วันเสาร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

23.07.2560 Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand. วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร หรือ วัดโชติการาม ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ  ข้อมูลและภาพ จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/615/thailand/chiang-mai/wat-chedi-luang



Wat Chedi Luang (วัดเจดีย์หลวง) (built 1391 onward)

Wat Chedi Luang (a.k.a. Jedi Luang) was built in 1391 during the reign of King Saen Muang Ma, 8th ruler of the Mengrai dynasty. He intended the structure to house the ashes of his father, Ku Na. Appropriately, the site was designated as a 'ku luang' instead of a chedi since it was not intended to house relics of the Buddha.
The massive reliquary was expanded over the centuries, until it reached its final form in 1475, when King Tilokaraj made it the home of the Emerald Buddha, the most important cultural treasure in Thailand. At one point the reliquary--which had come to be known as a chedi—was 144 feet wide and 282 feet tall. Unfortunately, the pagoda was heavily damaged in the 1545 earthquake during the reign of Queen Mahadevi. The Emerald Buddha remained here for about six years after the earthquake, whereupon it was brought to Luang Prabang (in today's Laos) by King Setthathirat, who ruled Chiang Mai for a short period in the years following the earthquake.
The viharn, or assembly hall, is a much newer structure decorated with naga (water snake) and peacock motifs.
According to Roy Hudson, visitors entering this temple should take note of the massive tree to the left of the entrance. Legend says that if this tree should ever fall, a great catastrophe will occur. A small building near the tree enshrines the "Spirit of the City" (Sao Intakin) that was moved from its original site in 1775.

Location

The approximate location of the site is 18.786932' N, 98.986542' E (WGS 84 map datum).

 01.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 02.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 03.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 04.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 05.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 06.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 07.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 08.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 09.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 10.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 11.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 12.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 13.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 14.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 15.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 16.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 17.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 18.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 19.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 20.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 21.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 22.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 23.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 24.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 25.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 26.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 27.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 28.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 29.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 30.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 31.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


 32.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


33.Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.


Wat Chedi Luang, Chiang Mai, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ  ข้อมูลและภาพ จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/615/thailand/chiang-mai/wat-chedi-luang

-------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ข้อมูลและภาพ จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Wat_Chedi_Luang

Wat Chedi Luang


From Wikipedia, the free encyclopedia

Chedi Luang in 2013

Wat Chedi Luang Wora Wihanwritten in Lanna script
Wat Chedi Luang (Thaiวัดเจดีย์หลวง, lit. temple of the big stupa or temple of the royal stupa) is a Buddhist temple in the historic centre of Chiang MaiThailand. The current temple grounds were originally made up of three temples — Wat Chedi Luang, Wat Ho Tham and Wat Sukmin.[1]

History[edit]

The construction of the temple started in the 14th century, when King Saen Muang Ma planned to bury the ashes of his father there. After 10 years of building time it was left unfinished, later to be continued after the death of the king by his widow. Probably due to stability problems it took until the mid-15th century to be finished during the reign of king Tilokaraj. It was then 82 m high and had a base diameter of 54 m, at that time the largest building of all Lanna. In 1468, the Emerald Buddha was installed in the eastern niche. In 1545, the upper 30 m of the structure collapsed after an earthquake, and shortly thereafter, in 1551, the Emerald Buddha was moved to Luang Prabang.[2]
In the early 1990s the chedi was reconstructed, financed by UNESCO and the Japanese government. However the result is somewhat controversial, as some claim the new elements are in Central Thai style, not Lanna style. For the 600th anniversary of the chedi in 1995, a copy of the Emerald Buddha made from black jade was placed in the reconstructed eastern niche. The icon is named official Phra Phut Chaloem Sirirat, but is commonly known as Phra Yok.

Buildings[edit]


City pillar shrine
Also on the temple grounds is the city pillar (Lak Mueang) of Chiang Mai, named Sao Inthakin. It was moved to this location in 1800 by King Chao Kawila; it was originally located in Wat Sadeu Muang. He also planted three dipterocarp tree there, which are supposed to assist the city pillar to protect the town. A festival in honor of the city pillar is held every year in May and lasts 6–8 days.
In a wihan near the entrance to the temple is the Buddha statue named Phra Chao Attarot (Eighteen-cubit Buddha), which was cast in the late 14th century. On the other side of the chedi is another pavilion housing a reclining Buddha statue.
Wat Chedi Luang hosts monk chats every day[3] - tourists are invited to speak with monks (usually novices) and ask them anything about Buddhism or Thailand.

Gallery[edit]

References[edit]

  1. Jump up^ Michael Freeman. Lanna: Thailand's Northern Kingdom. p. 74. ISBN 978-9748225272.
  2. Jump up^ 'Wat Chedi Luang: Temple of the Great Stupa', in: Forbes, Andrew, and Henley, David, Ancient Chiang Mai Volume 4. Chiang Mai ,Cognoscenti Books, 2012. ASIN: B006J541LE
  3. Jump up^ "Monk chats: How to find a friendly Buddhist monk to talk to in Thailand".


-------------------------------------------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ข้อมูลและภาพ จาก https://th.wikipedia.org/wiki/วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร

วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร
Chiangmai wchluang04.jpg
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200
ประเภทพระอารามหลวง
เป็นสถานที่ท่องเที่ยวแห่งหนึ่งใน จ.เชียงใหม่
    
วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร (คำเมืองLN-Wat Chediluang.png) เป็นพระอารามหลวงในจังหวัดเชียงใหม่ มีชื่อเรียกหลายชื่อ ได้แก่ ราชกุฏาคาร วัดโชติการาม สร้างขึ้นในรัชสมัยพญาแสนเมืองมา พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 7 แห่งราชวงศ์มังราย ไม่ปรากฏปีที่สร้างแน่ชัด สันนิษฐานว่าวัดแห่งนี้น่าจะสร้างในปี พ.ศ. 1928 - 1945 และมีการบูรณะมาหลายสมัย โดยเฉพาะพระเจดีย์ ที่ปัจจุบันมีขนาดความกว้างด้านละ 60 เมตร เป็นองค์พระเจดีย์ที่มีความสำคัญอีกองค์หนึ่งของจังหวัดเชียงใหม่
วัดเจดีย์หลวงสร้างอยู่กลางใจเมืองเชียงใหม่ ซึ่งแต่เดิมถือว่าเป็นศูนย์กลางทางการปกครองของอาณาจักรล้านนา ตั้งอยู่เลขที่ 103 ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ภายในวัดประมาณ 32 ไร่ 1 งาน 27 ตารางวา

ประวัติ[1][แก้]

จุลศักราช 289 (พ.ศ. 1874พญาแสนภูโปรดให้สร้างเมืองเชียงแสน และต่อมาอีก 4 ปีทรงสร้างมหาวิหารขึ้นในท่ามกลางเมืองเชียงแสน[2] คือวัดเจดีย์หลวงองค์ที่ 1 ซึ่งอยู่ในวัดพระเจ้าตนหลวง เมืองเชียงแสน สมัยพระเจ้าแสนเมืองมาซึ่งเป็นโอรสของพญากือนา ขณะที่มีพระชนมมายุ 39 ปี พระองค์โปรดให้สร้างพระเจดีย์หลวงกลางเมืองเชียงใหม่ แต่ยังไม่ทันแล้วเสร็จดีก็สวรรคต พระราชินีผู้เป็นอัครมเหสีของพระองค์ ได้โปรดให้ทำยอดพระธาตุเจดีย์หลวงจนแล้วเสร็จ
ปี พ.ศ. 2055 พระเมืองแก้ว พร้อมด้วยชาวเมืองทั้งหลาย เอาเงินมาทำกำแพงล้อมพระธาตุเจดีย์หลวง 3 ชั้นได้เงิน 254 กิโลกรัม จากนั้นจึงได้เอาเงินมาแลกเป็นทองคำจำนวน 30 กิโลกรัม แล้วแผ่เป็นแผ่นทึบหุ้มองค์พระธาตุเจดีย์หลวง เมื่อรวมกับทองคำที่หุ้มองค์พระเจดีย์หลวงอยู่เดิม ได้น้ำหนักทองคำถึง 2,382.517 กิโลกรัม
ประมาณ พ.ศ. 2088 สมัยพระนางจิรประภามหาเทวี ได้เกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ในเชียงใหม่ จึงทำให้ยอดพระเจดีย์หลวงหักพังทลายลงมา หลังจากนั้นพระเจดีย์หลวงจึงถูกทิ้งให้ร้างมานานกว่า 400 ปี กระทั่งปี พ.ศ. 2423 พระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 7 ได้รื้อพระวิหารหลังเก่าและสร้างวิหารหลวงขึ้นใหม่ด้วยไม้ทั้งหลัง
ช่วงปี พ.ศ. 2471-2481 สมัยพลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์สุดท้าย ถือได้ว่าเป็นทศวรรษแห่งการบูรณะครั้งสำคัญของวัดพระเจดีย์หลวง ได้มีการรื้อถอนสิ่งปรักหักพัง แผ้วถางป่าที่ขึ้นปกคุลมโบราณสถานต่างๆ ออก แล้วสร้างเสริมเสนาสนขึ้นใหม่ให้เป็นวัดสมบูรณ์แบบในเวลาต่อมา
พระเจดีย์หลวง ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่โดยกรมศิลปากร เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2533 ใช้งบประมาณในการบูรณะถึง 35 ล้านบาท แล้วเสร็จเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2535
แต่เดิมวัดเจดีย์หลวง ชื่อ “โชติการามวิหาร” แปลว่า พระอารามที่มีแต่ความรุ่งเรืองสว่างไสว เนื่องจากเป็นสถานที่บรรจุพระเกศาธาตุ และพระธาตุขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มีเรื่องเล่าต่อกันมาว่า ในกาลครั้งหนึ่ง เมื่อพระเจ้าอโศกมหาราช ส่งสมณะทูต 8 รูป ภายใต้การนำพระโสณะ และ พระอุตตะระ เข้ามาเผยแพร่พระพุทธศาสนาในเขตสุวรรณภูมิ รวมทั้งภูมิภาคนี้ด้วย ได้นำเอาพระบรมธาตุมาบรรจุไว้ในองค์เจดีย์องค์เล็กสูง 3 ศอก ที่สร้างขึ้น ณ บริเวณอันเป็นที่ตั้งของพระธาตุเจดีย์หลวงในปัจจุบัน ในเวลานั้นมีมีชายผู้หนึ่ง อายุ 120 ปี มีใจเลื่อมใส ได้แก้เอาผ้าห่มชุบน้ำมันจุดบูชา และได้ทำนายว่า ต่อไปในภายภาคหน้า ตรงนี้จะเป็นอารามใหญ่ชื่อโชติการาม พวกลัวะทั้งหลายเอาข้าวของบูชาพระธาตุพระพุทธเจ้า จึงก่อเจดีย์หลังหนึ่งสูง 3 ศอกไว้เป็นที่สักการบูชา
นอกจากนี้ยังมีความหมายอีกนัยหนึ่งของคำว่า “โชติการาม” คือ เวลาที่มีการจุดประทีปโคมไฟไปประดับบูชาองค์พระธาตุเจดีย์หลวง จะปรากฏจะปรากฏแสงสีสว่างไสว มองเห็นองค์พระเจดีย์คล้ายเชิงเทียนที่มีเปลวไฟลุกโชติช่วงสว่างไสว ดูแล้วมีความงดงามยิ่งนัก สามารถมองเห็นได้แต่ไกล
ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น “วัดเจดีย์หลวง” เนื่องจากในภาษาเหนือ หรือคำเมือง หลวงแปลว่า “ใหญ่” หมายถึง พระธาตุเจดีย์ที่มีขนาดใหญ่

พระธาตุเจดีย์หลวง[แก้]

พระธาตุเจดีย์หลวงนั้นถือว่าเป็นพระธาตุที่มีความสูงที่สุดในภาคเหนือ หรือล้านนา คือ สูงประมาณ 80 เมตร เมตร ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส กว้างประมาณด้านละ 60 เมตร ถูกสร้างขึ้นในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 20 ถือว่าเป็นเจดีย์ที่มีความสำคัญที่สุดของเมืองเชียงใหม่

วัดเจดีย์หลวง เชียงใหม่
พระธาตุเจดีย์หลวงนั้นถูกสร้างขึ้นในในรัชสมัยพญาแสนเมืองมา (พ.ศ. 1928 - 1945) กษัตริย์องค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์มังราย ซึงเป็นกษัตริย์ที่ปกครองเมืองเชียงใหม่ในขณะนั้น สร้างขึ้นเพื่ออุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้พญากือนา พระราชบิดา ซึ่งมีตำนานเล่ามาว่า พญากือนาซึ่งได้สวรรคตไปแล้ว ได้ปรากฏตัวแก่พ่อค้าชาวเชียงใหม่ที่เดินทางไปค้าขายที่พม่า ให้มาบอกว่าแก่พญาแสนเมืองมาผู้เป็นโอรสว่า ให้สร้างเจดีย์ไว้ท่ามกลางเวียง ให้สูงใหญ่พอให้คนที่อยู่ไกล 2000 วา สามารถมองเห็นได้ แล้วอุทิศบุญกุศลเหล่านนี้ให้แก่พญากือนา เพื่อให้พญากือนานั้นสามารถไปเกิดในเทวโลกได้ แต่พญาแสนเมืองมาเสด็จสวรรคตเสียก่อน พระนางเจ้าติโลกจุฑาราชเทวีผู้เป็นมเหสีได้สืบทอด เจตนารมณ์สร้างต่อ จนเสร็จในรัชสมัยพญาสามฝั่งแกน ใช้เวลาสร้าง 5 ปี
ต่อมาได้มีการปฏิสังขรณ์ในสมัยพญาติโลกราช (พ.ศ. 1984 - 2030) พระองค์โปรดให้หมื่นด้ามพร้าคต นายช่างใหญ่ทำการปฏิสังขรณ์ โดยมีพระมหาสวามีสัทธัมกิติ เจ้าอาวาสองค์ที่ 7 ของวัดโชติการาม (วัดเจย์หลวง) เป็นกำลังสำคัญในการควบคุมดูแล และประสานงาน การปฏิรูปและก่อสร้างครั้งนี้ได้สร้างขยายเจดีย์ให้ใหญ่กว่าเดิม ใช้เวลาในการก่อสร้าง 3 ปี จึงแล้วเสร็จ
ในสมัยมหาเทวีจิรประภา รัชกาลที่ 15 แห่งราชวงศ์มังราย เกิดพายุฝนตกหนัก แผ่นดินไหว พระมหาเจดีย์หลวงได้พังทลายลงมาเหลือเพียงครึ่งองค์ จากนั้นก็ถูกปล่อยทิ้งร้างไปนานกว่า 4 ศตวรรษ พระมหาเจดีย์หลวงที่เห็นปัจจุบันกรมศิลปกรเพิ่งจะ บูรณปฏิสังขรณ์เสร็จไปเมื่อ พ.ศ. 2535

เจดีย์หลวงตามคติความเชื่อเรื่องจักรวาลวิทยาของชาวลัวะ[แก้]

คติความเชื่อเรื่องจักรวาลวิทยา ในยุคแรกใช้อินทขีลเป็นสัญลักษณ์สะท้อนความเชื่อดั้งเดิมของชาวลัวะซึ่งได้ผสมผสานกับความเชื่อของพราหมณ์ ในระยะต่อมาเมื่อพระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองขึ้นมาก ได้ใช้พระธาตุเจดีย์หลวงเป็นสัญลักษณ์ของศูนย์กลางจักรวาล คตินี้เห็นได้ชัดจากการสร้างเจดีย์หลวงให้สูงใหญ่ ตั้งอยู่กลางใจกลางเมือง เช่นเดียวกับเขาพระสุเมรุ ซึ่งเป็นศูนย์กลางจักรวาล
ปัจจุบันบริเวณวัดเจดีย์หลวงกลางเมืองเชียงใหม่ มีสิ่งสักการะหลากหลายได้แก่ เจดีย์หลวง อินทขีล ต้นยาง กุมภัณฑ์ พระฤๅษี ซึ่งสะท้อนพัฒนาการคติจักรวาลได้ปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ที่แวดล้อมของเมือง
คติเจดีย์หลวงในฐานะศูนย์กลางจักรวาล ปรากฏในคัมภีร์มหาทักษาเมือง กล่าวถึง การสร้างวัดสำคัญในเมืองเชียงใหม่ 9 แห่ง โดยกำหนดให้สอดคล้องกับชัยภูมิ และความเชื่อเรื่องทิศทั้ง 4 และทิศเฉียงอีก 4 เป็น 8 เมื่อทิศทั้ง 8 มาบรรจบกัน เกิดจุดศูนย์กลางรวมกันเป็น 9 ถือเป็นเลขมงคล ตำแหน่งจุดศูนย์กลางเมือง เป็นสะดือเมือง กำหนดให้เป็นเกตุเมืองตรงกับวัดเจดีย์หลวง วัดทั้ง 8 แห่งที่สร้างตามทักษาเมือง คือ[3]
บริวารเมืองทิศตะวันตก (ทิศปัจฉิม)วัดสวนดอก
อายุเมืองทิศตะวันตกเฉียงเหนือ (ทิศพายัพ)วัดเจ็ดยอด
เดชเมืองทิศเหนือ (ทิศอุดร)วัดเชียงยืน
ศรีเมืองทิศตะวันออกเฉียงเหนือ (ทิศอีสาน)วัดชัยศรีภูมิ
มูลเมืองทิศวะวันออก (ทิศบูรพา)วัดบุพพาราม
อุตสาหเมืองทิศตะวันออกเฉียงใต้ (ทิศอาคเนย์)วัดชัยมงคล
มนตรีเมืองทิศใต้ (ทิศทักษิณ)วัดนันทาราม
กาลกิณีเมืองทิศตะวันตกเฉียงใต้ (ทิศหรดี)วัดตโปทาราม

ช้างรอบพระธาตุเจดีย์หลวง[แก้]

