Silver Pagoda, Phnom Penh, Cambodia.
วัดพระแก้วมรกต (วัดอุโบสถรตนาราม) กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา.
Silver Pagoda, Phnom Penh, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล
จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/34/cambodia/phnom-penh/silver-pagoda
Silver Pagoda (built 1892, rebuilt 1962 onward)
The Silver Pagoda was constructed in 1892 by King Norodom to house the ashes of the royal family.Among its many treasures is a gold buddha weighing 90 pounds and covered with an astonishing array of over 9000 diamonds.In later years the Silver Pagoda, which was made of wood, suffered extensive damage.It was rebuilt in 1962 by King Sihanouk out of more permanent materials.The king spared no expense, covering the floor with a lavish series of 5,000 silver tiles.The pagoda was looted during the Khmer Rouge years, but the Cambodian government has made an effort to restore the pagoda to its original splendor.
Location
The approximate location of the site is 11.562458' N, 104.931656' E (WGS 84 map datum).
วัดพระแก้วมรกต (วัดอุโบสถรตนาราม) กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา.
02.Silver Pagoda, Phnom Penh, Cambodia.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระแก้วมรกต (วัดอุโบสถรตนาราม) กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา.
03.Silver Pagoda, Phnom Penh, Cambodia.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระแก้วมรกต (วัดอุโบสถรตนาราม) กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา.
04.Silver Pagoda, Phnom Penh, Cambodia.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระแก้วมรกต (วัดอุโบสถรตนาราม) กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา.
05.Silver Pagoda, Phnom Penh, Cambodia.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระแก้วมรกต (วัดอุโบสถรตนาราม) กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา.
06.Silver Pagoda, Phnom Penh, Cambodia.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระแก้วมรกต (วัดอุโบสถรตนาราม) กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา.
07.Silver Pagoda, Phnom Penh, Cambodia.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระแก้วมรกต (วัดอุโบสถรตนาราม) กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา.
08.Silver Pagoda, Phnom Penh, Cambodia.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระแก้วมรกต (วัดอุโบสถรตนาราม) กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา.
09.Silver Pagoda, Phnom Penh, Cambodia.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระแก้วมรกต (วัดอุโบสถรตนาราม) กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา.
10.Silver Pagoda, Phnom Penh, Cambodia.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระแก้วมรกต (วัดอุโบสถรตนาราม) กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา.
11.Silver Pagoda, Phnom Penh, Cambodia.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระแก้วมรกต (วัดอุโบสถรตนาราม) กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา.
12.Silver Pagoda, Phnom Penh, Cambodia.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระแก้วมรกต (วัดอุโบสถรตนาราม) กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา.
13.Silver Pagoda, Phnom Penh, Cambodia.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระแก้วมรกต (วัดอุโบสถรตนาราม) กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา.
14.Silver Pagoda, Phnom Penh, Cambodia.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระแก้วมรกต (วัดอุโบสถรตนาราม) กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา.
15.Silver Pagoda, Phnom Penh, Cambodia.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระแก้วมรกต (วัดอุโบสถรตนาราม) กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา.
16.Silver Pagoda, Phnom Penh, Cambodia.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระแก้วมรกต (วัดอุโบสถรตนาราม) กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา.
17.Silver Pagoda, Phnom Penh, Cambodia.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดพระแก้วมรกต (วัดอุโบสถรตนาราม) กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา.
https://th.wikipedia.org/wiki/วัดพระแก้วมรกต.
วัดพระแก้วมรกต
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วัดพระแก้วมรกต (เขมร: វត្តព្រះកែវមរកត) หรือชื่อเดิมว่า วัดอุโบสถรตนาราม (เขมร: វត្តឧបោសថរតនារាម) เป็นวัดในพระบรมราชวังซึ่งตั้งอยู่ในกรุงพนมเปญ เป็นวัดในพระราชวังเช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์ในพระราชวังหลวงของกรุงศรีอยุธยา และวัดพระศรีรัตนศาสดารามในพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร[2] ด้วยมีธรรมเนียมที่คล้ายคลึงกัน.
ประวัติ.
ภาพเก่าเล่าประวัติ สุวรรณภูมิ
วัดพระแก้วมรกต (วัดอุโบสถรตนาราม) กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา.
