารามทางด้านทิศใต้ ในตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จากประวัติศาสตร์ความเป็นมาไม่ปรากฎหลักฐานการก่อสร้างว่าสร้างขึ้นเมื่อใด แต่จากการศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบทางสถาปัตยกรรมของปรางค์ประธานภายในวัดที่คล้ายคลึงกับพระปรางค์วัดราชบูรณะ พระปรางวัดมาธาตุ และพระปรางค์วัดส้ม ซึ่งสร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้น วัดแห่งนี้จึงน่าจะสร้างขึ้นในช่วงสมัยอยุธยาตอนต้นเช่นเดียวกัน
    ลักษณะรูปแบบแผนผังของวัดวางตัวตามแนวแกนทิศตะวันออก-ทิศตะวันตก มีปรางค์ประธานตั้งอยู่เป็นศูนย์กลางของวัด ด้านหน้าปรางค์ประธานมีวิหารสามหลังตั้งเรียงกัน ด้านหลังพระปรางค์เป็นอุโบสถ และวิหารประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์
    จากการขุดค้นทางโบราณคดีในบริเวณพื้นที่วัด พบว่าวัดโลกยสุธาเริ่มก่อสร้างมาตั้งแต่ในสมัยอยธยาตอนต้น และมีการใช้ประโยชน์พื้นที่ภายในวัดเรื่อยมาจนถึงสมัยอยธยาตอนปลาย ในปี พ.ศ.2497 ได้มีการบูรณะองค์พระพุทธไสยาสน์โดยการก่อหุ้มองค์พระใหม่ทั้งองค์พร้อมทั้งปรับปรุงรูปแบบเศียรองค์พระเป็นรูปแบบพระพุทธรูปทรงเครื่องอย่างที่เห็นในปัจจุบัน (ที่มา : ป้ายข้อมูลวัดภายในวัดโลกยสุธาหรือวัดพระนอน)

    ตอบลบ