มหาเจดีย์หลวงที่พระนางเจ้าติโลกจุฑาราชเทวีทรงก่อสร้างนั้น พระนางทรงให้ยกฉัตรยอดมหาเจดีย์ แล้วปิดด้วยทองคำ พร้อมทั้งเอาแก้ว 3 ลูก ใส่ยอดมหาเจดีย์นั้นไว้ ประดับด้วยโขงประตูทั้ง 4 ด้าน มี พระพุทธรูปปูนปั้นประทับนั่งในโขงทั้ง 4 ด้าน มีรูป พญานาคปั้นเต็มตัว 8 ตัว ตัวละ 5 หัว อยู่ใน 2 ข้างบันได รูปปั้นราชสีห์ 4 ตัว ตั้งอยู่ตรงสี่มุมของมหาเจดีย์ มีรูปปั้นช้างค้ำรายล้อมรอบองค์เจดีย์หลวงนั้นมี 28 เชือก แต่ในประวัติศาสตร์มีเพียง 8 เชือกเท่านั้น ที่มีการตั้งชื่อให้เฉพาะ ซึ่งชื่อช้าง 8 เชือกที่ล้อมเจดีย์หลวง นับจากนับตามลำดับตั้งแต่ตัวที่อยู่ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ (ทิศอีสาน) เวียนมาตามทิศตะวันออก มีดังนี้ [4]
ตัวที่1เมฆบังวันตัวที่2ข่มพลแสน
ตัวที่3ดาบแสนด้ามตัวที่4หอกแสนลำ
ตัวที่5ก๋องแสนแหล้งตัวที่6หน้าไม้แสนเปียง
ตัวที่7แสนเขื่อนก๊านตัวที่8ไฟแสนเต๋า
การสร้างรูปปั้นช้างนั้น เป็นการส่งเสริมกำลังเมืองในทางด้านไสยศาสตร์เพื่อให้เมืองมีความแข็งแรงยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมีพิธีการสักการบูชาพญาช้างทั้ง 8 เชือก เพราะเชื่อว่า จะทำให้เกิดสวัสดิมงคล นำความสงบสุขมาสู่บ้านเมือง ศัตรูไม่กล้ามารุกรานย่ำยีเมืองได้ เพราะชื่อพญาช้างที่ตั้งขึ้นนั้น เป็นพลังอำนาจก่อเกิดเดชานุภาพ อิทธิฤทธิ์ ข่มขู่บดบัง ขวางกั้น กำจัด ปราบปรามอริราชศัตรูที่จะมารุกราน ให้แพ้ภัยแตกพ่ายหนีไปเอง ซึ่งแต่ละชื่อมีความหมายดังนี้ [5]
  1. เมื่อศัตรูยกพลเสนามารุกราน ล่วงล้ำเข้ามาในเขตพระราชอาณาจักร จะเกิดอาเพศ ท้องฟ้ามืดมิดด้วยเมฆหมอกปกคลุม ธรรมชาติวิปริตแปรปรวน น่ากลังยิ่งนัก ทำให้ผู้รุกรานหวาดผวาภัยพิบัติ ตกใจกลัวแตกพ่ายหนีไป จึงได้ชื่อว่า “เมฆบังวัน”
  2. เมื่อผู้รุกรานยกทัพเข้ามาใกล้ แม้จะมีพลโยธาทหารกล้าเรือนแสน ก็จะเกิดอาการมึนเมาลืมหลง ไม่อาจครองสติยับยั้งอยู่ได้ ต้องระส่ำระส่าย แตกพ่ายหนีไป จึงได้ชื่อว่า “ข่มพลแสน”
  3. เมื่อข้าศึกศัตรูผู้รุกรานเข้ามา แม้จะมีกำลังพลมากมาย มีศาตรา มีด พร้า ด้ามคมเป็นแสนๆเล่ม ก็ไม่อาจเข้าใกล้ทำร้ายได้ มีแต่จะเกิดหวาดหวั่นขาดกลัวแตกหนีไป จึงได้ชื่อว่า “ดาบแสนด้าม”
  4. เมื่อข้าศึกศัตรูผู้รุกรานเข้ามารานรบ แม้จะมีกำลังพลกล้าหาญมากมาย มีศาสตราอันคมยาว หอกแหลนหลาวเป็นแสน ก็ไม่อาจเข้ามาราวีได้ จึงต้องแตกพ่ายหนีไป จึงได้ชื่อว่า “หอกแสนลำ”
  5. เมื่อข้าศึกศัตรูผู้รุกรานเข้ามา แม้จะมีกำลังพลจำนวนมาก มีอาวุธปืนเป็นแสนกระบอก ก็ไม่สามารถทำอันตรายได้ ต้องแตกพ่ายหนีไป จึงได้ชื่อว่า “ปืนแสนแหล้ง”
  6. เมื่อผู้รุกรานบุกรุกเข้ามา แม้จะมีกำลังพลมากมาย มีหน้าไม้คันธนูเป็นแสนๆ ไม่สามารถทำอันตรายได้ ต้องแตกพ่ายหนีไป จึงได้ชื่อว่า “หน้าไม้แสนเกี๋ยง”
  7. เมื่อข้าศึกอาจหาญล้ำแดนเข้ามา แม้ด้วยกำลังพลหัตถีนึก กองทัพช้างมีเป็นแสนเชือก ก็ไม่อาจหักหาญเข้ามาได้ มีแต่จะอลม่านแตกตื่นแกหนีไปสิ้น จึงได้ชื่อว่า “แสนเขื่อนกั้น”(บางแห่งเป็น แสนเขื่อนก๊าน)
  8. เมื่อข้าศึกเข้ามาหมายย่ำยี ก็จะเกิดอาการร้อนเร่าเหมือนเพลิงเผาผลาญรอบด้าน เลยแตกพ่ายหนีไปด้วยความทุกข์ทรมาน จึงได้ชื่อว่า “ไฟแสนเต๋า”

สรุปประวัติพระเจดีย์หลวง[แก้]

พระเจดีย์หลวงสร้างขึ้นในรัชสมัยของพญาแสนเมืองมา เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้พญากือนา พระราชบิดา แต่สร้างไม่เสร็จ ได้เสด็จสวรรคตเสียก่อน ต่อมาพระนางเจ้าติโลกจุฑาราชเทวี พระมเหสีของพญาเมืองมา ก่อสร้างต่อจนแล้วเสร็จในรัชสมัยพญาสามฝั่งแกน เรียกกันว่า “กู่หลวง” พญาติโลกราช โปรดให้หมื่นด้ามพร้าคตเป็นนายช่างใหญ่ดำเนินการปฏิสังขรณ์รพระเจดีย์หลวง ตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2021 ในรัชสมัยพระเจ้ายอดเชียงรายได้ปิดทองภายในซุ้มจรนัมของพระเจดีย์ หลวงทั้ง 4 ด้าน
ในรัชสมัยพระเจ้าเมืองแก้ว เมื่อ พ.ศ. 2046 ได้โปรดให้สร้างหอพระแก้ว และอัญเชิญพระแก้วมรกตลงมาประดิษฐาน สร้างมหาวิหาร ส่วนการบูรณะพระเจดีย์หลวงได้ดำเนินการเพียงเล็กน้อย
ในที่สุดเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ ในปีพ.ศ. 2088 ในรัชสมัยพระนางเจ้ามหาเทวีจิรประภา ยอดพระเจดีย์หลวงก็พังทลายลงมา เหลือให้เห็นดังสภาพปัจจุบัน (ก่อนการบูรณะของกรมศิลปกร)

การประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถาน[แก้]

วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ได้รับการประกาศเป็นโบราณสถานสำหรับชาติ ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 52 ตอนที่ 0ง วันที่ 8 มีนาคม 2478 พร้อมกับวัดอีกหลายแห่งในจังหวัดเชียงใหม่[6]

ลำดับเจ้าอาวาส[แก้]

นับตั้งแต่วัดเจดีย์หลวงได้รับการฟื้นฟูในสมัยเจ้าแก้วนวรัฐ วัดเจดีย์หลวงมีเจ้าอาวาสปกครองมาแล้ว 8 รูป[7][8]ดังนี้
ลำดับที่รายนามเริ่มวาระสิ้นสุดวาระ
1พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)พ.ศ. 2471พ.ศ. 2474
2พระครูวินัยธรมั่น ภูริทตฺโตพ.ศ. 2475พ.ศ. 2475
3พระครูนพีสีพิศาลคุณ (ทอง โฆษิโต)พ.ศ. 2476พ.ศ. 2476
4พระพุทธิโศภน (แหวว ธมฺมทินฺโน)พ.ศ. 2477พ.ศ. 2502
5*พระญาณดิลก (พิมพ์ ธมฺมธโร)พ.ศ. 2480พ.ศ. 2483
6พระธรรมดิลก (ขันธ์ ขันติโก)พ.ศ. 2503พ.ศ. 2534
7พระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล)พ.ศ. 2534พ.ศ. 2551
8พระราชเจติยาจารย์ (ชูเกียรติ อภโย)พ.ศ. 2553ปัจจุบัน
  • พระญาณดิลก (พิมพ์ ธมฺมธโร) มาดำรงตำแหน่งพิเศษในฐานะผู้กำกับการคณะสงฆ์ มิใช่เจ้าอาวาส

อ้างอิง[แก้]

  1. กระโดดขึ้น http://www.chiangmainews.co.th/viewnews.php?id=16402&lyo=1
  2. กระโดดขึ้น หนังสือชินกาลมาลีปกรณ์ แปลโดย ศาสตราจารย์แสง มนวิฑูร พิมพ์เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2501
  3. กระโดดขึ้น จิตร ภูมิศักดิ์, เชียงใหม่, หอศิลป์วัฒนธรรม เมืองเชียงใหม่, 2550
  4. กระโดดขึ้น สงวน โชติสุขรัตน์, ประชุมตำนานล้านนาไทย, กรุงเทพฯ, โอเดียนสโตร์, 2515
  5. กระโดดขึ้น ธนจรรย์, พระครู, เกร็ดประวัติวัดเจดีย์หลวง ฉบับสมโภช 700 ปี นครเชียงใหม่, เชียงใหม่, วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร, 2539, หน้า 82-83
  6. กระโดดขึ้น ประกาศกรมศิลปากร กำหนดจำนวนโบราณสถานสำหรับชาติ
  7. กระโดดขึ้น วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2547, หน้า 39
  8. กระโดดขึ้น เจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวงวรวิหารรูปที่ ๘ พระราชเจติยาจารย์ (ชูเกียรติ อภโย)เชียงใหม่นิวส์

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • สงวน โชติสุขรัตน์. ตำนานเมืองเหนือ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2508.
  • ผจงวาด กมลเสรีรัตน์. นิทานพื้นบ้านภาคเหนือ. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น, 2545.
  • สุรพล ดำริห์กุล. แผ่นดินล้านนา. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, 2539.
  • อัจฉรา วรรณเอก. นิทานพื้นบ้านล้านนา. กรุงเทพฯ : โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2539.
  • กระทรวงศึกษาธิการ. เล่าเรื่องเมืองเหนือว่าด้วยสถานที่สำคัญต่าง ๆ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา, 2522.
  • ณัฐกานต์ ลิ่มสถาพร. เชียงใหม่หัวใจล้านนา. กรุงเทพฯ : ภัคธรรศ, 2544.
  • อนุรัตน์ วัฒนาวงศ์สว่าง. เชียงใหม่. กรุงเทพฯ : สารคดี, [2547].
  • สุดารา สุจฉายา. เชียงใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สารคดี, 2543.
  • ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล. ล้านนาอันอุดม. เชียงใหม่ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2549
  • ตำนานพระธาตุวัดเจดีย์หลวง เชียงใหม่. เชียงใหม่ : โรงพิมพ์ศรีหงส์, 2473.
  • เสนอ นิลเดช. ศิลปะสถาปัตยกรรมล้านนา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพนฯ : เมืองโบราณ, 2539.
  • วิทยาลัยครูเชียงใหม่ ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่. วัดสำคัญของนครเชียงใหม่. เชียงใหม่ : วิทยาลัย, 2541.

- ข้อมูลจากประวัติวัดเจดีย์หลวงวรวิหาร อนุญาตให้เผยแพร่โดย เจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวงฯ

------------------------------------------------------------------------------------------------


Moonfleet ได้เดินทางมาเยือน วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร และ ได้ บูชาและอธิษฐาน พระเจดีย์ และ กราบไหว้พระประธานในวิหารแห่งวัดเจดีย์หลวง
ในวันอาทิตย์ ที่ 13 เดือนกันยายน พ.ศ.2552 




 01. วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร  เลขที่ 103 ถ.พระปกเกล้า ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

(ขอบคุณ ข้อมูล จาก http://dannipparn.com/forum-viewthread-action-printable-tid-207.html
โดย: pimnuttapa)

วัดเจดีย์หลวง (โชติอาราม)

ถ.ปกเกล้า  ต.พระสิงห์  อ.เมือง  จ.เชียงใหม่

[พระเกศาธาตุ , พระบรมธาตุส่วนคางเบื้องซ้าย]


ตำนานพระเจ้าเลียบโลก กล่าวว่า...หลังจากที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปวัดนันทาราม อ.เมือง จ.เชียงใหม่ แล้ว ลัวะผู้หนึ่งอาราธนาพระพุทธองค์เสด็จไปเมตตาที่บ้านของเขา พระพุทธเจ้าก็เสด็จจากที่นั้นไปถึงบ้านของลัวะ ประทับเหนือแท่นอาสนะท่ามกลางบ้านแห่งนั้น ลัวะผู้นั้นยังมีนักบวชม่านรูปหนึ่ง มีอายุได้ ๑๒๐ ปีบริบูรณ์ ได้เห็นพระพุทธเจ้าเสด็จมา ก็บังเกิดปสาทยินดีมากกล่าวว่า “ตั้งแต่เราเกิดมา อายุถึง ๑๒๐ ปี และได้บวชนอกศาสนา หาประโยชน์สิ่งใดมิได้ บัดนี้ได้มาพบเห็นพระพุทธเจ้าตอนชราเช่นนี้ ดียิ่งนัก” แล้วก็แก้ผ้าสไบชุบน้ำมันจุดบูชาพระพุทธเจ้า

พระพุทธองค์จึงพยากรณ์ว่า “เมื่อตถาคตมาถึงที่นี้ เขาทั้งหลายมาปักฉัตรและธงถวายบูชา ชีม่านก็จุดผ้าสไบนี้บูชาเป็นอันรุ่งโรจน์โชตนาการยิ่ง ต่อไปภายภาคหน้า คนทั้งหลายจะมาสร้างวัดที่นี้ เป็นอารามใหญ่แห่งหนึ่ง จะปรากฏนามว่า “โชติอาราม” (วัดเจดีย์หลวงปัจจุบัน) พระเจ้าอโศกราชและพระอรหันต์ทั้งหลาย ก็ทูลขอพระเกศาธาตุเอาบรรจุลงในก้นหลุม เอาสมบัติข้างขอถมใส่เป็นจำนวนมาก พระอินทร์ทรงเนรมิตยนตร์จักรผันป้องกันไว้ แล้วก็กลบก่อเจดีย์ครอบสูง ๓ ศอก (บางฉบับว่า ๓๐๐ ศอก) พระพุทธองค์ทรงสั่งพระอรหันต์และพระเจ้าอโศกราชไว้ว่า “เมื่อเราตถาคตนิพพานไปแล้ว ท่านทั้งหลายจงเอาธาตุอุ้งมือข้างขวาของตถาคต มาไว้นี้เถิด”

วัดเจดีย์หลวง หรือ “ วัดโชติการาม ” หรือ “ ราชกูฏา ” หรือ “ กุฏาราม ” ก็เรียก เป็นวัดที่ตั้งอยู่ใจกลางเมืองเชียงใหม่ เลขที่ ๑๐๓ ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ทั้งหมด ๓๒ ไร่ ๑ งาน ๒๗ ตารางวา ทางกรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานเมื่อวันที่ ๑๙ เมษายน พ.ศ.๒๕๐๓ และประกาศกำหนดขอบเขตเมื่อวันที่ ๑๔ มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๓ 


ประวัติวัดเจดีย์หลวง

วัดเจดีย์หลวง เป็นพระอารามหลวงแบบโบราณที่แบ่งเขตพุทธาวาสและสังฆวาสไว้เป็นสัดส่วน คือ มีเขตพุทธาวาส ๑ แห่ง และสังฆวาส ๔ แห่ง  คือ เขตพุทธาวาส ตั้งอยู่กึ่งกลางสังฆวาสทั้ง ๔ แห่ง ที่อยู่โดยรอบทั้ง ๔ ทิศ 

เขตพุทธาวาส นี้มีศาสนสถานที่สำคัญคือ พระบรมธาตุเจดีย์หลวง พระวิหารหลวง พระพุทธไสยาสน์ และพระเจดีย์เล็กอีก ๒ องค์ แต่เดิมนั้นเขตพุทธาวาสมีกำแพงล้อมรอบเป็นเอกเทศ ต่อมาได้มีการรื้อกำแพงออกในราว พ.ศ.๒๔๘๐–๒๔๘๑ 

เขตสังฆาวาส มี ๔ แห่ง ได้แก่ 
๑. สังฆาวาสวัดสุขมิ้น (สุขุมินท์ ก็เรียก) ตั้งอยู่ทางทิศใต้ขององค์พระบรมธาตุเจดีย์ ปัจจุบันเป็นโรงเรียนเมตตาศึกษา 
๒. สังฆาวาสสบฝาง (ป่าฝาง ก็เรียก) ตั้งทางทิศตะวันตกขององค์พระบรมธาตุเจดีย์ ปัจจุบันเป็นศาลาปฏิบัติธรรม 
๓. สังฆาวาสหอธรรม ตั้งทางทิศเหนือขององค์พระบรมธาตุเจดีย์ ปัจจุบันคือคณะหอธรรมของวัดเจดีย์หลวง 
๔. สังฆาวาสพันเตา คือวัดพันเตาในปัจจุบัน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือขององค์พระบรมธาตุเจดีย์





 02. พระธาตุเจดีย์หลวง วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร  ถ.พระปกเกล้า ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

พระธาตุเจดีย์หลวงนั้นถือว่าเป็นพระธาตุที่มีความสูงที่สุดในภาคเหนือ หรือล้านนา คือ สูงประมาณ 80 เมตร เมตร ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส กว้างประมาณด้านละ 60 เมตร ถูกสร้างขึ้นในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 20 ถือว่าเป็นเจดีย์ที่มีความสำคัญที่สุดของเมืองเชียงใหม่.


 03. พระวิหาร วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร  ถ.พระปกเกล้า ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.



 04.พระวิหาร วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร  ถ.พระปกเกล้า ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 05. ต้นยางนา บริเวณหน้าวัดเจดีย์หลวงวรวิหาร

เดิมทีจะมีต้นยางนาใหญ่อยู่ สองต้น  แต่เมื่อไม่นานมานี้ ต้นยางนาต้นหนึ่งก็ได้ล้มลง...


 06. หออินทขีล : วิหารจตุรมุขทรงไทยหลังเล็ก ๆ

ในวัดเจีดย์หลวงนี้ยังมี เสาอินทขิล หรือ เสาหลักเมือง สร้างขึ้นเมื่อครั้งพ่อขุนเม็งรายมหาราชสร้างเมืองเชียงใหม่ เมื่อ พ.ศ. ๑๘๓๙ ประดิษฐานอยู่ในวิหารจตุรมุขทรงไทยหลังเล็ก ๆ 

เสาอินทขิลนี้สร้างด้วยไม้ซุงต้นใหญ่ ฝังอยู่ใต้ดิน ทุกปีในวันแรม ๑๒ ค่ำเดือน ๘ (เหนือ) หรือประมาณเดือนพฤษภาคมจะมีงานเรียกว่า เข้าอินทขิล เป็นการฉลองหลักเมือง

 07.  หออินทขีล และ ต้นยางนาวัดเจดีย์หลวง วรวิหาร  ถ.พระปกเกล้า ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 08. พระวิหาร วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร  ถ.พระปกเกล้า ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 09. พระพุทธอัฏฐารส (จำลอง) อยู่ภายในวิหารวัดเจดีย์หลวง ถ.พระปกเกล้า  อ.เมือง จ.เชียงใหม่.


 10. พระพุทธอัฏฐารส พระประธาน ในวิหารวัดเจดีย์หลวง ถ.พระปกเกล้า  อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

(ขอบคุณ ข้อมูล จาก http://dannipparn.com/forum-viewthread-action-printable-tid-207.html
โดย: pimnuttapa)



 11.พระพุทธอัฏฐารส พระประธาน ในวิหารวัดเจดีย์หลวง ถ.พระปกเกล้า  อ.เมือง จ.เชียงใหม่.