วัดพระแก้วมรกต (วัดอุโบสถรตนาราม) กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา.
Silver Pagoda, Phnom Penh, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล
จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/34/cambodia/phnom-penh/silver-pagoda
-------------------------------------------------------
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Silver_Pagoda,_Phnom_Penh
Silver Pagoda, Phnom Penh.
From Wikipedia, the free encyclopedia
02.Stupa of King Norodom Suramarit. (สถูปในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต)
03.Emerald Buddha in Cambodia. (พระแก้วมรกต).
04.The Golden Buddhainside the Vihara. (ภายในวิหาร)
05.Stupa Kantha Bopha
06.A decorative column figurine (Kinnara)
07.View of Wat Preah Keo Complex
08.Portion of a 1903–1904 mural in Phnom Penh's Silver Pagoda
09.
-------------------------------------------------------
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Silver_Pagoda,_Phnom_Penh
Silver Pagoda, Phnom Penh.
From Wikipedia, the free encyclopedia
01. พระวิหาร วัดพระแก้วมรกต (วัดอุโบสถรตนาราม) กรุงพนมเปญ ราชอาณาจักรกัมพูชา.
Silver Pagoda Preah Vihear Preah Keo Morokot Temple of the Emerald Buddha | |
---|---|
វត្តឧបោសថរតនារាម (ព្រះវិហារព្រះកែវមរកត) |
The Silver Pagoda is located on the south side of the Royal Palace, Phnom Penh. The official name is Wat Ubosoth Ratanaram (Khmer: វត្តឧបោសថរតនារាម) as known as Preah Vihear Preah Keo Morakot (Khmer: ព្រះវិហារព្រះកែវមក៌ត, "Temple of the Emerald-Crystal Buddha") which is commonly shortened to Wat Preah Keo (Khmer: វត្តព្រះកែវ) in Khmer.
The vihara houses many national treasures including gold and jeweled Buddha statues. Most notable is a small green crystal Buddha (the "Emerald Buddha" of Cambodia) — some sources maintain it was made of Baccarat Crystal in 17th century but that's not possible since Baccarat Crystal didn't exist until 18th century; other sources indicate it was made in 19th century by Lalique, a glass designer who lived in 19th-20th century, what makes more sense taking into account that the Royal Palace of Phnom Penh was built using the Bangkok's Grand Palace as a model so the Bangkok's Emerald Buddha would be copied at the same time; but there are not reliable sources — and a life-sized gold Maitreya Buddha decorated with 9584 diamonds, the largest of which weighs 25 carats. It was created in the palace workshops during 1906 and 1907, the gold Buddha weighs in at 90 kg and is dressed in royal regalia commissioned by King Sisowath. During King Norodom Sihanouk's pre-Khmer Rouge reign, the Silver Pagoda was inlaid with more than 5,000 silver tiles and some of its outer facade was remodeled with Italian marble. However, only a small area of these tiles are available to be viewed by the public on entering the pagoda.
The wall that surrounds the structures is covered with murals of the Reamker painted in 1903-1904 by Cambodian artists directed by the architect of the Silver Pagoda Oknha Tep Nimit Mak.[1]
It is a notable wat (Buddhist temple) in Phnom Penh; Its grounds being used for various national and royal ceremonies. The cremated remains of Norodom Sihanouk are interred in the stupa of Kantha Bopha located on the temple's compound.
03.Emerald Buddha in Cambodia. (พระแก้วมรกต).
04.The Golden Buddhainside the Vihara. (ภายในวิหาร)
05.Stupa Kantha Bopha
06.A decorative column figurine (Kinnara)
07.View of Wat Preah Keo Complex
08.Portion of a 1903–1904 mural in Phnom Penh's Silver Pagoda
09.
Location in Cambodia
| |
Basic information | |
---|---|
Location | Phnom Penh city |
Geographic coordinates | 11°33′45″N104°55′54″ECoordinates: 11°33′45″N 104°55′54″E |
Affiliation | Theravada Buddhism |
Country | Cambodia |
Architectural description | |
Founder | King Norodom I |
Completed | 19th century |
10.The Silver Pagoda in 1904. (วัดพระแก้วเขมรในปี พ.ศ.2447)
------------------------------------------------------------------
https://th.wikipedia.org/wiki/วัดพระแก้วมรกต.