 12.มหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา อยู่ภายในบริเวณของวัดเจดีย์หลวงวรวิหาร


 13. พระธาตุเจดีย์หลวง วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร  ถ.พระปกเกล้า ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

พระธาตุเจดีย์หลวงนั้นถูกสร้างขึ้นในในรัชสมัยพญาแสนเมืองมา (พ.ศ. 1928 - 1945) กษัตริย์องค์ที่ 7 แห่งราชวงศ์มังราย ซึงเป็นกษัตริย์ที่ปกครองเมืองเชียงใหม่ในขณะนั้น สร้างขึ้นเพื่ออุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้พญากือนา พระราชบิดา ซึ่งมีตำนานเล่ามาว่า พญากือนาซึ่งได้สวรรคตไปแล้ว ได้ปรากฏตัวแก่พ่อค้าชาวเชียงใหม่ที่เดินทางไปค้าขายที่พม่า ให้มาบอกว่าแก่พญาแสนเมืองมาผู้เป็นโอรสว่า ให้สร้างเจดีย์ไว้ท่ามกลางเวียง ให้สูงใหญ่พอให้คนที่อยู่ไกล 2000 วา สามารถมองเห็นได้ แล้วอุทิศบุญกุศลเหล่านนี้ให้แก่พญากือนา เพื่อให้พญากือนานั้นสามารถไปเกิดในเทวโลกได้ แต่พญาแสนเมืองมาเสด็จสวรรคตเสียก่อน พระนางเจ้าติโลกจุฑาราชเทวีผู้เป็นมเหสีได้สืบทอด เจตนารมณ์สร้างต่อ จนเสร็จในรัชสมัยพญาสามฝั่งแกน ใช้เวลาสร้าง 5 ปี.

 14.พระธาตุเจดีย์หลวง วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร  ถ.พระปกเกล้า ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

ต่อมาได้มีการปฏิสังขรณ์ในสมัยพญาติโลกราช (พ.ศ. 1984 - 2030) พระองค์โปรดให้หมื่นด้ามพร้าคต นายช่างใหญ่ทำการปฏิสังขรณ์ โดยมีพระมหาสวามีสัทธัมกิติ เจ้าอาวาสองค์ที่ 7 ของวัดโชติการาม (วัดเจย์หลวง) เป็นกำลังสำคัญในการควบคุมดูแล และประสานงาน การปฏิรูปและก่อสร้างครั้งนี้ได้สร้างขยายเจดีย์ให้ใหญ่กว่าเดิม ใช้เวลาในการก่อสร้าง 3 ปี จึงแล้วเสร็จ

 15.พระธาตุเจดีย์หลวง วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร  ถ.พระปกเกล้า ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

ในสมัยมหาเทวีจิรประภา รัชกาลที่ 15 แห่งราชวงศ์มังราย เกิดพายุฝนตกหนัก แผ่นดินไหว พระมหาเจดีย์หลวงได้พังทลายลงมาเหลือเพียงครึ่งองค์ จากนั้นก็ถูกปล่อยทิ้งร้างไปนานกว่า 4 ศตวรรษ พระมหาเจดีย์หลวงที่เห็นปัจจุบันกรมศิลปกรเพิ่งจะ บูรณปฏิสังขรณ์เสร็จไปเมื่อ พ.ศ. 2535

 16.พระธาตุเจดีย์หลวง วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร  ถ.พระปกเกล้า ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 17.พระธาตุเจดีย์หลวง วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร  ถ.พระปกเกล้า ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 18.พระธาตุเจดีย์หลวง วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร  ถ.พระปกเกล้า ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 19.พระธาตุเจดีย์หลวง วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร  ถ.พระปกเกล้า ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 20.พระธาตุเจดีย์หลวง วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร  ถ.พระปกเกล้า ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 21.พระธาตุเจดีย์หลวง วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร  ถ.พระปกเกล้า ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 22.

 23.

 24.

 25.

 26.

 27.

 28.

 29.

 30.

 31.

 32.

 33.

 34.

 35.

 36.

37.


ภาพบันทึกการเดินทางของ Moonfleet  ที่ได้มาเยือน วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร และ ได้ บูชาและอธิษฐาน พระเจดีย์ และ กราบไหว้พระประธานในวิหารแห่งวัดเจดีย์หลวง
ในวันอาทิตย์ ที่ 13 เดือนกันยายน พ.ศ.2552 

------------------------------------------------------------------------

ภาพบันทึก การมาเยือน วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร  ของ Moonfleet
วันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2553

 01.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 02.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 03.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.




 04.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 05.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 06.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 07.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

(ขอบคุณ ข้อมูล จาก http://dannipparn.com/forum-viewthread-action-printable-tid-207.html

โดย: pimnuttapa)

บันไดนาคทางขึ้น/ลง ด้านหน้า พระวิหารหลวง วัดเจดีย์หลวง ค่ะ

ประวัติพญานาค คู่ชูเศียรเหนือราวบันไดขึ้นพระวิหารหลวง วัดเจดีย์หลวง

กล่าวกันว่า เป็นพญานาคที่สวยที่สุดคู่หนึ่งในภาคเหนือ สร้างได้สัดส่วนสวยงามให้มีสีสีนลวดลายปูนปั้นเกล็ดนาค ฝีมือประณีตงดงามมาก นาคคู่ราวบันไดพระวิหารหลวงนี้ได้รับการสร้างพร้อมกับการสร้างพระวิหารหลังแรก (พ.ศ.๑๙๕๔) แต่รื้อ/สร้างหรือบูรณะใหม่ตามการรื้อ/สร้างหรือบูรณะใหม่พระวิหารหลายครั้ง

๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ เวลา ๐๘.๓๐ น. เกิดอุบัติเหตุนั่งร้านเหล็กล้มใส่เศียรพญานาคทั้งคู่ ทำให้ตัวด้านเหนือเศียรขาด ตัวด้านใต้หงอนขาด (๓ พ.ย. ๒๕๕๑ ประชุมตกลงรูปแบบการบูรณะ ๑๙ พ.ย. ๒๕๕๑ ทำพิธีสูตรถอนแบบพื้นเมือง เพื่อทำการบูรณะ) พระครูปัญญา แห่งวัดแสนฝาง เมืองเชียงใหม่ เป็นผู้สร้างพญานาค สร้างในยุคเดียวกันพญานาควัดแสนฝาง อำเภอเมือง, วัดป่าแง อำเภอแม่ริม, วัดหัวริน อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ พระครูปัญญามีชีวิตร่วมสมัยรัชกาลที่ ๔ ราชวงศ์จักรี แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ สวรรคต พ.ศ.๒๕๑๑) 

พระวิหารหลวงหลังที่พระครูปัญญาสร้างพญานาค เป็นวิหารหลังเก่าที่พระเจ้าอินทวิชยานนท์รื้อออก แล้วทรงสร้างพระวิหารหลังใหม่ศิลปะแบบล้านนาแทนเมื่อปี พ.ศ.๒๔๒๓ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.๒๔๗๑ พระเดชพระคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจันโท) ให้รื้อพระวิหารหลวงที่พระเจ้าอินทวิชยานนท์สร้างนั้นเสีย 

ปีพ.ศ.๒๔๗๒ จึงสร้างพระวิหารหลวงหลังใหม่ศิลปสถาปัตยกรรมแบบภาคกลางกรุงเทพฯ พอปีพ.ศ.๒๕๔๘ ทางวัดจึงรื้อพระวิหารแบบภาคกลางออก (ฐาน/ผนังคงไว้) แล้วสร้างหรือบูรณะพระวิหารตามแบบสถาปัตยกรรมล้านนาที่พระเจ้าอินทวิชยานนท์ทรงสร้างเมื่อปี พ.ศ.๒๔๒๓ ขึ้นอีกครั้ง...พระวิหารหลังเก่า (นำแบบมาสร้างใหม่) พญานาคคู่เก่า (บูรณะใหม่ให้เหมือนเก่า) ย้อนยุคมาบรรจบกันอีกครั้ง

 08.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 09.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 10.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 11.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร เป็นวัดใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในเชียงใหม่ปัจจุบันยอดเจดีย์ได้หักพังลงมาเมื่อคราวเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ในปี พ.ศ. ๒๐๘๘ วัดเจดีย์หลวงจึงเป็นโบราณสถานอันเก่าแก่อีกแห่งหนึ่งที่น่าท่องเที่ยว 

ที่ตั้ง 
ตั้งอยู่บนถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

 12.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

ประวัติ 

สร้างในสมัย"พญาแสนเมืองมา" เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ลำดับที่ ๗ แห่งราชวงศ์มังราย พ.ศ.๑๙๓๑ - ๑๙๕๔ เพื่ออุทิศส่วนกุศลถวายแด่"พญากือนา" พระราชบิดา แต่ยังสร้างไม่เสร็จ ก็สิ้นพระชนม์เสียก่อน 


ต่อมาพระมเหสีได้ควบคุมการก่อสร้างต่อจนแล้วเสร็จในสมัย "พญาสามฝั่งแกน" 
เรียกว่า"กู่หลวง" แรกสร้างเป็นเจดีย์เล็ก ๆ ทรงสี่เหลี่ยมฐานกว้างด้านละ ๑๔ เมตร สูง๒๔ เมตร


ต่อมาในสมัย"พระเจ้าติโลกราช" รัชกาลที่ ๙ แห่งราชวงศ์มังราย พ.ศ.๑๙๘๕ - ๒๐๓๐ โปรดให้
"หมื่นด้ามพร้าคต" เป็นนายช่างใหญ่สร้างเสริมเจดีย์ใหม่ เริ่มสร้างตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๐๒๐ แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ. ๒๐๒๕ โดยขยายฐานให้กว้างออกถึง ๕๖ เมตร สูง ๙๕ เมตร สามารถมองเห็นได้แต่ไกล
แล้วอัญเชิญพระแก้วมรกตมาประดิษฐานที่มุขด้านตะวันออกของเจดีย์เป็นเวลานานถึง ๘๐ ปี ตั้งแต่พ.ศ. ๒๐๑๐ - ๒๐๙๑ 


ต่อมาในสมัย"พระมหาเทวีจิระประภา" รัชกาลที่ ๑๕ แห่งราชวงศ์มังราย พ.ศ. ๒๐๘๘ - ๒๐๘๙ 
ในปีพ.ศ. ๒๐๘๘ ต่อมามีฝนตกหนัก และเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ เป็นสาเหหตุให้ส่วนยอดของเจดีย์หักพังเหลือเพียงครึ่งองค์ เกิดรอยร้าวที่องค์พระเจดีย์สุดที่จะแก้ไขได้ จึงถูกทิ้งร้างมานานถึง ๔๔๕ ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๓๓ กรมศิลปกรได้ทำการบูรณะจนเป็นดังที่เห็นเช่นปัจจุบันนี้

 13.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 14.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 15.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 16.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 17.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 18.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 19.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 20.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 21.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 22.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 23.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 24.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 25.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 26.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 27.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 28.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 29.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 30.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 31.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 32.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 33.เสาอินทขิล วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

เสาอินทขิล หรือ เสาหลักเมือง 
ตั้งอยู่กลางวิหารจตุรมุขศิลปะแบบล้านนาประยุกต์ เป็นเสาอิฐก่อปูนตัดกระจกสี รอบเสาวัดได้ ๕.๖๗ เมตร สูง ๑.๓๐ เมตร แท่นพระบนเสาอินทขิลสูง ๙๗ เซนติเมตร รอบแท่นวัดได้ ๒.๔ เมตร บนเสาอินทขิลมีพะรพุทธรูปทองสำริดปางรำพึง ประดิษฐานอยู่ภายในบุษบก พลตรี เจ้าราชบุตร (วงศ์ตะวัน ณ เชียงใหม่) นำมาถวายวัดเจดีย์หลวงเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๔ เพื่อให้ชาวเมืองได้สักการะคู่กัน

ตำนานเสาอินทขิล การสร้างเสาอินทขิลเริ่มจากชาวลัวะซึ่งเป็นชนพื้นเมืองในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำปิง เชิงดอยสุเทพ ได้ก่อตั้งชุมชนระดับเวียงหลายแห่งในบริเวณนี้ เช่นเวียงเชษฐบุรี เวียงสวนดอก เวียงนพบุรี เมื่อตั้งเวียงนพบุรีได้ตั้งเสาอินทขิลขึ้นเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวเมือง พร้อมกับมอบกุมภัณฑ์สองตนทำหน้าที่รักษาเวียงให้มั่นคง ตามคำแนะนำของฤาษี ชาวเมืองต้องทำพิธีบูชาเสาอินทขิลและเลี้ยงกุมภัณฑ์ หากปล่อยปละละเลยไม่บูชาบ้านเมืองจะวินาศ


ส่วนเสาอินทขิลที่ประดิษฐานอยู่ที่วัดเจดีย์หลวงนั้น มีบันทึกไว้ว่าพญามังรายมหาราช ปฐมกษัตริย์ทรงสร้างเสาอินทขิล เมื่อครั้งสถาปนา "นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่" ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๑๘๓๙ เดิมอยู่ที่วัดสะดือเมืองหรือวัดอินทขิล กลางเวียงเชียงใหม่ (ปัจจุบันคือหอประติโลกราช ข้างศาลากลางหลังเก่า) ครั้ง"พระเจ้ากาวิละ"ครองเมืองเชียงใหม่ ได้ย้ายมาประดิษฐานที่วัดเจดีย์หลวง โดยบูรณะขึ้นใหม่เป็นเสาปูน พร้อมกับทำการบวงสรวงเป็นพระเพณีสืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน


เครื่องสังเวยพลีกรรม หรือเครื่องบูชาเสาอินทขิล
ได้แก่ ขันตั้ง ๑๒ ขัน ขันประธาน ๑ ขัน ขันบริวาร ๑๑ ขัน

คำบูชาเสาอินทขิล
"อินทะขีลัง สิทธิชัยยะ อินทะขีลัง สิทธิชัยยะอินทะขีลัง มังคะลัตถิ อินทะขีลัง โสตถิมังคะลัง"

 34.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 35.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 36.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 37.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 38.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 39.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 40.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 41.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 42.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 43.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 44.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 45.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 46.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 47.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 48.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 49.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 50.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 51.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 52.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 53.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 54.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 55.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 56.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 57.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

 58.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

59.วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.

ภาพ วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่.
เมื่อ 01 เมษายน พ.ศ.2553

------------------------------------------------------------------------------------

Moonfleet ได้มาเยือน วิหารจตุรมุข แห่ง วัดเจดีย์หลวง ถ.พระปกเกล้า อ.เมือง จ.เชียงใหม่ สถานที่ประดิษฐานของ "เสาอินทะขีล"  หรือ "เสาพระอินทร์". เมื่อ วันที่ 13 มกราคม พ.ศ.2553


 01.พระพุทธรูปฝนแสนห่า@วัดเจดีย์หลวง ถ.พระปกเกล้า อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 02.วัดเจดีย์หลวง ถ.พระปกเกล้า อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

 03.วิหารจตุรมุข วัดเจดีย์หลวง ถ.พระปกเกล้า อ.เมือง จ.เชียงใหม่ สถานที่ประดิษฐานของ "เสาอินทะขีล" หรือ "เสาพระอินทร์".

 04.วิหารจตุรมุข วัดเจดีย์หลวง ถ.พระปกเกล้า อ.เมือง จ.เชียงใหม่ สถานที่ประดิษฐานของ "เสาอินทะขีล" หรือ "เสาพระอินทร์".

 05.วิหารจตุรมุข วัดเจดีย์หลวง ถ.พระปกเกล้า อ.เมือง จ.เชียงใหม่ สถานที่ประดิษฐานของ "เสาอินทะขีล" หรือ "เสาพระอินทร์".

 06.  แผ่นจารึก ตำนานเสาอินทขีล โดยสังเขป

ตำนานเสาอินทขิล การสร้างเสาอินทขิลเริ่มจากชาวลัวะซึ่งเป็นชนพื้นเมืองในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำปิง เชิงดอยสุเทพ ได้ก่อตั้งชุมชนระดับเวียงหลายแห่งในบริเวณนี้ เช่น เวียงเชษฐบุรี เวียงสวนดอก เวียงนพบุรี เมื่อตั้งเวียงนพบุรีได้ตั้งเสาอินทขิลขึ้นเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวเมือง พร้อมกับมอบกุมภัณฑ์สองตนทำหน้าที่รักษาเวียงให้มั่นคง ตามคำแนะนำของฤาษี ชาวเมืองต้องทำพิธีบูชาเสาอินทขิลและเลี้ยงกุมภัณฑ์ หากปล่อยปละละเลยไม่บูชาบ้านเมืองจะวินาศ.


 07. อินทขีล

อินทขีล หมายถึง เสาของพระอินทร์ ตำนานระบุว่า เป็นเสาที่พระอินทร์ประทานให้แก่ชาวลัวะ โดยให้กุมภัณฑ์ 2 ตน หามเสาอินทขีลลงมาจากฟ้า แล้วทำหน้าที่รักษาอินทขีล เชื่อกันว่าฝังอยู่ใต้ดิน

ชาวเชียงใหม่เชื่อถืออินทขีลเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง มีฐานะเป็นเสื้อเมืองมีอิทธิฤทธิ์ ให้บ้านเมืองพ้นจากภัย และ บัลดาลให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ จึงมีประเพณีบูชาเรียกว่า "เข้าอินทขีล" ในเดือน 8 เหนือ เป็นประจำทุกปี.


 08. Inthakhin.

 09. คำบูชา ดอกไม้ไหว้เสาอินทะขิีล.

 10. วิหารจตุรมุข วัดเจดีย์หลวง ถ.พระปกเกล้า อ.เมือง จ.เชียงใหม่ สถานที่ประดิษฐานของ "เสาอินทะขีล" หรือ "เสาพระอินทร์".

เสาอินทขิลที่ประดิษฐานอยู่ที่วัดเจดีย์หลวงนั้น มีบันทึกไว้ว่าพญามังรายมหาราช ปฐมกษัตริย์ทรงสร้างเสาอินทขิล เมื่อครั้งสถาปนา "นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่" ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๑๘๓๙ เดิมอยู่ที่วัดสะดือเมืองหรือวัดอินทขิล กลางเวียงเชียงใหม่ (ปัจจุบันคือหอประติโลกราช ข้างศาลากลางหลังเก่า) ครั้ง"พระเจ้ากาวิละ"ครองเมืองเชียงใหม่ ได้ย้ายมาประดิษฐานที่วัดเจดีย์หลวง โดยบูรณะขึ้นใหม่เป็นเสาปูน พร้อมกับทำการบวงสรวงเป็นพระเพณีสืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน

Source
:http://www.med.cmu.ac.th/secret/admin/web/custom8.html


 11. วิหารจตุรมุข วัดเจดีย์หลวง ถ.พระปกเกล้า อ.เมือง จ.เชียงใหม่ สถานที่ประดิษฐานของ "เสาอินทะขีล" หรือ "เสาพระอินทร์".

 12. วิหารจตุรมุข วัดเจดีย์หลวง ถ.พระปกเกล้า อ.เมือง จ.เชียงใหม่ สถานที่ประดิษฐานของ "เสาอินทะขีล" หรือ "เสาพระอินทร์".

 13. วิหารจตุรมุข วัดเจดีย์หลวง ถ.พระปกเกล้า อ.เมือง จ.เชียงใหม่ สถานที่ประดิษฐานของ "เสาอินทะขีล" หรือ "เสาพระอินทร์".

 14. วิหารจตุรมุข วัดเจดีย์หลวง ถ.พระปกเกล้า อ.เมือง จ.เชียงใหม่ สถานที่ประดิษฐานของ "เสาอินทะขีล" หรือ "เสาพระอินทร์".

 15. วิหารจตุรมุข วัดเจดีย์หลวง ถ.พระปกเกล้า อ.เมือง จ.เชียงใหม่ สถานที่ประดิษฐานของ "เสาอินทะขีล" หรือ "เสาพระอินทร์".

 16. วิหารจตุรมุข วัดเจดีย์หลวง ถ.พระปกเกล้า อ.เมือง จ.เชียงใหม่ สถานที่ประดิษฐานของ "เสาอินทะขีล" หรือ "เสาพระอินทร์".

 17. วิหารจตุรมุข วัดเจดีย์หลวง ถ.พระปกเกล้า อ.เมือง จ.เชียงใหม่ สถานที่ประดิษฐานของ "เสาอินทะขีล" หรือ "เสาพระอินทร์".

 18.พระวิหาร วัดเจดีย์หลวง ถ.พระปกเกล้า อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 


 19.พญายักขราช (ศาลใต้)

 20.พญายักขราช (ศาลใต้)

 21.พญายักขราช (ศาลใต้)

พญายักขราช (ศาลใต้)
สร้างวันเสาร์ ขึ้น 11 ค่ำ เดือน 7 พ.ศ.2343 พระเจ้ากาวิละให้ก่อรูปกุมภัณฑ์ 2 ตน ไว้หน้าวัดโชติการาม (วัดเจดีย์หลวง) ยักษ์/กุมภัณฑ์ 2 ตนนี้ คอยพิทักษ์เสาอินทขีลหลักเมืองเชียงใหม่

(ตำนานเมืองเชียงใหม่ ฉบับพระพุทธิมาผูก 7 หน้า 13)

 22.อมรเทพ (ศาลเหนือ)

 23.อมรเทพ (ศาลเหนือ)

 24.อมรเทพ (ศาลเหนือ)

 25.แผ่นจารึก: อมรเทพ (ศาลเหนือ)

อมรเทพ (ศาลเหนือ)

สร้างวันเสาร์ ขึ้น 11 ค่ำ เดือน 7 พ.ศ.2343 พระเจ้ากาวิละให้ก่อรูปกุมภัณฑ์ 2 ตน ไว้หน้าวัดโชติการาม (วัดเจดีย์หลวง) ยักษ์/กุมภัณฑ์ 2 ตนนี้ คอยพิทักษ์เสาอินทขีลหลักเมืองเชียงใหม่

(ตำนานเมืองเชียงใหม่ ฉบับพระพุทธิมาผูก 7 หน้า 13)


26.อมรเทพ (ศาลเหนือ)


-----------------------------------------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ข้อมูลและภาพ จาก http://www.chiangmainews.co.th/page/archives/488575


เล่าขานตำนานอินทขิล

โดย จักรพงษ์ คำบุญเรือง

jakpong@chiangmainews.co.th


ความเป็นมาของเสาอินทขิล ซึ่งปรากฏอยู่ในตำนานสุวรรณคำแดงได้กล่าวว่า ในสมัยก่อนบริเวณที่ตั้งของเมืองเชียงใหม่เป็นที่ตั้งเมืองของพวกลัวะ ซึ่งมักจะถูกผีร้ายรบกวนต่าง ๆ นานาจนเป็นที่เดือดร้อนทั่วทั้งเมือง พระอินทร์ทรงเล็งเห็นความเดือดร้อนของพลเมือง ก็คิดจะช่วยเหลือโดยได้บอกให้ชาวเมืองถือศีลรักษาคำสัตย์ บ้านเมืองจึงรอดพ้นจากอันตราย ชาวเมืองก็เชื่อฟังและปฏิบัติตาม. 

เมื่อพระอินทร์เห็นว่าชาวเมืองมีสัตย์ดีแล้วจึงบันดาลให้บ่อเงินบ่อทองและบ่อแก้วขึ้นภายในเมืองและให้ชาวเมืองอธิษฐานเอาตามความปรารถนา เมืองนี้จึงได้ชื่อว่า “เมืองนพบุรี”

อาณาจักรลัวะหรือละว้าโบราณที่มาของตำนานเสาอินทขิลนี้นั้น มีศูนย์กลางการปกครองหรือราชธานีอยู่ที่ เวียงเชษฐบุรี หรือ เวียงเจ็ดริน (อยู่เชิงดอยสุเทพด้านทิศตะวันออก สถานที่เลี้ยงโคนมกรมปศุสัตว์และสถาบันเทคโนโลยีราชมงคลปัจจุบัน) และ เวียงนพบุรีในเวลาต่อมา แล้วก็ล่มสลายในสมัยขุนหลวงวิรังคะ ราชันย์แห่งขุนเขาผู้ยิ่งยงเมื่อต้องพ่ายแพ้ พระนางจามเทวี แห่งอาณาจักรหริภุญไชยในการทำสงครามเมื่อ พ.ศ.1211 (พ.ศ.1204 วาสุเทพฤาษีสร้างเมืองหริภุญไชย, พ.ศ.1206 พระนางจามเทวีครองเมืองหริภุญไชย, พ.ศ.1211 เกิดสงครามกับขุนหลวงวิรังคะ, พ.ศ.1213 พระนางจามเทวีสละราชสมบัติ)

 01.

อาณาจักรลัวะโบราณรุ่งเรืองมั่งคั่งสมบูรณ์ด้วยทรัพยากร ทรัพย์ในดิน สินในน้ำ ตำนานกล่าวไว้ว่า บ้านเมืองของลัวะมีขุมทรัพย์คือ บ่อเงิน บ่อทอง บ่อแก้ว อยู่ตามทิศต่าง ๆ ผู้คนตั้งสัจจาธิษฐานเอาได้ตามปรารถนา และมีผู้คนพลเมืองมาก มีเมืองสำคัญๆหลายแห่ง เช่น เวียงสวนดอก ทางทิศใต้เวียงเชษฐบุรีและเวียงนพบุรี (เมืองใหม่/เมืองทั้ง 9 ตามชื่อเศรษฐีลัวะ 9 ตระกูล) ซึ่งเป็นเมืองใหญ่ยาว 1,000 วา กว้าง 900 วา อยู่ทางทิศตะวันออกของเวียงเชษฐบุรี เป็นศูนย์กลางการปกครองของอาณาจักรลัวะแห่งสุดท้าย ก่อนล่มสลายในสมัยขุนหลวงวิรังคะดัวกล่าวแล้ว
เศรษฐีลัวะ 9 ตระกูลที่ทำการปกครองอาณาจักรลัวะครั้งโบราณก็มี ..โชติกเศรษฐี เมณฑกะเศรษฐี ภัททิยะเศรษฐี ชติละเศรษฐี เศรษฐีพ่อเรือน เศรษฐีปอเลิงหรือพ่อเลี้ยง เศรษฐีหมื่นล้าน เศรษฐีพันเตา พญาวีวอ..เศรษฐีทั้ง 9 ตระกูลนี้แบ่งหน้าที่ปกครองอาณาจักรตามเขตหรือภูมิภาคต่าง ๆ และ 3 ตระกูลร่วมกันบริหารคุ้มครองบ่อเงิน 3 ตระกูลบริหารคุ้มครองบ่อทอง 3 ตระกูลบริหารคุ้มครองบ่อแก้วแรกเริ่มนั้น ชาวลัวะเป็นชาวป่ากึ่งอารยชนยังไม่มีศาสนา การสร้างบ้านแปงเมือง การปกครองอาณาจักรต้องอาศัยหมอผี และพระดาบสฤาษีที่ถือศีลบำเพ็ญพรตอยู่ตามป่าเขาเป็นวิศกร เป็นสถาปนิกที่ปรึกษา เป็นที่กราบไหว้บูชาและเป็นสื่อกลางติดต่อกับผีสางเทวดา ที่ปรากฏให้เห็นในลักษณะของปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ ที่ลึกลับน่าสะพรึงกลัวที่ให้ทั้งคุณและโทษ ที่พวกเขาเกรงกลัว ต้องเซ่นไหว้ทำพลีกรรม

 02.

การสร้างเวียงนพบุรีของลัวะ ที่มีพระฤาษีเป็นที่ปรึกษากำหนดขอบเขตและแบบแปลนแผนผังของเมืองให้ รวมทั้งเป็นสื่อติดต่อขอเสาหลักเมืองที่ทำด้วยศิลาแท่งทึบจากพระอินทร์มาให้นั้น เสาหลักเมืองจึงได้ชื่อว่า เสาอินทขิล ตั้งแต่นั้นมา (พระอินทร์/เทวดา อาจหมายถึงกษัตริย์เมืองอื่นที่มีอำนาจเหนือชาวลัวะก็ได้ คำว่า “อินทขิล” หมายถึงเสาเขื่อนหรือเสาประตูเมือง เวียงป่าซางก็มีเสาอินทขิล แม่แตงก็มีตำบลอินทขิล คงมิได้หมายความว่าตำบลที่พระอินทร์มอบให้) แม้เสาหลักเมืองนพบุรีศรีเชียงใหม่ ที่ชนชาติไทยสร้างขึ้นภายหลังในถิ่นที่แผ่นดินเก่าของลัวะ ก็ให้ชื่อว่า เสาอินทขิลถือเป็นมงคลนามตามนั้นด้วย เสาอินทขิลมีอยู่ด้วยกัน 3 ต้นคือ
ต้นที่ 1 นั้นเมื่อตั้งอยู่ในบ้านเมืองใด ถ้าพระยาอามาตย์พร้อมใจกันกราบไหว้บูชา จะอยู่เจริญผาสุก แม้ข้าศึกศัตรูมารุกรานก็แตกพ่ายหนีไปและล้มตายหมดสิ้น
ต้นที่ 2 ต้นท่ามกลาง เมื่อตั้งอยู่ที่ในบ้านเมืองใด ถ้าพร้อมใจกันทำการกราบไหว้บูชา ก็จะเจริญผาสุก มั่งมีด้วยทรัพย์สินสมบัติ มีเดชานุภาพ แม้ข้าศึกศัตรูมารุกรานก็จะพ่ายแตกไปโดยไม่ต้องออกรบ
ต้นที่ 3 ตั้งอยู่บ้านเมืองใด เมื่อพร้อมใจกันทำการกราบไหว้บูชาแล้ว ข้าศึกศัตรูไม่อาจเข้ามารุกรานผ่านเขตแดนได้
พระอินทร์ได้ประทานเสาอินทขิลต้นที่ 2 ให้เวียงนพบุรี โดยให้กุมภัณฑ์ 2 ตนเอาเสาอินทขิลใส่สาแหรกหามนำมาประดิษฐานไว้เหนือแท่นกลางเมืองนพบุรี ที่ข้างล่างแท่นเป็นหลุมกว้าง 7 วา 1 ศอก ลึก 2 วา ตบแต่งผนังเลื่อมมันมั่นคงแข็งแรงดีแล้ว เอารูปสัตว์ต่าง ๆ บรรดามีในโลก ทั้งสัตว์น้ำสัตว์บก อย่างละคู่ (ผู้ตัวเมียตัว) ที่หล่อด้วยทองบรรจุไว้ในวัดเจดีย์หลวงในปัจจุบัน มีรูปปั้นกุมภัณฑ์อยู่สองศาลสองตน รูปพระฤาษีหนึ่งตน ถือเป็นของคู่กันกับเสาอินทขิล “เมื่อจุลศักราช 1162 ปีวอกโทศก (พ.ศ.2343) พระเจ้ากาวิละได้ก่อรูปกุมภัณฑ์ 1 คู่ รูปฤาษี 1 ตน ไว้ ณ วัดเจดีย์หลวง กลางเมืองฯ”
เมื่อครั้งพระเจ้ามังรายทรงเตรียมจะสร้างเมืองเชียงใหม่ ปี พ.ศ.1835 ณ บริเวณป่าละเมาะพงหญ้าคาพื้นที่ตั้งเมืองเชียงใหม่เก่าขณะนี้ “ก็ได้พบทรากเมืองเก่าลักษณะสัณฐานรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส ในขณะที่พญามังรายให้เสนาข้าราชบริพารแผ้วถางทรากเวียงเก่านั้น ได้พบโบราณวัตถุคือรูปกุมภัณฑ์ก่ออิฐถือปูน สืบมาจากชนชาวลัวะ เสนาบางพวกจะทำลายบางพวกห้ามไว้แล้วนำเรื่องขึ้นกราบทูลพญามังราย พญามังรายจึงมีบัญชาให้แต่งเครื่องบรรณาการใช้ให้เสนาชื่อ สรีกรชัย ผู้พูดภาษาลัวะได้ไปหาพญาลัวะบนดอยอุฉุจบรรพต พญาลัวะแนะนำว่า เวียงนี้หากจะให้อยู่ร่มเย็นเป็นสุข ก็ให้บูชากุมภัณฑ์และเสาอินทขิล”
เมื่อชาวเมืองทำการกราบไหว้บูชาเสาอินทขิลมิได้ขาดและทำการเว่นไหว้พลีกรรมกุมภัณฑ์เป็นประจำ พร้อมทั้งตั้งตนอยู่ในศีลห้า รักษาสัจจะตามที่พระฤาษีสั่งสอน บ้านเมืองก็วัฒนาผาสุกร่มเย็น ทำมาหากินค้าขึ้น ฝนฟ้าตกต้องตามฤดูกาล พืชพรรณธัญญาหารให้ผลอุดมสมบูรณ์โรคร้ายภัยพิบัติต่างไม่เบียดเบียน ทำให้มั่งคั่งร่ำรวยด้วยทรัพย์สินเวินทอง เปรียบเสมือนมีขุมทรัพย์ที่เนืองนองด้วย บ่อเงิน บ่อทอง บ่อแก้ว อยู่ทุกทิศทุกเขตของบ้านเมืองที่ใคร ๆ (มีปัญญา/ขยัน) เมื่อตั้งมั่นอยู่ในศีลสัตย์ ก็ตั้งสัจจาธิษฐานเอาได้ตามใจปรารถนา แม้ผู้คนจากบ้านอื่นเมืองไกล ที่มุ่งร้ายหมายมารุกรานย่ำยี เมื่อมาถึงเมืองนพบุรีแล้วก็จะสยบสวามิภักดิ์ แปรสภาพเป็นพ่อค้าวาณิชมุ่งทำมาค้าขายหาความร่ำรวยผาสุกรื่นรมย์ไปหมด
แต่เมื่อนานเข้า ผู้คนกลับไม่รักษาคำสัตย์ปฏิบัติตนเป็นคนทุศีล ไม่ทำการเซ่นไหว้ แต่ทำการอุกอาจย่ำยีดูหมิ่นและทิ้งของปฏิกูลบูดเน่าขี้เยี่ยวรดราดกุมภัณฑ์ กุมภัณฑ์จึงนำเสาอินทขิลกลับไปเสีย ต่อมามีผู้เฒ่าลัวะคนหนึ่งที่เคยมากราบไหว้เสาอินทขิลประจำ เมื่อไม่เห็นก็เกิดปริวิตกทุกข์ร้อน กลัวว่าจะเกิดเหตุเภทแก่บ้านเมือง ถึงกับร้องห่มร้องไห้เสียใจ จึงละเพศจากฆราวาส ถือเพศเป็นตาปะขาวรักษาศีลบำเพ็ญภาวนาอยู่ ณ บริเวณที่เคยตั้งเสาอินทขิล ใต้ต้นยางนั้นเป็นเวลานานถึง 3 ปี
ขณะนั้นมีพระเถระรูปหนึ่ง ปฏิบัติธรรมบำเพ็ญเพียรภาวนาอยู่ในป่าเขาจนบรรลุฌานสมาบัติ มีญาณหยั่งรู้ความเป็นไปในเหตุการณ์ข้างหน้า ได้มาบอกตาปะขาวว่า บ้านเมืองจะถูกข้าศึกศัตรูย่ำยีถึงกาลวิบัติล่มจม เพราะไม่มีเสาหลักเมืองให้ผู้คนได้ยึดเหนี่ยวกราบไหว้บูชา อันเป็นที่มาของความสมัครสมานสามัคคีของผู้คน ตาปะขาวจึงประชุมปรึกษาหารือกับชาวเมืองและตกลงกันว่า ขอให้พระเถระเป็นสื่อติดต่อของเสาอินทขิลจากพระอินทร์มาให้อีก
03.

พระอินทร์สั่งให้กุมภัณฑ์นำเสาอินทขิลลงไปให้เมืองนพบุรีอีกครั้ง เมื่อทราบเหตุการณ์จากพระเถระแล้วแต่กุมภัณฑ์ไม่ยอมไป ด้วยเกลียดกลัวต่อพฤติกรรมต่ำหยาบของชาวเมือง พระอินทร์จึงขอให้พระเถระไปบอกชาวเมือง ให้สร้างเสาอินทขิลและปั้นรูปกุมภัณฑ์เทียมขึ้นใหม่ โดยหล่อกะทะขอบหนา 8 นิ้วกว้าง 8 ศอก ปั้นรูปสัตว์บกสัตว์น้ำบรรดามีในโลกอย่างละคู่และรูปมนุษย์ครบ 101 เจ็ดภาษา บรรจุไว้ในกะทะฝังไว้ท่ามกลางเมือง กลบดินปรับพื้นเสมอดีแล้วสร้างเสาหลักเมืองด้วยอิฐก่อสอปูนประดิษฐานไว้บนนั้น แล้วทำการกราบไหว้บูชามิให้ขาด ก็จะเกิดสวัสดิมงคลแก่บ้านเมืองและผู้คน พลเมืองจะอยู่ดีกินดี มั่งคั่งด้วยทรัพย์สินเงินทอง ฝนฟ้าตกต้องตามฤดูกาล ไม่มีโรคร้ายระบาดภัยเบียดเบียน (เสาอินทขิลที่พระเจ้ากาวิละย้ายจากวัดสะดือเมืองมาไว้ที่สัดเจดีย์หลวงเมื่อ พ.ศ.2343 นี้คือ เสาที่พระเจ้ามังรายทรงสร้างขึ้นเมื่อครั้งสร้างเมืองเชียงใหม่ปี พ.ศ.1839 แต่ต่อมาได้รับการปฏิสังขรณ์หลายครั้ง ผู้คนเชื่อว่า รูปแบบพิธีกรรมและอุดมการณ์เกี่ยวกับเสาอินทขิล ส่วนหนึ่งสืบสานมาจากอาณาจักรลัวะโบราณนี้เอง)
เสาอินทขิลมีฤทธิ์มาก ซึ่งด้วยอิทธิอำนาจของเสาอินทขิลนี้เองบันดาลให้พวกข้าศึกที่ยกกองทัพมาชิงเอาเมืองนพบุรีนั้นกลายร่างเป็นพ่อค้าไปหมด จากนั้นพระอินทร์ก็ให้ชาวลัวะหล่ออ่างขางขนาดใหญ่ หนา 8 นิ้ว กว้าง 8 ศอก ขุดหลุมลึก 8 ศอกแล้วให้ปั้นรูปสัตว์ทุกอย่างที่มีอยู่ในโลกนี้อย่างละคู่ ปั้นรูปคนทั้งหลายให้ครบร้อยเอ็ดเจ็ดภาษา ปั้นรูปช้าง 1 คู่ม้า 1 คู่แล้วเอารูปปั้นเหล่านั้นใส่ลงในกะทะเอาไปฝังไว้แล้วก่อเสาอินทขิลไว้เบื้องบนและให้ทำพิธีสักการะบูชาบ้านเมืองจะพ้นภัยพิบัติได้ ดังนั้นชาวเมืองก็ได้ถือปฏิบัติตามคำของพระอินทร์ทุกประการและได้ทำพิธีบวงสรวงสักการะบูชาเสาอินทขิลและรูปกุมภัณฑ์ที่สร้างเทียมไว้แทนเสา บ้านเมืองก็รอดพ้นจากภัยพิบัติตามที่พระเถระเจ้าได้ทำนายไว้
เสาอินทขิลปัจจุบัน ตั้งอยู่กึ่งกลางวิหารจตุรมุขศิลปะแบบล้านนา เป็นเสาอิฐก่อสอปูนติดกระจกสีรอบเสาวัดได้สูง 2.27.5 เมตร วัดรอบโคนเสาได้ 5.67 เมตร รอบปลายเสา 3.4 เมตร มีพระพุทธรูปทองสำริดปางรำพึง ที่พลตรีเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่) นำมาถวายวัดเจดีย์หลวง เมื่อปี 2514 ประดิษฐานอยู่ภายในบุษบกเหนือเสาอินทขิลให้ได้สักการบูชาคู่กับหลักเมืองด้วย พระเจ้ามังรายปฐมกษัตริย์ ราชวงศ์มังราย ทรงสร้างเสาอินทขิลเมื่อครั้งสถาปนาราชธานี “นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่” ปี พ.ศ.1839 แรกสร้างตั้งอยู่วัดสะดือเมือง พระเจ้ากาวิละ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 1 วงศ์ทิพจักร ให้ย้ายมาไว้ ณ วัดเจดีย์หลวงเมื่อ พ.ศ.2343
-------------------------------------------------------
ขอบคุณ ข้อมูลและภาพ จาก https://travel.mthai.com/region/129662.html




 01.