วัดพระแก้วมรกต
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วัดพระแก้วมรกต (เขมร: វត្តព្រះកែវមរកត) หรือชื่อเดิมว่า วัดอุโบสถรตนาราม (เขมร: វត្តឧបោសថរតនារាម) เป็นวัดในพระบรมราชวังซึ่งตั้งอยู่ในกรุงพนมเปญ เป็นวัดในพระราชวังเช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์ในพระราชวังหลวงของกรุงศรีอยุธยา และวัดพระศรีรัตนศาสดารามในพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร[2] ด้วยมีธรรมเนียมที่คล้ายคลึงกัน.
ประวัติ.
วัดพระแก้วมรกต สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2435 จนถึงปี พ.ศ. 2445 ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์[4]เค้าโครงและแผนผังของวัดแห่งนี้วาดโดยออกญาเทพนิมิต (รส) แต่มีสถาปนิกฝรั่งเศสชื่อ Alavigne เป็นผู้ดูแลความถูกต้อง[4]ด้านการก่อสร้างและประดับตกแต่งจัดทำโดยช่างเขมรและสถาปนิกฝรั่งเศสชื่อ Andrilleux จนแล้วเสร็จและสมโภชในปี พ.ศ. 2446 รวมเป็นเงินทั้งหมดห้าแสนเรียล[4] พระบาทสมเด็จพระนโรดม พรหมบริรักษ์ทรงพระบัญญัติให้เรียกวัดแห่งนี้ว่า "วัดอุโบสถรตนาราม" ดังปราฏในหนังสือ "เอกสารมหาบุรุษเขมร" ความว่า[4]
"...พระบาทสมเด็จพระนโรดมทรงพระยินดีพ้นประมาณ ทรงพระบัญญัติให้เรียกนามวัดว่า พระอุโบสถรตนารามพระแก้วมรกต..."
วัดแห่งนี้ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษาเนื่องจากเป็นวัดที่ตั้งอยู่ภายในพระบรมราชวัง แต่มีครั้งเดียวในปี พ.ศ. 2470 ที่พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ ทรงผนวชและจำพรรษาในวัดแห่งนี้หนึ่งพรรษา[5] และในรัชกาลนี้เองได้มีการบูรณะวัดพระแก้วมรกตขึ้นใหม่ในปี พ.ศ. 2505[6] จนถึง พ.ศ. 2513 ตรวจงานโดยออกญาวังวรเวียงชัย (ซาน ย็วน)
------------------------------------------------------------
จาก https://www.facebook.com/PhaphKeaLeaPrawatiSuwrrnphumi/photos/a.464753440284450.1073741828.464747703618357/564167597009700
พระแก้วมรกต กรุงกัมพูชา.
"ตำนานพระแก้วมรกต กรุงกัมพูชา "
พงศาวดารกรุงกัมพูชา เล่าถึงตอนที่พระแก้วมรกตอยู่ในนครอินทรปัตนครได้ถูกต้องกว่าฉบับอื่น ๆ ว่าพระแก้วมรกตเข้ามาในรัชกาลของพระเจ้าปทุมสุริยวงศ์ จนถึงรัชกาลที่ 6 พระทะเมิญชัย จึงได้โปรดให้นำพระไตรปิฏกที่ติดมากับเรือสำเภาพระแก้วมรกต ส่งคืนไปให้พระเจ้าอนุรุธ แต่องค์พระแก้วมรกตไม่ยอมคืนให้
ตามตำนานพระแก้วมรกต เขียนไว้ว่าเมื่อพระเจ้าอนุรุธไม่ได้พระแก้วมรกต ก็ได้ติดตามปลอมเป็นราษฎรไปสืบเรื่องพระแก้วมรกต เมื่อรู้ว่าพระแก้วมรกตตกไปอยู่ในเมืองอินทรปัตนคร พระองค์ก็ไม่กล้าตามไปแย่งเอามา เพราะเมืองอันทรปัตตอนนั้นมีพระเจ้าปทุมสุริยวงศ์กษัตริย์ผู้เรืองอำนาจมีพระเดชานุภาพมาก