02.


03.

 04.


05. 


06.


07. 


08.


 09.

 10.

 11.

 12.

------------------------------------------------


29 ความคิดเห็น:

  1. ตำนานเสาอินทขิล การสร้างเสาอินทขิลเริ่มจากชาวลัวะซึ่งเป็นชนพื้นเมืองในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำปิง เชิงดอยสุเทพ ได้ก่อตั้งชุมชนระดับเวียงหลายแห่งในบริเวณนี้ เช่นเวียงเชษฐบุรี เวียงสวนดอก เวียงนพบุรี เมื่อตั้งเวียงนพบุรีได้ตั้งเสาอินทขิลขึ้นเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวเมือง พร้อมกับมอบกุมภัณฑ์สองตนทำหน้าที่รักษาเวียงให้มั่นคง ตามคำแนะนำของฤาษี ชาวเมืองต้องทำพิธีบูชาเสาอินทขิลและเลี้ยงกุมภัณฑ์ หากปล่อยปละละเลยไม่บูชาบ้านเมืองจะวินาศ.

    ส่วนเสาอินทขิลที่ประดิษฐานอยู่ที่วัดเจดีย์หลวงนั้น มีบันทึกไว้ว่าพญามังรายมหาราช ปฐมกษัตริย์ทรงสร้าง เสาอินทขิล เมื่อครั้งสถาปนา "นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่" ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๑๘๓๙ เดิมอยู่ที่วัดสะดือเมืองหรือวัดอินทขิล กลางเวียงเชียงใหม่ (ปัจจุบันคือหอประติโลกราช ข้างศาลากลางหลังเก่า).

    ครั้ง"พระเจ้ากาวิละ"ครองเมืองเชียงใหม่ ได้ย้ายมาประดิษฐานที่วัดเจดีย์หลวง โดยบูรณะขึ้นใหม่เป็นเสาปูน พร้อมกับทำการบวงสรวงเป็นพระเพณีสืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบัน.

    ประเพณีเข้าอินทขิล คือ การทำพิธีสักการบูชาเสาหลักเมืองเสาอินทขิล นอกจากจะเป็นเสาหลักเมือแล้ว ยังนับได้ว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองเชียงใหม่และยังเป็นที่สักการบูชา ถือว่าเป็นที่รวมของวิญญาณของคนเมืองเหนือและบรรพบุรุษ.

    ชาวเชียงใหม่มีความเชื่อว่า เมื่อสักการบูชาเสาอินทขิลแล้ว บ้านเมืองจะพ้นภัยพิบัติและมีความเจริญรุ่งเรืองขึ้น จึงเป็นประเพณีสักการบูชามาตราบกระทั่งทุกวันนี้.

    สำหรับกำหนดงานพิธีบูชาเสาอินทขิลนี้ จะมีในช่วงวันที่ 30 พฤษภาคม - 7 มิถุนายน ของทุกปี ในวันประกอบพิธี พวกชาวบ้านชาวเมืองทั้งหนุ่มสาว คนเฒ่าคนแก่ และเด็ก ๆ จะเตรียมดอกไม้ธูปเทียน ขันน้ำขมิ้นส้มป่อย ใส่พานหรือภาชนะใส่ของที่เรียกว่า "สลุง" เอาน้ำขมิ้นส้มป่อยใส่พานหรือสลุงไป "ทำการสระสรง" (สรงน้ำ) สักการบูชา ที่วัดเจดีย์หลวงในระหว่างการ "บูชาเสาอินทขิล" ชาวบ้านจะจัดให้มี ซอพื้นเมืองและมีช่างฟ้อนประเภท ฟ้อนหอก ฟ้อนดาบ เพื่อเป็นการสังเวยเทพยดาอารักษ์ "ผีเสื้อบ้าน" และ "ผีเสื้อเมือง" หรือที่ภาษาทางเหนือโบราณ เรียกกันว่า "เสื้อบ้าน เสื้อเมือง".

    การใส่ขันดอกไม้บูชาเสาอินทขิลนี้มีถึง 28 พานใหญ่ นับว่าเป็นการบูชาพระพุทธเจ้า 28 พระองค์ และยังมีขันดอกไม้บูชาท้าวทั้งสี่ คือ

    ท้าวจตุโลกบาลอีก 1 ที่
    บูชารอบ ๆ เสาอินทขิล 8 แห่ง
    บูชาพระฤาษี 1 แห่ง
    บูชาตาปะขาวลั้วะ 1 แห่ง
    บูชาต้นไม้ยาง 1 แห่ง
    กุมภัณฑ์ 2 ตน ตนละแห่ง
    บูชาพระสังกัจจาย 2 แห่ง
    บูชาพระธาตุเจดีย์หลวง 1 แห่ง

    เสร็จจากใส่บาตรดอกไม้และบูชาดังกล่าวแล้ว ก็ไปสรงน้ำพระพุทธรูปฝนแสนห่า เพื่อขอบันดาลให้ฝนตกตลอดฤดู และบูชาพระอัฎฐารสภายในพระวิหารเพื่อความเป็นสิริมงคลกับตนและครอบครัว.

    ในสมัยที่นครเชียงใหม่ยังมีเจ้าผู้ครองนครอยู่ ก่อนจะเร่มการประกอบพิธี "บูชาเสาอินทขิล" ก็มีคนของคณะกรรมการผู้จัดการนำเอาเข่งใบใหญ่หลาย ๆ ใบ ไปขอเรี่ยไรผัก ปลา อาหารจากบรรดาชาวบ้านทั่วไป ซึ่งทุก ๆ คนก็จะบริจาคทานให้ด้วยความเต็มใจ ข้าวปลาอาหารที่มีคนมาขอเรี่ยไรไปนั้น ก็เพื่อนำเอาไปปรุงเป็นอาหาร เพื่อนำไปเซ่นสังเวยเทพยดาอารักษ์ผู้รักษานครเชียงใหม่ และพระเสื้อเมือง พระทรงเมือง และกุมภัณฑ์ที่เฝ้ารักษาเสาอินทขิล

    ส่วนที่เหลือก็จะถูกนำเอาไปเลี้ยงบรรดาผู้ที่มาร่วมงาน บรรดาเครื่องเซ่นสังเวยดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น นอกจากอาหารที่เรี่ยไรเอามาจากบรรดาชาวบ้านแล้ว ก็ยังมีอาหารจำพวกเนื้อ สัตว์ซึ่งมีการฆ่าสังเวยเทพยดาอารักษ์ และเพื่อเป็นการสักการบูชาเสาอินทขิลเป็นตัว ๆ ซึ่งสัตว์ที่ถูกนำมาฆ่าสังเวย ได้แก่ เป็ด ไก่ หมู วัว ควาย เป็นต้น

    นอกจากการบูชาอินทขิล พระเสื้อเมือง พระทรงเมือง และบรรดาอารักษ์ที่ปกปักรักษานครเชียงใหม่แล้ว ยังมีการอัญเชิญผีบ้าน ผีเมือง ซี่งมีชื่อเรียกว่า "เจ้าหลวงคำเขียว เจ้าหลวงคำแดง" ซึ่งเป็นอารักษ์ประจำเมือง มาเข้าทรงเพื่อประทับร่างทรงเสร็จแล้ว บรรดาพวกญาติวงศ์ของเจ้าผู้ครองนครจะถามถึงความเป็นอยู่ของบ้านเมืองว่า อยู่เย็นเป็นสุขหรือไม่ หรือมีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น ฝนฟ้าตกต้องตามฤดูกาลหรือไม่ ข้าวปลาธัญญาหารอุดมสมบูรณ์หรือไม่ อย่างไร

    คนทรงซึ่งเรียกกันว่า เป็นม้าขี่ของเจ้าพ่อ จะทำการพยากรณ์ให้ทราบ ฝ่ายเจ้าผู้ครองนครเมื่อได้ทราบว่า ชะตาบ้าน ชะตาเมือง ไม่สู้จะดีนัก ก็มีพิธีทางไสยศาสตร์เพื่อแก้ไข เพื่อเป็นการขจัดหรือบรรเทาให้เหตุร้าย ๆ อันจะเกิดขึ้นตามคำทำนายให้ลดลง พิธีที่นิยมทำกันคือ "พิธีสืบชะตาเมือง" หมายถึง พิธีต่ออายุเมืองนั่นเอง.

    ตอบลบ
  2. ขอบคุณ ข้อมูลจาก http://dannipparn.com/forum-viewthread-action-printable-tid-207.html
    โดย: pimnuttapa

    วัดเจดีย์หลวง (โชติอาราม)

    ถ.ปกเกล้า ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

    [พระเกศาธาตุ , พระบรมธาตุส่วนคางเบื้องซ้าย]



    ตำนานพระเจ้าเลียบโลก กล่าวว่า...หลังจากที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปวัดนันทาราม อ.เมือง จ.เชียงใหม่ แล้ว ลัวะผู้หนึ่งอาราธนาพระพุทธองค์เสด็จไปเมตตาที่บ้านของเขา พระพุทธเจ้าก็เสด็จจากที่นั้นไปถึงบ้านของลัวะ ประทับเหนือแท่นอาสนะท่ามกลางบ้านแห่งนั้น ลัวะผู้นั้นยังมีนักบวชม่านรูปหนึ่ง มีอายุได้ ๑๒๐ ปีบริบูรณ์ ได้เห็นพระพุทธเจ้าเสด็จมา ก็บังเกิดปสาทยินดีมากกล่าวว่า “ตั้งแต่เราเกิดมา อายุถึง ๑๒๐ ปี และได้บวชนอกศาสนา หาประโยชน์สิ่งใดมิได้ บัดนี้ได้มาพบเห็นพระพุทธเจ้าตอนชราเช่นนี้ ดียิ่งนัก” แล้วก็แก้ผ้าสไบชุบน้ำมันจุดบูชาพระพุทธเจ้า

    พระพุทธองค์จึงพยากรณ์ว่า “เมื่อตถาคตมาถึงที่นี้ เขาทั้งหลายมาปักฉัตรและธงถวายบูชา ชีม่านก็จุดผ้าสไบนี้บูชาเป็นอันรุ่งโรจน์โชตนาการยิ่ง ต่อไปภายภาคหน้า คนทั้งหลายจะมาสร้างวัดที่นี้ เป็นอารามใหญ่แห่งหนึ่ง จะปรากฏนามว่า “โชติอาราม” (วัดเจดีย์หลวงปัจจุบัน) พระเจ้าอโศกราชและพระอรหันต์ทั้งหลาย ก็ทูลขอพระเกศาธาตุเอาบรรจุลงในก้นหลุม เอาสมบัติข้างขอถมใส่เป็นจำนวนมาก พระอินทร์ทรงเนรมิตยนตร์จักรผันป้องกันไว้ แล้วก็กลบก่อเจดีย์ครอบสูง ๓ ศอก (บางฉบับว่า ๓๐๐ ศอก) พระพุทธองค์ทรงสั่งพระอรหันต์และพระเจ้าอโศกราชไว้ว่า “เมื่อเราตถาคตนิพพานไปแล้ว ท่านทั้งหลายจงเอาธาตุอุ้งมือข้างขวาของตถาคต มาไว้นี้เถิด”

    ตอบลบ
  3. ประตูทางเข้า/ออกด้านหน้า และป้ายชื่อ วัดเจดีย์หลวง ค่ะ


    วัดเจดีย์หลวง หรือ “ วัดโชติการาม ” หรือ “ ราชกูฏา ” หรือ “ กุฏาราม ” ก็เรียก เป็นวัดที่ตั้งอยู่ใจกลางเมืองเชียงใหม่ เลขที่ ๑๐๓ ถนนพระปกเกล้า ตำบลพระสิงห์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ทั้งหมด ๓๒ ไร่ ๑ งาน ๒๗ ตารางวา ทางกรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานเมื่อวันที่ ๑๙ เมษายน พ.ศ.๒๕๐๓ และประกาศกำหนดขอบเขตเมื่อวันที่ ๑๔ มีนาคม พ.ศ.๒๕๒๓


    DSC09831.jpg



    IMG_1105.JPG



    ประวัติวัดเจดีย์หลวง


    วัดเจดีย์หลวง เป็นพระอารามหลวงแบบโบราณที่แบ่งเขตพุทธาวาสและสังฆวาสไว้เป็นสัดส่วน คือ มีเขตพุทธาวาส ๑ แห่ง และสังฆวาส ๔ แห่ง คือ เขตพุทธาวาส ตั้งอยู่กึ่งกลางสังฆวาสทั้ง ๔ แห่ง ที่อยู่โดยรอบทั้ง ๔ ทิศ

    เขตพุทธาวาส นี้มีศาสนสถานที่สำคัญคือ พระบรมธาตุเจดีย์หลวง พระวิหารหลวง พระพุทธไสยาสน์ และพระเจดีย์เล็กอีก ๒ องค์ แต่เดิมนั้นเขตพุทธาวาสมีกำแพงล้อมรอบเป็นเอกเทศ ต่อมาได้มีการรื้อกำแพงออกในราว พ.ศ.๒๔๘๐–๒๔๘๑

    เขตสังฆาวาส มี ๔ แห่ง ได้แก่
    ๑. สังฆาวาสวัดสุขมิ้น (สุขุมินท์ ก็เรียก) ตั้งอยู่ทางทิศใต้ขององค์พระบรมธาตุเจดีย์ ปัจจุบันเป็นโรงเรียนเมตตาศึกษา
    ๒. สังฆาวาสสบฝาง (ป่าฝาง ก็เรียก) ตั้งทางทิศตะวันตกขององค์พระบรมธาตุเจดีย์ ปัจจุบันเป็นศาลาปฏิบัติธรรม
    ๓. สังฆาวาสหอธรรม ตั้งทางทิศเหนือขององค์พระบรมธาตุเจดีย์ ปัจจุบันคือคณะหอธรรมของวัดเจดีย์หลวง
    ๔. สังฆาวาสพันเตา คือวัดพันเตาในปัจจุบัน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือขององค์พระบรมธาตุเจดีย์

    ตอบลบ
  4. พระอุโบสถ/พระวิหารหลวง วัดเจดีย์หลวง (ปลายปี ๒๕๔๘ ขณะบูรณปฏิสังขรณ์พระวิหารหลวง เพื่อฉลองอายุครบ ๙๐ ปี ของพระพุทธพจนวราภรณ์ (หลวงปู่จันทร์ กุสโล) และเพื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุครบ ๘๐ พรรษา ด้วยงบประมาณ ๕๐ ล้านบาท) ค่ะ


    DSC09816.jpg



    ประวัติพระวิหารหลวง วัดเจดีย์หลวง

    ปัจจุบันพระวิหารหลวงเป็นพระอุโบสถด้วย ตั้งอยู่ห่างพระบรมธาตุเจดีย์หลวงประมาณ ๑๕.๘๔ เมตร วิหารหลวงนี้หลังแรกซึ่งสร้างโดยพระนางติโลกจุฑา พระราชมารดาของพระเจ้าสามฝั่งแกน เมื่อปีพ.ศ.๑๙๕๔ พร้อมทั้งได้หล่อพระอัฏฐารสพุทธปฏิมาประธาน และพระอัครสาวกโมคคัลลานะ สารีบุตร ไว้ในวิหาร

    ต่อมาในปีพ.ศ.๒๐๑๗ พระเจ้าติโลกราชให้รื้อวิหารหลังเก่าแล้วสร้างวิหารหลังใหม่ มีขนาดกว้าง ๙ วา ยาว ๑๙ วา ขึ้นมาแทน ในปีพ.ศ.๒๐๕๘ พระเมืองแก้วได้รื้อวิหารหลังเก่าแล้วสร้างขึ้นใหม่ในที่เก่าอีก ครั้นถึงสมัยพระเมกุฏิสุทธิวงศ์ ไฟได้ไหม้วิหารเสียหาย จึงต้องรื้อแล้วสร้างใหม่ทับที่เดิมอีกครั้ง

    ต่อมาในยุคเจ้าหลวงอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ ๗ ราชวงศ์ทิพจักร ได้รื้อวิหารหลังเดิม แล้วสร้างวิหารหลังใหม่ขึ้นที่เดิมอีก ซึ่งวิหารเดิมในยุคก่อนๆ นั้นคงทำด้วยไม้ จึงมีการสร้างและรื้อถอนกันบ่อยๆ ส่วนวิหารหลังปัจจุบันได้รับการสร้างขึ้นใหม่ในยุคเจ้าแก้วนวรัฐ ผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ ๙ โดยสร้างขึ้นหลังปีพ.ศ.๒๔๗๑ ซึ่งเป็นปีที่มีการอาราธนาเจ้าคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจันโท) มาพัฒนาวัดเจดีย์หลวง

    ในปีถัดมา (พ.ศ.๒๔๗๒) จึงทำการสร้างวิหารหลังใหม่ในที่เก่าซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าเดิม คือความกว้าง ๑๗.๗๐ เมตร ยาว ๕๐.๘๐ เมตร นับว่าวิหารหลังนี้เป็นการสร้างครั้งที่ ๖ โดยไม่ให้มีหลังคาที่มุขตรงบันไดทางขึ้นวิหารด้านเหนือและใต้เหมือนของหลังเก่ามีระเบียงหลังพระวิหารแต่ไม่มีหลังคา มุขหน้าหลังคาลดหลั่นเป็น ๔ ชั้น ผืนหลังคาซ้อน ๓ ตับ มุขหลังคาลดลหั่นเป็น ๒ ชั้น ผืนหลังคาซ้อน ๓ ตับ หน้าบันเป็นรูปช้างเอราวัณสามเศียร กล่าวได้ว่าเป็นรูปทรงสถาปัตยกรรมแบบรัตนโกสินทร์หรือแบบไทยภาคกลางหลังแรก ที่มีในนครเชียงใหม่และล้านนา ถือว่าเป็นของแปลกในยุคนั้น

    ตั้งแต่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๑๖ เป็นต้นมา พระวิหารหลวงจึงเป็นทั้งพระวิหารและพระอุโบสถในหลังเดียวกัน และได้เลิกใช้อุโบสถหลังเก่าที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของพระธาตุเจดีย์หลวงประกอบสังฆกรรมตั้งแต่ปี ๒๕๑๘ เพราะคับแคบ เมื่อวันที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ จึงได้ทำการผูกพีนธสีมาฝังลูกนิมิตโดยกันเขตร่วมในพระวิหาร ๓ ห้อง คือห้องที่ ๖,๗, ๘ (นับจากประตูใหญ่ด้านพระวิหาร) เป็นพระอุโบสถ

    ในการบูรณะครั้งนี้ถือเป็นการสร้างครั้งที่ ๗ เริ่มแรกเมื่อวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๔๐ ต้องใช้เวลาถึง ๑๐ ปี โครงสร้างส่วนสำคัญๆ จึงแล้วเสร็จทันทำบุญฉลองสมโภชในวันที่ ๒๘-๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๒) โดยที่การตกแต่งภายในและจิตรกรรมฝาผนังยังไม่แล้วเสร็จ ในการบูรณะใหม่ครั้งนี้ เป็นศิลปสถาปัยกรรมล้านนา ที่พระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ ๗ สร้างเมื่อปี พ.ศ.๒๔๒๓


    ตอบลบ
  5. บันไดนาคทางขึ้น/ลง ด้านหน้า พระวิหารหลวง วัดเจดีย์หลวง ค่ะ


    ประวัติพญานาค คู่ชูเศียรเหนือราวบันไดขึ้นพระวิหารหลวง วัดเจดีย์หลวง

    กล่าวกันว่า เป็นพญานาคที่สวยที่สุดคู่หนึ่งในภาคเหนือ สร้างได้สัดส่วนสวยงามให้มีสีสีนลวดลายปูนปั้นเกล็ดนาค ฝีมือประณีตงดงามมาก นาคคู่ราวบันไดพระวิหารหลวงนี้ได้รับการสร้างพร้อมกับการสร้างพระวิหารหลังแรก (พ.ศ.๑๙๕๔) แต่รื้อ/สร้างหรือบูรณะใหม่ตามการรื้อ/สร้างหรือบูรณะใหม่พระวิหารหลายครั้ง

    ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๑ เวลา ๐๘.๓๐ น. เกิดอุบัติเหตุนั่งร้านเหล็กล้มใส่เศียรพญานาคทั้งคู่ ทำให้ตัวด้านเหนือเศียรขาด ตัวด้านใต้หงอนขาด (๓ พ.ย. ๒๕๕๑ ประชุมตกลงรูปแบบการบูรณะ ๑๙ พ.ย. ๒๕๕๑ ทำพิธีสูตรถอนแบบพื้นเมือง เพื่อทำการบูรณะ) พระครูปัญญา แห่งวัดแสนฝาง เมืองเชียงใหม่ เป็นผู้สร้างพญานาค สร้างในยุคเดียวกันพญานาควัดแสนฝาง อำเภอเมือง, วัดป่าแง อำเภอแม่ริม, วัดหัวริน อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ พระครูปัญญามีชีวิตร่วมสมัยรัชกาลที่ ๔ ราชวงศ์จักรี แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ (พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ สวรรคต พ.ศ.๒๕๑๑)

    พระวิหารหลวงหลังที่พระครูปัญญาสร้างพญานาค เป็นวิหารหลังเก่าที่พระเจ้าอินทวิชยานนท์รื้อออก แล้วทรงสร้างพระวิหารหลังใหม่ศิลปะแบบล้านนาแทนเมื่อปี พ.ศ.๒๔๒๓ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.๒๔๗๑ พระเดชพระคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจันโท) ให้รื้อพระวิหารหลวงที่พระเจ้าอินทวิชยานนท์สร้างนั้นเสีย

    ปีพ.ศ.๒๔๗๒ จึงสร้างพระวิหารหลวงหลังใหม่ศิลปสถาปัตยกรรมแบบภาคกลางกรุงเทพฯ พอปีพ.ศ.๒๕๔๘ ทางวัดจึงรื้อพระวิหารแบบภาคกลางออก (ฐาน/ผนังคงไว้) แล้วสร้างหรือบูรณะพระวิหารตามแบบสถาปัตยกรรมล้านนาที่พระเจ้าอินทวิชยานนท์ทรงสร้างเมื่อปี พ.ศ.๒๔๒๓ ขึ้นอีกครั้ง...พระวิหารหลังเก่า (นำแบบมาสร้างใหม่) พญานาคคู่เก่า (บูรณะใหม่ให้เหมือนเก่า) ย้อนยุคมาบรรจบกันอีกครั้ง

    ตอบลบ
  6. พระอัฏฐารส (พระประธาน) และพระอัครสาวก ประดิษฐานภายใน พระวิหารหลวง วัดเจดีย์หลวง ค่ะ


    IMG_0460.JPG


    ประวัติพระอัฏฐารส (พระประธาน) พระวิหารหลวง วัดเจดีย์หลวง

    ในโคลงนิราศหริภุญชัย ได้กล่าวถึง พระอัฏฐารส ว่าเป็นพระพุทธรูปขนาดใหญ่หล่อด้วยทองสำริดปิดทองคำเปลว ปางห้ามญาติ สูง ๑๖ ศอก (๒๓ ซม.) หรือ ๘.๒๓ เมตร พร้อมทั้งพระอัครสาวกทั้ง ๒ องค์ คือ พระอัครสาวกซ้ายคือ พระโมคคัลลานะ สูง ๔.๔๓ เมตร และพระอัครสาวกขวาคือ พระสารีบุตร สูง ๔.๑๙ เมตร หล่อโดยพระนางติโลกจุฑา พระมเหสีของพระเจ้าแสนเมืองมารัชกาลที่ ๗ ราชวงศ์มังราย เมื่อพ.ศ.๑๙๕๕

    นอกจากทำการหล่อพระอัฏฐารส/พระอัครสาวกทั้งสององค์แล้ว ยังได้หล่อพระพุทธรูปปางต่างๆ จำนวนมาก ประดิษฐานรายล้อมพระอัฏฐารสอยู่ด้านหน้าและผินพระพักตร์สู่ทิศต่างๆ การหล่อพระพุทธรูปขนาดต่างๆ อีกจำนวนมากเมื่อปีพ.ศ.๑๙๕๔ ในครั้งนั้นต้องใช้เบ้าเตาหลอมทองจำนวนมากเป็นพันเตาพันเบ้า ต่อมาสถานที่ตั้งเตาหลอมทองหล่อพระพุทธรูปได้สร้างเป็นวัดและเรียกชื่อว่า วัดพันเตา

    "เมื่อครั้งหล่อพระพุทธรูปอัฏฐารสนั้น พระเถระชื่อว่า นราจาริยะ ผู้เป็นเจ้าอาวาสวัดโชติการาม (วัดเจดีย์หลวง) ใคร่ลองบุญญาภินิหารของท่าน กระทำสัตยาธิษฐานแล้วอุ้มเบ้าทองอันร้อนด้วยมือยกขึ้นตั้งเหนือศีรษะนำไปหล่อ เบ้านั้นก็ไม่ทำให้ร้อนไหม้ คนทั้งหลายเห็นแปลกดังนั้น ก็เกิดอัศจรรย์พากันสาธุการเอิกเกริกทั่วทั้งเวียง"

    ความจริงแล้วพระอัฏฐารสไม่ได้แปลว่าพระสูง ๑๘ ศอก พระอัฏฐารสแปลว่า พระสิบแปด ไม่มีคำว่าศอกแต่อย่างใด ความหมายที่แท้จริงท่านหมายถึงพุทธธรรม ๑๘ ประการ อันเป็นพระคุณสมบัติเฉพาะพระพุทธองค์ ไม่ได้หมายความว่าพระพุทธรูปสูง ๑๘ ศอกดังที่เข้าใจกัน องค์พระพุทธรูปปฏิมาอัฏฐารสอาจจะสูงตำกว่านั้นหรือจะสูง ๑๘ ศอกก็ย่อมได้ ที่ตั้งชื่อพระพุทธรูปเช่นนั้นก็เพื่อเป็นอุบายธรรมสื่อนำไปสู่ความเข้าใจในพุทธคุณอันประเสริฐของพระพุทธองค์ผู้ทรงเป็นศาสดาของมนุษย์และเทพเจ้าทั้งหลาย

    ดังพระบาลีในอาฏานาฏิยปริตรว่า : "อุเปตาพุทธธัมเมหิ อัฏฐารสหิ นายกา พระพุทธเจ้าทั้งหลายผู้เป็นนายกคือผู้นำ ทรงประกอบด้วยพุทธธรรม ๑๘ ประการ" คือ

    ๑. พระพุทธองค์ไม่มีกายทุจริต
    ๒. ไม่มีวจีทุจริต
    ๓. ไม่มีมโนทุจริต
    ๔. ทรงมีอตีตังสญาณ
    ๕. ทรงมีอนาคตังสญาณ
    ๖. ทรงมีปัจจุบันนังสญาณหยั่งรู้กาลทั้ง ๓ แจ่มแจ้ง
    ๗. กายกรรมของพระพุทธองค์เป็นไปตามพระญาณ
    ๘. วจีกรรมของพระพุทธองค์เป็นไปตามพระญาณ
    ๙. มโนกรรมของพระพุทธองค์เป็นไปตามพระญาณ
    ๑๐. ไม่มีความเสื่อมแห่งฉันทะ
    ๑๑. ไม่มีความเสื่อมแห่งวิริยะ
    ๑๒. ไม่มีความเสื่อมแห่งสติ
    ๑๓. ไม่มีเล่น
    ๑๔. ไม่มีพลั้ง
    ๑๕. ไม่มีพลาด
    ๑๖. ไม่มีความผลุนผลัน
    ๑๗. ไม่มีพระทัยย่อท้อ
    ๑๘. ไม่มีอกุศลจิต (สังคีติสุตตวรรณนา ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค).

    นอกจากนี้ ภายในพระวิหารหลวงยังเป็นที่ประดิษฐานพระเจ้าแสนล้าน ศิลปะแบบทรงเครื่องล้านนา เนื้อสัมฤทธิ์ผสมเงินแท้ พระเกศโมลีทองคำแท้หนัก ๕๑ บาท องค์พระประดับด้วยอัญมณีแท้ทั้งองค์ ขนาดหน้าตัก ๒๙ นิ้ว จัดสร้างในโอกาสที่พระพุทธพจนวราภรณ์ (หลวงปู่จันทร์ กุสโล) เจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวง เจริญมงคลอายุครบ ๙๐ ปี ในวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๕๐


    DSC09728.jpg


    พระพุทธรูปปางต่างๆ จำนวนมาก ประดิษฐานรายล้อมพระอัฏฐารสอยู่ด้านหน้า ภายใน พระวิหารหลวง วัดเจดีย์หลวง ค่ะ

    ตอบลบ
  7. รูปพระอัครสาวกพระโมคคัลลานะ พระสารีบุตร ประดิษฐานด้านซ้ายขวาของพระอัฏฐารส (พระประธาน) ภายใน พระวิหารหลวง วัดเจดีย์หลวง ค่ะ

    รูปเหมือนอดีตเจ้าอาวาส วัดเจดีย์หลวง ประดิษฐานด้านหน้า พระอัฏฐารส ภายใน พระวิหารหลวง วัดเจดีย์หลวง ค่ะ


    ลำดับเจ้าอาวาส วัดเจดีย์หลวง มีดังนี้ คือ

    ๑. พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจันโท) เป็นเจ้าอาวาสองค์แรกปี พ.ศ.๒๔๗๑ – ๒๔๗๔
    ๒. พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต เป็นเจ้าอาวาสปี พ.ศ.๒๔๗๕ ปีเดียวออกธุดงค์
    ๓. พระครูนพีสีพิศาลคุณ (ทอง โฆสิโต) เป็นเจ้าอาวาสปี พ.ศ.๒๔๗๖
    ๔. พระพุทธิโศภณ (แหวว ธัมมทินโน) เป็นเจ้าอาวาสปี พ.ศ.๒๔๗๗ – ๒๕๐๒
    ๕. พระญาณดิลก (พิมพ์ ธัมมธโร) ต่อมาเป็นสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ เจ้าอาวาส วัดพระศรีมหาธาตุฯ กรุงเทพฯ) มาดูแลกำกับการคณะสงฆ์ พ.ศ.๒๔๘๐ – ๒๔๘๓ ตำแหน่งพิเศษ มิใช่เจ้าอาวาส
    ๖. พระธรรมดิลก (ขันติ์ ขันติโก) เป็นเจ้าอาวาสปี พ.ศ.๒๕๐๓ – ๒๕๓๔
    ๗. พระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล) เป็นเจ้าอาวาสปี พ.ศ.๒๕๓๕ – ๒๕๕๑
    ๘. พระราชเจติยาจารย์ (ชูเกียรติ อภโย) รักษาการเจ้าอาวาส พ.ศ.๒๕๕๑ - ปัจจุบัน

    (เรียบเรียงจาก หนังสือสมโภชพระวิหารหลวง วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ๒๘-๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒)

    ตอบลบ
  8. ศาลพญายักขราช (ศาลใต้) วัดเจดีย์หลวง ค่ะ

    ตำนานเมืองเชียงใหม่ ฉบับพระพุทธิมาผูก ๗ หน้า ๑๓ กล่าวว่า...

    “สร้างเมื่อ วันเสาร์ ขึ้น ๑๑ ค่ำ เดือน ๗ พ.ศ. ๒๓๔๓ พระเจ้ากาวิละให้ก่อรูปกุมภัณฑ์ ๒ ตน ไว้หน้าวัดโชติการาม” ยักษ์/กุมภัณฑ์ ๒ ตนนี้ คอยพิทักษ์เสาอินทขีลหลักเมืองเชียงใหม่

    Picture-515.jpg



    รูปปั้นพญายักขราช ประดิษฐานภายใน ศาลพญายักขราช (ศาลใต้) วัดเจดีย์หลวง ค่ะ


    อมรเทพ (ศาลเหนือ) วัดเจดีย์หลวง ค่ะ


    รูปปั้นพญายักขราช ประดิษฐานภายใน อมรเทพ (ศาลเหนือ) วัดเจดีย์หลวง ค่ะ

    ตอบลบ
  9. ต้นยางนาใหญ่ วัดเจดีย์หลวง ค่ะ


    Picture-505.jpg


    ประวัติต้นยางนาใหญ่ วัดเจดีย์หลวง

    มีต้นยางนาใหญ่ ๓ ต้น กล่าวกันว่าอายุ ๒๐๐ ปี ต้นหนึ่งอยู่กึ่งกลางระหว่างวิหารอินทขีลและศาลพญายักขราช (ศาลใต้) หน้าวัด เป็นต้นที่ใหญ่ที่สุด วัดรอบโคนต้นได้ ๑๐.๕๖ เมตร สูงไม่ต่ำกว่า ๔๐ เมตร (วัดเมื่อปีพ.ศ.๒๕๓๘) ต้นที่สองอยู่ใกล้ประตูทางเข้าวัดทางด้านทิศใต้ติดกำแพงวัด และต้นที่สามซึ่งเล็กกว่าสองต้น อยู่ทางทิศตะวันตกของพระเจดีย์

    ต้นยางนาใหญ่ต้นนี้ปลูกสมัยพระเจ้ากาวิละ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ ๑ วงศ์ทิพจักร (พ.ศ.๒๓๒๔-๒๓๕๘) สันนิษฐานว่า (๑) ปลูกให้เป็น “มีหมายเมือง” ในปีที่ย้ายจากเวียงป่าซางมาอยู่เมืองเชียงใหม่เป็นการถาวร เมื่อพ.ศ ๒๓๓๙ (๒) ปลูกให้เป็น “ของคู่กับเสาอินทขีลตามตำนาน” ในปีที่ย้ายเสาอินทขีลจากวัดสะดือเมืองมาไว้ที่วัดเจดีย์หลวงเมื่อพ.ศ.๒๓๕๓

    ตอบลบ
  10. วิหารเสาอินทขีล วัดเจดีย์หลวง อินทขีลหรือหลักเมืองเชียงใหม่ ตั้งอยู่ภายในวิหารเสาอินทขีล วิหารเสาอินทขีลอยู่ทางด้านหน้าเยื้องไปทางทิศตะวันตกของวิหารหลวง

    ลักษณะของวิหารเสาอินทขีล คือเป็นอาคารแบบจตุรมุข รูปลักษณ์คล้ายมณฑป หลังคา ๒ ชั้น ชั้นล่างมี ๔ มุข ชั้นบนมี ๒ มุข เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน มุงด้วยไม้เกล็ด หน้าบันมุขชั้นล่างทั้ง ๔ มุข และหน้าบันมุขชั้นบนทั้ง ๒ มุข มีลายเขียนสี และเหนือหน้าบัน มีช่อฟ้าใบระกาปิดกระจกสีศิลปกรรมล้านนาสวยงาม


    IMG_0511.JPG



    ประวัติวิหารอินทขีล หรือมณฑปเสาอินทขีล วัดเจดีย์หลวง

    วิหารอินทขีล หรือมณฑปเสาอินทขีล มีมาก่อนสมัยพระเจ้ากาวิละ เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์แรก (พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๕๘) เข้าฟื้นเมืองเชียงใหม่ (๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๓๓๙) โดยตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ระบุว่า ในปีพ.ศ.๒๓๔๓ พระเจ้ากาวิละโปรดให้ก่อรูปกุมภัณฑ์สองตนไว้หน้าวัดโชติการาม (ปัจจุบันเรียกว่าเจดีย์หลวง) และก่อรูปสุเทวฤาษีไว้ที่ใกล้หออินทขีล ด้านทิศตะวันตก เป็นหลักฐานแสดงว่าเสาอินทขีลและหออินทขีลตั้งอยู่ในบริเวณวัดเจดีย์หลวงตั้งแต่ก่อนสมัยพระเจ้ากาวิละ

    หออินทขีลได้รับการบูรณะเป็นรูปทรงที่เห็นในปัจจุบันเมื่อพ.ศ.๒๔๙๖ ต่อมาในพ.ศ.๒๕๑๔ นางสุรางค์ เจริญบูล ได้อุทิศทรัพย์ซ่อมแซมและในพ.ศ.๒๕๓๖ บริษัทบ้านฉางกรุ๊ปจำกัด ได้ปูหินอ่อนพร้อมปรับปรุงพื้นที่โดยรอบ


    IMG_0314.JPG


    IMG_0334.JPG



    IMG_0283.JPG



    เสาอินทขีล ภายในวิหารอินทขีล หรือมณฑปเสาอินทขีล วัดเจดีย์หลวง ตั้งอยู่กึ่งกลางวิหาร เป็นเสาอิฐถือปูน ติดกระจกสีต่างๆ ประดับเป็นลวดลายสูง ๑ เมตร ๓๕ เซนติเมตร ๕ มิลลิเมตร วัดรอบเสาได้ ๕.๖๗ เมตร แท่นฐานที่ประดิษฐานพระพุทธรูปเหนือเสาสูง ๙๗ เซนติเมตร วัดโดยรอบได้ ๓.๔ เมตร เสาอินทขีลนี้เป็นที่เคารพสักการะของชาวเมืองเชียงใหม่ ด้วยเหตุนี้จึงมีงานสมโภชเป็นประจำทุกปีเรียกว่า “งานเข้าอินทขีล” หรือ “ขึ้นอินทขีล” เริ่มงานวันแรม ๑๒ ค่ำ เดือน ๘ (เหนือ) งานวันสุดท้ายคือวันขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๙ (เหนือ) ออกงานหรืองานแล้วเสร็จด้วยการทำบุญเลี้ยงเพลพระสงฆ์ในวันขึ้น ๔ ค่ำ เดือน ๙ ซึ่งชาวเชียงใหม่มักพูดว่า “แปดเข้า เก้าออก” คือเดือน ๘ เข้าอินทขีลเดือน ๙ ออกอินทขีล