ต่อมาเชื้อพระวงศ์ของพระเจ้าปทุมสุริยวงศ์ปกครองตั้งแต่ พ.ศ. 1453-1471 อีก 6 พระองค์ จนประมาณ พ.ศ. 1471 พวกเจ้านายเขมรได้มาแย่งชิงเมืองได้ (พงศาวดารกัมพูชาว่าเป็นราชวงศ์ใหม่ตั้งนครหลวงที่โคห์แกร์ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ)มีการกวาดล้างพวกเจ้านายขอม จนบางพวกต้องหนีไปพึ่งพวกไศเลนทร์วงศ์ที่เมืองละโว้
ในรัชกาลพระเสนก โอรสของพระเสนกเลี้ยงแมลงวันเขียวถูกแมงมุมเสือของบุตรปุโรหิตเขมรที่เลี้ยงไว้กินแมลงวันเขียวของพระโอรส พระเสนกให้ทหารไปจับบุตรของปุโรหิตไปถ่วงน้ำ เพราะเหตุว่าพระเสนกไม่ทรงธรรม พวกเขมรจึงชวนกันก่อการกบฏปราบขอม พระเถระต้องพาพระแก้วมรกตหนีไปอยู่ที่ปราสาทตาแก้ว ซึ่งมีพวกไศเลนทร์อยู่
ข่าวการเกิดจลาจลในนครอินทรปัตทราบไปถึง พระเจ้าอาทิตย์ราช ซึ่งครองราชย์สมบัติในกรุงอโยธยาปุระในลุ่มน้ำเจ้าพระยา พระอาทิตย์ราชเป็นห่วงพระแก้วมรกต เกรงพวกเขมรที่นับถือพระศิวะจะทำลายเสีย แล้วตั้งศิวลึงค์แทน จึงรีบยกทัพพร้อมด้วยจัตุรงคเสนา ทะแกล้วทหารเป็นอันมากไปเอาพระแก้วมรกตมาไว้ตั้งแต่รัชกาลพระเสนก พ.ศ.1545 แล้วกวาดต้อนผู้คนที่รักษาพระแก้วมรกตเป็นอันมาก แล้วเสด็จกลับมายังกรุงอโยชฌ ปุระที่หนองโสน
การจำลองพระแก้วมรกต ไปประดิษฐาน ณ วัดพระแก้ว เมืองพนมเปญ เล่ากันว่า สมเด็จพระนโรดม(พระองค์ราชาวดี) มาทรงอุปสมบทที่วัดพระศรีรันตศาสดาราม เมื่อปี 2410 เมื่อทรงลาสิกขา ก็ทรงให้ช่างที่ประเทศฝรั่งเศส สร้างพระพุทธรูปแก้วสีเขียวเข้ม 1 องค์ แล้วอัญเชิญมาประดิษฐานไว้ที่ วัดพระแก้วหรือวัดเจดีย์เงิน ในในพระอุโบสถวัดพระแก้วกรุงกัมพูชานั้นพื้นปูลาดด้วยแผ่นเงินบริสุทธิ์มากกว่า 5,000 แผ่น แต่ละแผ่นมีน้ำหนักถึง2 กิโลกรัมน้ำหนักรวมทั้งเกือบ6,000กิโลกรัม อีกทั้งยังเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปทรงเครื่องซึ่งทำจากทองคำหลายองค์ องค์ที่ใหญ่ที่สุดมีน้ำหนักรวมถึง90 กิโลกรัม ประดับเพชรมากว่าหมื่นเม็ด เม็ดใหญ่ที่สุดมีน้ำหนักถึง 42 กรัต และเป็นที่เก็บเครื่องราชูปโภคต่างๆมากมายที่ทำจากทองคำ ในพระบรมหาราชวังหลวง กรุงพนมเปญ
พระพุทธรูปปางห้ามสมุทร ทรงเครื่องที่ทำจากทองคำ น้ำหนักถึง 90 กิโลกรัม ประดับเพชรกว่า 10,000 เม็ด และเครื่องของมีค่าภายในพระอุโบสถวัดพระแก้ว กรุงพนมเปญ.
พระพุทธรูปปางห้ามสมุทร ทรงเครื่องที่ทำจากทองคำ น้ำหนักถึง 90 กิโลกรัม ประดับเพชรกว่า 10,000 เม็ด และเครื่องของมีค่าภายในพระอุโบสถวัดพระแก้ว กรุงพนมเปญ.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น