    เสาอินทขีล หมายถึง เสาของพระอินทร์ ตำนานระบุว่าเป็นเสาที่พระอินทร์ประทานแก่ชาวลัวะ โดยให้กุมภัณฑ์ ๒ ตน หามเสาอินทขีลลงมาจากฟ้า แล้วทำหน้าที่รักษาอินทขีล เชื่อกันว่าฝังอยู่ใต้ดิน ชาวเชียงใหม่ถือเสาอินทขีลเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง มีฐานเป็นเสื้อเมืองมีอิทธิฤทธิ์ให้บ้านเมืองพ้นจากภัย และบันดาลให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ จึงมีประเพณีบูชาเรียกว่าเข้าอินทขีลเดือน ๘ เหนือ เป็นประจำทุกปี เดิมเสานี้อยู่ที่ศาลากลางของจังหวัด คืออนุสาวรีย์ ๓ กษัตริย์ ต่อมาพระเจ้ากาวิละโปรดให้ย้ายมาที่หน้าวัดนี้ เพราะวัดนี้อยู่กลางเมือง มีทวารบาลพิทักษ์อยู่ด้วย


    ตอบลบ
  11. ศาลสุเทวฤาษี วัดเจดีย์หลวง อยู่ใกล้ วิหารอินทขีลหรือมณฑปเสาอินทขีลค่ะ


    Picture-502.jpg


    ศาลเสือดาวและนก วัดเจดีย์หลวง อยู่ใกล้ วิหารอินทขีลหรือมณฑปเสาอินทขีลค่ะ


    Picture-507.jpg


    ศาลช้าง วัดเจดีย์หลวง อยู่ใกล้ วิหารอินทขีลหรือมณฑปเสาอินทขีลค่ะ


    Picture-509.jpg


    ศาลราชสีห์ วัดเจดีย์หลวง อยู่ใกล้ วิหารอินทขีลหรือมณฑปเสาอินทขีลค่ะ

    ตอบลบ
  12. เจดีย์รายองค์ด้านทิศใต้ วัดเจดีย์หลวง ค่ะ


    ประวัติเจดีย์รายองค์ด้านทิศใต้ วัดเจดีย์หลวง เป็นเจดีย์เก่าแก่คู่พระบรมธาตุเจดีย์ ตั้งอยู่ด้านเหนือวิหารหลวง มีความสูง ๑๓.๔๓ เมตร รูปทรงสัณฐานสี่เหลี่ยม ฐานกว้างด้านละ ๖.๕๕ เมตร ย่อเก็จ ๓ ชั้น ฐานปัทม์ย่อเก็จซ้อนกัน ๒ ชั้น ตั้งแต่คอระฆังหุ้มไปจนถึงแผ่นจังโกปิดทองคำเปลวปลียอด ปลียอดและฉัตรทำด้วยทองเหลืองปิดทองคำเปลว เจดีย์องค์นี้สร้างมานานแล้ว แต่ไม่ปรากฏหลักฐานปีที่สร้างและผู้ที่สร้าง บูรณะใหม่ในปีพ.ศ.๒๕๓๖


    Picture-651.jpg


    เจดีย์รายองค์ด้านทิศเหนือ วัดเจดีย์หลวง ค่ะ


    ประวัติเจดีย์รายองค์ด้านทิศเหนือ วัดเจดีย์หลวง ตั้งอยู่ด้านใต้ของวิหารหลวง ลักษณะทางสถาปัตยกรรมเป็นเจดีย์รูปทรงสัณฐานสี่เหลี่ยมแบบศิลปสถาปัตยกรรมล้านนาเชียงใหม่ ประกอบด้วยฐานย่อเก็จ ๓ ชั้น ฐานปัทม์ย่อเก็จซ้อนกัน ๒ ชั้น ตั้งแต่คอระฆังหุ้มไปจนถึงแผ่นจังโกปิดทองคำเปลวปลียอด ปลียอดและฉัตรทำด้วยทองเหลืองปิดทองคำเปลว มีความสูง ๑๕.๘๘ เมตร ฐานกว้างด้านละ ๖.๕๕ เมตร บูรณะใหม่ในปีพ.ศ.๒๕๓๖

    ตอบลบ
  13. กุฏิแก้วนวรัฐ วัดเจดีย์หลวง ค่ะ

    ประวัติกุฏิแก้วนวรัฐ วัดเจดีย์หลวง เป็นกุฏิหลังแรกของวัด สร้างด้วยไม้สักทั้งหลัง เจ้าแก้วนวรัฐสร้างถวายเมื่อปี พ.ศ.๒๔๗๑ เป็นอาคารไม้สองชั้น หันหน้าไปสู่วิหารทางทิศเหนือ มี ๓ มุข มุขกลางคือ มุขจามรี มุขตะวันตก คือมุขราชบุตร (วงศ์ตะวัน) สร้างเสริมใหม่เมื่อปี พ.ศ.๒๕๑๑ ส่วนมุขตะวันออกคือ มุขแก้วนวรัฐ อันเป็นส่วนของกุฏิแก้วนวรัฐ เมื่อสร้างครั้งแรกปูพื้นด้วยประดานไม้สักเชื่อมต่อกันทั้ง ๓ มุข มุงด้วยกระเบื้องดินของพื้นเมือง ในปลายปี พ.ศ.๒๕๓๗ ได้ทำการบูรณะซ่อมแซมใหม่ทั้งหลัง โดยทายาทของเจ้าแก้วนวรัฐพร้อมด้วยญาติมิตรเจ้านายฝ่ายเหนือ


    Picture-524.jpg



    กุฏิชินะทัตต์ วัดเจดีย์หลวง สร้างเมื่อปี พ.ศ.๒๕๑๕ ค่ะ


    Picture-550.jpg


    กุฏิมหาเจติยาสามัคคี วัดเจดีย์หลวง สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๒๒ ค่ะ


    Picture-523.jpg


    หอระฆัง วัดเจดีย์หลวง ค่ะ

    ตอบลบ
  14. กุฏิจันทกุสลานุสรณ์ ๘๔ วัดเจดีย์หลวง สร้างเมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๔ ค่ะ


    Picture-535.jpg



    ด้านหน้ากุฏิจันทกุสลานุสรณ์ ๘๔ วัดเจดีย์หลวง มีป้ายคำกลอนของพระพุทธพจนวราภรณ์ (หลวงปู่จันทร์ กุสโล) แต่งเมื่อ ๔ ตุลาคม ๒๕๔๙ กล่าวว่า...


    ชีวิตที่ผ่านมา ๘๙ ปี


    ๘๙ ปี ที่ผ่านล่วงแล้ว เหมือนฝัน
    ชีวิตทุกทุกวัน แต่งแต้ม
    แต่ละเรื่องแต่ละอัน ต่างล่วง ลับนา
    ดุจดอกไม้หลังแย้ม เหี่ยวแห้งโรยรา
    โอ้. ชีวิตคิดแล้ว ใจหาย
    ๘๙ ปี ผ่านไปง่ายดาย หมดแล้ว
    นึกนึกน่าเสียดาย ชีวิต
    ใจวูบใจอ่อนแป้ว ชีวิตน้อยนิดเดียว
    อยากจะอยู่ในโลกนี้ นานนาน
    อยู่กับศิษย์ลูกหลาน ใหญ่น้อย
    อยู่แล้วสุขสำราญ สงบจิต
    อยู่ได้จนเกินร้อย นั่นแท้ความประสงค์

    ตอบลบ
  15. พระบรมธาตุเจดีย์ วัดเจดีย์หลวง ภายในประดิษฐานบรรจุพระเกศาธาตุ พระบรมธาตุส่วนคางเบื้องซ้าย และพระบรมสารีริกธาตุต่างๆ ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าค่ะ


    IMG_0776.JPG



    ประวัติวัดเจดีย์หลวง



    ในสมัยพญามังรายได้โปรดให้พญางำเมืองและพ่อขุนรามคำแหงมาช่วยเลือกทำเลการสร้างเมืองเชียงใหม่ขึ้น โดยพ่อขุนรามคำแหงทรงเห็นว่า ตรงกลางระหว่างดอยสุเทพทางทิศตะวันตกกับแม่น้ำปิงทางทิศตะวันออกนั้นเป็นทำเลที่ดี ผังเมืองแห่งนี้จึงได้รับอิทธิพลมาจากพ่อขุนรามคำแหงแห่งสุโขทัย เป็นลักษณะสี่เหลี่ยมจัตุรัส และวัดเจดีย์หลวงเป็นวัดใหญ่ตั้งอยู่กลางใจเมืองเชียงใหม่

    วัดนี้สร้างขึ้นมาในสมัยพญาแสนเมืองมา กษัตริย์มังราย (พ.ศ.๑๙๒๙–๑๙๔๔) องค์ที่ ๗ กษัตริย์ในราชวงศ์มังราย (พ.ศ.๒๐๒๒–๒๐๒๔) การที่ถูกเรียกชื่อว่า “วัดเจดีย์หลวง” เนื่องจากมีพระบรมธาตุเจดีย์องค์ใหญ่ (คำว่าหลวง หมายถึงใหญ่) ในปี พ.ศ.๒๔๗๑ พลตรีเจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่องค์ที่ ๙ ซึ่งเป็นองค์สุดท้าย แห่งวงศ์ทิพจักร/ทิพช้าง (พ.ศ.๒๔๕๒–๒๔๘๒) ได้อาราธนาพระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจันโท) ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสวัดบรมนิวาสกรุงเทพฯ ขึ้นมาบูรณะและพัฒนาวัดเจดีย์หลวงในช่างปี พ.ศ.๒๔๗๑–๒๔๗๔ โดยทำการรวม ๓ สังฆาวาส เข้ากับ ๑ สังฆาวาส เป็นอันเดียวกัน (ยกเว้นสังฆาวาสพันเตาที่แยกไปเป็นวัดพันเตา) เรียกชื่อ "วัดเจดีย์หลวง" ตามโบราณเรียกขานกัน

    ในช่วงปี พ.ศ.๒๔๗๑–๒๔๘๑ นั้น นับเป็นทศวรรษแห่งการปรับปรุงและพัฒนาวัด กล่าวคือมีการรื้อถอนสิ่งปรักหักพังแผ้วถางป่าที่ขึ้นคลุมเสนาสนะโบราณสถานต่างๆ ออก แล้วสร้างเสริมเสนาสนะใหม่จนเป็นวัดที่สมบูรณ์ มีภิกษุสงฆ์สามเณรอยู่ประจำ จัดตั้งสำนักเรียนพระปริยัติธรรมจนกลายเป็นศูนย์กลางการศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรมในจังหวัดเชียงใหม่ และผลงานที่เป็นรูปธรรมดังกล่าวจึงทำให้วัดเจดีย์หลวงได้เลื่อนฐานะขึ้นเป็น "พระอารามหลวงชั้นตรี" ชนิด "วรวิหาร" เป็น "วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร" เมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๑ เป็นต้นมา ได้รับยกย่องเป็นวัดพัฒนาตัวอย่างเมื่อปี พ.ศ.๒๕๑๑ ได้รับพัดเกียรติคุณรับรอง พ.ศ.๒๕๑๔

    พระบรมธาตุเจดีย์ วัดเจดีย์หลวง มีความสำคัญ ๒ ประการ คือ
    ๑. เป็นเจดีย์องค์ใหญ่ที่อยู่ใจกลางเมือง
    ๒. เคยเป็นที่ประดิษฐานพระแก้วมรกต

    ลักษณะของพระบรมธาตุเจดีย์ วัดเจดีย์หลวง เป็นเจดีย์ฐานสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่ซ้อนกัน บนฐานชั้นบนที่เห็นเป็นช่องๆ นั้นเดิมเป็นรูปปั้นช้างประดับอยู่โดยรอบ ถัดขึ้นไปเป็นเรือนธาตุสี่เหลี่ยม มีมุขยื่นออกมา มุขด้านทิศเหนือประดิษฐานพระพุทธเฉลิมสิริราช (พระแก้วหยกเชียงใหม่) ซึ่งเคยเป็นที่ประดิษฐานพระแก้วมรกตด้วย ในซุ้มจระนำด้านอื่นๆ มีพระพุทธรูปแบบล้านนาตอนปลายประดิษฐานอยู่ ด้านหลังมีผนังวาดรูปต้นพระศรีมหาโพธิ์

    ตอบลบ
  16. ประวัติพระบรมธาตุเจดีย์ วัดเจดีย์หลวง




    พระธาตุเจดีย์หลวง เป็นพระเจดีย์เก่าแก่อายุกว่า ๖๐๐ ปี สูงที่สุดในอาณาจักรล้านนาไทย สร้างครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.๑๙๓๔ สมัยพระเจ้าแสนเมืองมา กษัตริย์รัชกาลที่ ๗ แห่งราชวงศ์มังราย (ครองราชย์ พ.ศ.๑๙๒๙-๑๙๔๔) สืบเนื่องมาจากได้มีพ่อค้าไปค้าขายที่เมาะตะมะกลับมายังเชียงใหม่ และได้มานอนพักผ่อนที่ใต้ต้นไม้ใหญ่ที่วัดแห่งนี้ ก็ปรากฏมีรุกขเทวดาออกมาจากต้นไม้ใหญ่นั้นบอกว่า ตนเองคือ พญากือนา ได้มาเป็นรุกขเทวดาที่นี่ สาเหตุที่ไม่ได้ไปเป็นเทวดา เพราะสมัยยังมีพระชนม์ชีพท่านชอบคล้องช้างป่า ต้องมีการทรมานช้าง เลยไม่ได้เป็นเทวดา จึงได้บอกให้พ่อค้าคนนั้นไปบอกกับพญาแสนเมืองมา ผู้เป็นพระโอรสและครองเมืองเชียงใหม่อยู่ในขณะนั้น ให้มาสร้างเจดีย์ขึ้นกลางเมืองเชียงใหม่ และให้สร้างให้สูงใหญ่จนสามารถมองเห็นได้โดยรอบถึง ๒๐๐๐ วา (ประมาณ ๔ กิโลเมตร) เพื่ออุทิศให้พญากือนาจะได้หลุดพ้นจากการเป็นรุกขเทวดาเสียที เมื่อพญาแสนเมืองมาได้รับทราบจึงสร้างเจดีย์ขึ้นองค์แรก สร้างอยู่ ๑๐ ปี ยังไม่แล้วเสร็จ ท่านก็เสด็จสวรรคคตเสียก่อน

    ต่อมาปี พ.ศ.๑๙๕๑ พระนางติโลกจุฑา พระมเหสีของพระเจ้าแสนเมืองมา ผู้สำเร็จราชการแทนยุวกษัตริย์สามฝั่งแกน พระราชโอรสให้ทรงก่อสร้างต่อจากหน้ามุขององค์พระเจดีย์ขึ้นไปนาน ๔ ปี จึงแล้วเสร็จในปี พ.ศ.๑๙๕๕ เป็นพระเจดีย์ที่มีฐาน ๔ เหลี่ยมกว้างด้านละ ๒๐ วา ส่วนสูง ๓๙ วา สามารถมองเห็นได้แม้อยู่ไกล ๒,๐๐๐ วา แต่ไม่ได้สูงตามที่พญากือนาได้มาเข้าฝันไว้

    ต่อมาในปี พ.ศ.๒๐๒๒-๒๐๒๔ สมัยพระเจ้าติโลกราช กษัตริย์รัชกาลที่ ๙ แห่งราชวงศ์มังราย (ครองราชย์ พ.ศ.๑๙๘๕-๒๐๓๐) รู้จุดประสงค์ของพญากือนาว่าต้องการให้สร้างให้สูงมาก จึงได้สร้างองค์ใหญ่ครอบดังที่เห็นในปัจจุบันนี้ มีขนาดใหญ่ที่สุดในภาคเหนือเลยทีเดียว ในขณะที่สร้างครอบนั้น พระเจ้าติโลกราชได้สั่งไว้ว่า ขอให้สร้างยอดเจดีย์เป็นกระพุ่มยอดอันเดียวกัน ก็คือมียอดเดียวไม่ใช่ ๕ ยอด เสริมสร้างพระเจดีย์ใหม่นี้มีส่วนสูง ๔๕ วา ฐานสี่เหลี่ยมกว้างด้านละ ๒๘ วา โดยให้ทำการปรับปรงดัดแปลง/ผสมผสานด้านสถาปัตยกรรมโครงสร้าง/รูปลักษณ์ทรงพระเจดีย์เสียใหม่ให้เป็นแบบ "พุทธศิลปสถาปัตยกรรมล้านนาผสมโลหะ ปราสาทลังกาและทรงเจดีย์แบบพุกามพม่า"

    ที่สำคัญก็คือได้ดัดแปลงซุ้มจระนำมุขเจดีย์ด้านทิศตะวันออกให้เป็นซุ้มและแท่นฐานที่ประดิษฐาน พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแก้วมรกต) ตลอด ๘๐ ปี ที่พระแก้วมรกตประดิษฐานอยู่ ณ นครเชียงใหม่ ระหว่างปี พ.ศ.๒๐๑๑-๒๐๙๑ ก็ประดิษฐานอยู่ในพระวิหารหลวง ๑ ปี ประดิษฐาน ณ ซุ้มจระนำมุขตะวันออกของพระธาตุเจดีย์หลวงอีก ๗๙ ปี ปัจจุบันซุ้มจระนำมุขตะวันออกเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธเฉลิมสิริราช (พระแก้วหยกเชียงใหม่) ที่สร้างเมื่อสมโภช ๖๐๐ ปี พระธาตุเจดีย์หลวง เมื่อ พ.ศ.๒๕๓๘

    ปี พ.ศ.๒๐๕๕ สมัยพระเมืองแก้ว กษัตริย์รัชกาลที่ ๑๑ แห่งราชวงศ์มังราย (ครองราชย์ พ.ศ.๒๐๓๘-๒๐๖๘) ทำการบูรณะอีกครั้ง ด้วยการขยายฐานให้ใหญ่ขึ้น/เสริมฐานและกำแพงแก้วให้แข็งแรงมั่นคงกว่าเดิม

    ต่อมาปี พ.ศ.๒๐๘๘ สมัยพระนางเจ้าจิรประภามหาเทวี รัชกาลที่ ๑๕ ราชวงศ์มังราย (ครองราชย์ พ.ศ.๒๐๘๘-๒๐๘๙) ได้เกิดพาฝนตกหนักแผ่นดินไหว ทำให้พระเจดีย์หักพังทลายลงเหลือเพียงครึ่งองค์ สุดที่จะทำการซ่อมแซมบูรณะให้ดีดังเดิมได้ จึงถูกทิ้งร้างเป็นเจดีย์ปรักหักพังมานานกว่า ๔ ศตวรรษ

    ๔ มิถุนายน ๒๕๓๓ รัฐบาลโดยกรมศิลปากร ได้ทำสัญญาว่าจ้างให้บริษัทศิวกรการช่าง จำกัด ทำการบูรณปฏิสังขรณ์พระธาตุเจดีย์หลวงใช้ทุนบูรณะ ๓๕ ล้านบาท แล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๓๕ พระธาตุเจดีย์หลวงเมื่อบูรณะแล้ว ฐานกว้างด้านละ ๖๐ เมตร ทั้ง ๔ ด้าน สูง ๔๒ เมตร

    ตอบลบ
  17. ในหนังสือ ชินกาลมาลีปกรณ์ แปลโดย ศ.ร.ต.ท.แสง มนวิฑูร พิมพ์เมื่อวันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๐๑ หน้า ๑๐๔-๑๐๕-๑๑๖-๑๒๐ และหน้า ๑๓๔ กล่าวถึงเจดีย์หลวงไว้ดังนี้

    "จุลศักราช ๒๘๙ (พ.ศ.๑๘๗๔) พระเจ้าแสนภู โปรดให้สร้างเมืองเชียงแสน ต่อมาอีก ๔ ปี ทรงสร้างมหาวิหารขึ้นในท่ามกลางเมืองเชียงแสน" มหาวิหารที่ว่านี้ คือวัดและเจดีย์หลวงองค์ที่ ๑ อยู่ในวัดพระเจ้าตนหลวง เมืองเชียงแสน ราชธานีอาณาจักรโยนก

    "พระเจ้าแสนเมืองมาพระชนมายุ ๓๙ ปี ครองราชย์สมบัติได้ ๑๖ ปี พระองค์ทรงเริ่มสร้างเจดีย์หลวงกลางเมืองเชียงใหม่ สร้างยังไม่เสร็จ พระองค์ก็เสด็จสวรรคต พระราชินีผู้เป็นอัครมเหสีของพระองค์ได้โปรดให้ทำยอดพระธาตุเจดีย์หลวงจนแล้วเสร็จ"

    "พระธาตุเจดีย์หลวงเมื่อสร้างเสร็จ (พระเจ้าติโลกราชสร้างเสริมให้สูงใหญ่ขึ้น) เรียบร้อยแล้ว มีระเบียบกระพุ่มยอดเป็นอันเดียว

    "พ.ศ.๒๐๕๕ พระราชา (พระเมืองแก้ว) พร้อมด้วยชาวเมืองทั้งหลายเอาเงินมาทำกำแพงล้อมพระธาตุเจดีย์หลวงกำแพงนั้นมีถึง ๓ ชั้น ได้เงิน ๒๕๔ กิโลกรัม แล้วเอาเงินจำนวนนั้นแลกเปลี่ยนเป็นมูลค่าทองคำด้วยเงินจำนวนนั้น ได้ทองคำจำนวน ๓๐ กิโลกรัม แล้วแผ่เป็นแผ่นทึบหุ้มองค์พระธาตุเจดีย์ เมื่อรวมกับจำนวนทองคำที่หุ้มพระเจดีย์อยู่เดิม ได้น้ำหนักทองคำถึง ๒,๓๘๒.๕๑๗ กิโลกรัม"

    ตอบลบ
  18. พระคงเจดีย์หลวง ประดิษฐานภายใน ซุ้มจระนำมุขด้านทิศเหนือ พระบรมธาตุเจดีย์ วัดเจดีย์หลวง เป็นพระพุทธรูปแบบล้านนาตอนปลาย ผนังด้านหลังมีรูปต้นพระศรีมหาโพธิ์ค่ะ

    พระพุทธเฉลิมสิริราช (พระแก้วหยกเชียงใหม่) ประดิษฐานภายใน ซุ้มจระนำมุขทิศตะวันออก พระบรมธาตุเจดีย์ วัดเจดีย์หลวง เป็นพระพุทธรูปแบบสิงห์ ๓ สมาธิราบ ปางตรัสรู้ พระหัตถ์ขวาวางทับพระหัตถ์ซ้ายทอดไว้เหนือพระเพลา พระเมาลีตูม มีเม็ดพระศกขมวดก้นหอย สังฆาฏิเล็ก/ยาวพาดพระอังสา แนบพระวรกายลงถึงพระนาภี ด้านพระปฤษฎางค์พาดลงถึงพระอาสน์ สูง ๗๐ เซนติเมตร หน้าตักกว้าง ๕๒ เซนติเมตร หนัก ๙๙.๓ กิโลกรัม ค่ะ


    ตอบลบ
  19. ประวัติพระพุทธเฉลิมสิริราช (พระแก้วหยกเชียงใหม่)

    ช่วงปี พ.ศ.๒๕๓๐-๒๕๔๐ มีมหามงคลสมัยในบ้านเมือง คือ ๒๕๓๔ พระธาตุเจดีย์หลวงครบ ๖๐๐ ปี, ๑๒ เมษายน ๒๕๓๙ เชียงใหม่ครบ ๗๐๐ ปี, ๙ มิถุนายน ๒๕๓๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองราชสมบัติครบ ๕๐ ปี คณะสงฆ์วัดเจดีย์หลวง ที่มีพระธรรมดิลก (จันทร์ กุสโล) เจ้าอาวาสเป็นประธาน พร้อมด้วยศรัทธาประชาชนชาวเชียงใหม่ จึงมีมติสมานฉันท์เมื่อวันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๓๗ ให้สร้างพระพุทธรูปหยกประดิษฐานไว้ ณ ซุ้มจระนำมุขตะวันออกพระธาตุเจดีย์หลวงที่พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแก้วมรกต) เคยประดิษฐานอยู่ในโอกาสสำคัญนี้

    พระราชธรรมเจติยาจารย์ (วิริยังค์ สิรินธโร) เจ้าอาวาสวัดธรรมมงคล กรุงเทพฯ และนางรัตนา สมบุญธรรม เจ้าของโรงเรียนมนตเสรี สำโรงเหนือ จังหวัดสมุทรปราการ อุปถัมภ์จัดหาหยกสีเขียวจากเมืองแวนคูเวอร์ประเทศแคนาดา มาสร้างเป็นพระหยกครั้งนี้

    ๒๙ มิถุนายน ๒๕๓๗ เวลา ๑๒.๓๙ น. สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงเจิมหยก ณ วัดธรรมมงคล ๙ ธันวาคม ๒๕๓๗ ลงมือแกะสลักที่โรงงานบ้านจ้อง ต.โป่งผา อ.แม่สาย จ.เชียงราย ตามหุ่นต้นแบบพุทธศิลป์ "พระคงเจดีย์หลวง" ที่ประดิษฐานอยู่ ณ ซุ้มจระนำด้านทิศเหนือองค์พระธาตุเจดีย์หลวง ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๘ สร้างเสร็จสมบูรณ์

    ๒๕ มีนาคม ๒๕๓๘ เวลา ๐๘.๐๐ น. อัญเชิญพระพุทธรูปหยกไปประดิษฐาน ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน ในพระบรมมหาราชวัง เพื่อทรงพระราชทานนามพระพุทธรูป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานนามว่า “พระพุทธเฉลิมสิริราช” สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จแทนพระองค์พระราชทานนามพระพุทธรูป ทรงเจิม ทรงพระสุหร่าย

    ๒๘ มีนาคม ๒๕๓๘ เวลา ๐๗.๐๐ น. อัญเชิญพระพุทธเฉลิมสิริราชจากวัดธรรมมงคล กรุงเทพฯ สู่เชียงใหม่โดยทางรถยนต์ เวลา ๑๖.๕๔ น. ถึงสถาบันราชภัฏเชียงใหม่ ประดิษฐาน ณ สถาบันราชภัฏเชียงใหม่ ๑ คืน ๒๙ มีนาคม เวลา ๑๖.๐๖ น. อัญเชิญสู่วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร

    ๑-๙ เมษายน ๒๕๓๘ ฉลองสมโภชพระธาตุเจดีย์หลวง/พระพุทธเฉลิมสิริราช ๓ เมษายน ๒๕๓๘ ภาคเช้า นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี เป็นประธานเปิดงานสมโภชภาคค่ำเวลา ๑๙.๕๙ น. สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงเป็นประธานจุดเทียนชัยพิธีมหาพุทธาภิเษกสมโภช มีสมเด็จพระราชาคณะ/พระเถรานุเถระ ๖๐๐ รูป นั่งสมาธิภาวนาแผ่เมตตารอบองค์พระธาตุเจดีย์หลวง

    ๒๐ เมษายน ๒๕๓๘ เวลา ๑๐.๕๕ น. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงประกอบพิธีอัญเชิญพระพุทธเฉลิมสิริราชขึ้นประดิษฐาน ณ ซุ้มจระนำมุขด้านทิศตะวันออกองค์พระธาตุเจดีย์หลวง

    ตอบลบ
  20. บ่อเปิง วัดเจดีย์หลวง เป็นบ่อน้ำใหญ่/ลึก ผนังบ่อก่อด้วยอิฐกันดินพังไว้อย่างดี ส่วนปากบ่อก่ออิฐฉาบปูนกว้าง ๔.๓๒ เมตร สูงกว่าระดับพื้นดิน ๘๒ เซนติเมตร ลึก ๑๐.๒๙ เมตร อยู่ห่างจากพระบรมธาตุเจดีย์ไปทางทิศใต้ ๕๗.๗๕ เมตร มีร่องรอยการบูรณะใหม่ โดยการก่ออิฐเสริมเป็นบางส่วน ซึ่งอิฐที่ใช้มีขนาดเล็กกว่าของเดิม พร้อมทั้งฉาบด้วยปูนซีเมนต์ ทำหลังคาสังกะสีคลุมบ่อน้ำนี้ด้วย บ่อน้ำนี้มีมาช้านาน ไม่ทราบประวัติความเป็นมาแน่ชัด แต่น่าจะมีตั้งแต่สร้างวัดมาแล้ว เนื่องจากอิฐที่ใช้มีขนาดใหญ่ใกล้เคียงกับอิฐเจดีย์ค่ะ


    Picture-562.jpg


    ประวัติบ่อเปิง วัดเจดีย์หลวง

    คำว่า “เปิง” แปลว่าคู่ควร-เหมาะสม มีผู้ให้ความหมายว่า เป็นบ่อใหญ่สมกับที่ขุดขึ้นมา เพื่อนำมาใช้ในการก่อสร้างพระบรมธาตุเจดีย์ ซึ่งในสมัยพระเจ้าติโลกราช ทรงสร้างเสริมพระบรมธาตุเจดีย์ (พ.ศ.๒๐๒๒–๒๐๒๔) นั้น ทั่วทั้งวัดเจดีย์หลวงมีบ่อน้ำถึง ๑๒ บ่อ ต่อมาถูกถมไปเพื่อเอาพื้นที่สร้างอาคารสถานที่

    ช่วงปี พ.ศ.๒๕๔๔-๒๕๔๕ สร้างซุ้มหลังคาแปดเหลี่ยมครอบบ่อเปิง เสา/โครงและเครื่องบนเป็นเหล็ก มุงด้วยกระเบื้องดินขอเคลือบสีเหลือง หลังคาเป็นแบบจตุรมุขมีช่อฟ้า เทพื้นยกสูงราว ๑๐ ซม. โดยรอบบ่อเปิง กรุอิฐด้านในและโบกปูนขอบบ่อเปิงด้านนอกเสริมสูงอีก ๕๐ ซม. ทำให้มั่นคงแข็งแรงกว่าเดิม ใช้ทุนทรัพย์ ๗๐,๐๐๐ บาท (มูลนิธิบ่อเปิงพระมหาเจติยาภิบาล ๕๐,๐๐๐ บาท ทุนบูรณะ ๒๐,๐๐๐ บาท)

    นอกจากบ่อน้ำแล้ว ด้านมุมติดกำแพงวัดทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือและเฉียงใต้ มีหนองน้ำอยู่ ๒ สระ ซึ่งเกิดจากการขุดเอาดินมาทำอิฐก่อสร้างพระบรมธาตุเจดีย์ จึงถือได้ว่าเป็นของเก่าโบราณคู่กับพระบรมธาตุเจดีย์ ควรแก่การอนุรักษ์รักษาไว้อย่างยิ่ง

    ตอบลบ
  21. เจดีย์บูรพาจารย์ วัดเจดีย์หลวง ค่ะ


    IMG_0909.JPG


    ประวัติเจดีย์บูรพาจารย์ วัดเจดีย์หลวง




    เจดีย์บูรพาจารย์ วางศิลาฤกษ์ วันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๓ และประกอบพิธียกยอดฉัตร วันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๕๔ โดย พระเดชพระคุณพระพรหมเมธี (จำนงค์ ธมฺมจารี) วัดสัมพันธวงศาราม เจ้าคณะภาค ๔-๕-๖-๗ และทำการสมโภช ถวายไว้ ณ วันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๔ โดยมี เจ้าประคุณสมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตโต) วัดบวรนิเวศวิหาร เจ้าประคุณสมเด็จพระธีรญาณมุนี (สมชาย วรชาโย) วัดเทพศิรินทราวาส เป็นประธานสงฆ์ พร้อมด้วยพระสงฆ์ในพิธี ๙๕ รูป




    สร้างขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิธาตุอดีตเจ้าอาวาสและบูรพาจารย์ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับวัดเจดีย์หลวง ดังนี้




    ๑. พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท ป.ธ.๔) เจ้าอาวาสรูปที่ ๑ ปี พ.ศ.๒๔๗๑ – ๒๔๗๔

    ชาตะ ๒๐ มีนาคม ๒๓๙๙ มรณภาพ ๑๙ กรกฎาคม ๒๔๗๕




    ๒. พระครูวินัยธรมั่น (หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต) เจ้าอาวาสรูปที่ ๒ ปี พ.ศ.๒๔๗๕

    ชาตะ ๒๐ มกราคม ๒๔๑๓ มรณภาพ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๔๙๒




    ๓. พระครูนพีสีพิศาลคุณ (ทอง โฆสิโต ป.ธ.๓) เจ้าอาวาสรูปที่ ๓ ปี พ.ศ.๒๔๗๖

    ชาตะ ๒๔๓๕ มรณภาพ ๒ สิงหาคม ๒๕๐๕




    ๔. พระพุทธิโศภณ (แหวว ธมฺมทินโน) เจ้าอาวาสรูปที่ ๔ ปี พ.ศ.๒๔๗๗ – ๒๕๐๒

    ชาตะ ๒๐ มีนาคม ๒๔๒๒ มรณภาพ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๐๒



    ๕. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (พิมพ์ ธมฺมธโร ป.ธ.๖) มากำกับการคณะสงฆ์ ปี พ.ศ.๒๔๘๐ – ๒๔๘๓

    ชาตะ ๑ พฤษภาคม ๒๔๔๐ มรณภาพ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๑๗





    ๖. พระธรรมดิลก (ขันติ์ ขนฺติโก ป.ธ.๔) เจ้าอาวาสรูปที่ ๕ ปี พ.ศ.๒๕๐๓ – ๒๕๓๔

    ชาตะ ๓๑ ตุลาคม ๒๔๕๓ มรณภาพ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๓๔




    ๗. พระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล ป.ธ.๕) เจ้าอาวาสรูปที่ ๖ ปี พ.ศ.๒๕๓๕ – ๒๕๕๑

    ชาตะ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๔๖๐ มรณภาพ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑




    ๘. พระมหาหมื่น วุฑฺฒิญาโณ ผู้เป็นปราชญ์ทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีล้านนา

    ชาตะ ๘ กุมภาพันธ์ ๒๔๑๒ มรณภาพ ๓๐ กันยายน ๒๔๙๙




    ๙. พระธรรมวิสุทธิมงคล (บัว ญาณสมฺปนฺโน ป.ธ.๓) มาศึกษาพระปริยัติธรรมสอบไล่ได้นักธรรมชั้นเอกและเปรียญธรรม ๓ ประโยคที่วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร ปี พ.ศ.๒๔๘๓

    ชาตะ ๑๒ สิงหาคม ๒๔๕๖ มรณภาพ ๓๐ มกราคม ๒๕๕๔




    ๑๐. พระครูพุทธิโสภณ (ปั๋น) ผู้ให้กำเนิดโรงเรียนพุทธิโศภณ

    ชาตะ - มรณภาพ ๒๔๘๗




    ๑๑. พระปลัดเกตุ วณฺณโก สัทธิวิหาริกรูปเดียวของหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต

    ชาตะ ๑๐ ธันวาคม ๒๔๓๕ มรณภาพ ๒ กรกฎาคม ๒๕๑๒

    ตอบลบ
  22. วิหารบูรพาจารย์ (วิหารหลวงปู่มั่น) วัดเจดีย์หลวง ค่ะ


    Picture-576.jpg


    ประวัติวิหารบูรพาจารย์ (วิหารหลวงปู่มั่น) วัดเจดีย์หลวง

    วิหารบูรพาจารย์ (วิหารหลวงปู่มั่น) เป็นสถาปัตยกรรมสกุลช่างล้านนา จำลองแบบมาจากวิหารวัดต้นเกว๋น หรือวัดอินทราวาส ม.๔ ต.หนองควาย อ.หางดง จ.เชียงใหม่ ซึ่งเป็นวิหารเก่าแก่สร้างเมื่อปี พ.ศ.๒๔๐๑ สมัยพระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงศ์ เจ้าผู้นครเมืองเชียงใหม่ องค์ที่ ๖ วงศ์ทิพย์จักร/ทิพย์ช้าง วิหารกว้าง ๘ เมตร ยาว ๑๒ เมตร สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ประดิษฐานบุษบกบรรจุอัฐิธาตุ/ฟันกราม และรูปเหมือนของหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต บริเวณด้านหน้าวิหารบูรพาจารย์เยื้องไปทางทิศใต้เล็กน้อย เคยเป็นที่ตั้งกุฏิทัณฑเขตที่หลวงปู่มั่นเคยพำนัก

    พระธรรมวิสุทธิมงคล เป็นประธานวางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๕ สร้างแล้วเสร็จ ทำพิธีถวายเมื่อวันที่ ๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๖ ใช้งบประมาณในการก่อสร้าง ๖,๐๐๐,๐๐๐ บาท คุณฐาวรา หวั่งหลี และคณะเป็นเจ้าภาพ

    ตอบลบ
  23. บุษบกที่ประดิษฐานโกศบรรจุอัฐิธาตุ/ฟันกรามของหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ประดิษฐานภายใน วิหารบูรพาจารย์ (วิหารหลวงปู่มั่น) วัดเจดีย์หลวง ค่ะ


    DSC09795.jpg



    ประวัติบุษบก

    บุษบกที่ประดิษฐานโกศบรรจุอัฐิธาตุและฟันกรามของหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต สร้างด้วยไม้สักลงรักปิดทอง มีรูปทรงเป็นแบศิลปสกุลช่างล้านนา มีขนาดความกว้างของฐาน ๑.๒๔ เมตร ความสูงจากฐานถึงยอด ๔.๘๐ เมตร สิ้นค่าก่อสร้างรวมทั้งค่าตกแต่งทั้งสิ้น ๒๕๐,๐๐๐ บาทถ้วน และเมื่อวันที่ ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๕ เวลา ๑๖.๐๐ น. หลวงตามหาบัวญาณสัมปันโน พระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล) และพระมหาเถราจารย์สายวิปัสสนากรรมฐาน อาทิ:

    หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ วัดอรัญบรรพต อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย
    หลวงปู่จันทร์โสม กิตติกาโร วัดป่านาสีดา อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
    พระญาณทีปาจารย์ (หลวงปู่ท่อน ญาณธโร) วัดป่าศรีอภัยวัน อ.เมือง จ.เลย
    หลวงปู่มี ปริปุณโณ วัดป่านาคุณ อ.เมือง จ.อุดรธานี
    หลวงปู่เพียร วิริโย วัดป่าหนองกอง อ.บ้านผือ จ.อุดรธานี
    หลวงปู่ฟัก สันติธัมโม วัดพิชัยรัตนาราม อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี
    พระอาจารย์อินทร์ถวาย สันตุสสโก วัดป่านาคำน้อย อ.นายูง จ.อุดรธานี

    พร้อมทั้งคณะสงฆ์และพระประชาชนจำนวนมาก ได้ร่วมในพิธีอัญเชิญอัฐิธาตุและฟันกรามของหลวงปู่มั่นที่บรรจุในโกศ ขึ้นประดิษฐานไว้ในบุษบก ณ ลานประทักษิณทิศตะวันออกของพระธาตุเจดีย์หลวงเป็นที่เรียบร้อยและประทับใจ


    ตอบลบ
  24. รูปเหมือนรูปนั่งขนาดเท่าองค์จริงของหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ประดิษฐานภายใน วิหารบูรพาจารย์ (วิหารหลวงปู่มั่น) วัดเจดีย์หลวง ค่ะ


    Picture-579.jpg


    ประวัติรูปเหมือนหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต

    พระโสภณธรรมสาร เจ้าอาวาสวัดป่าดาราภิรมย์ อำเภอแม่ริม เชียงใหม่ ได้ให้รายละเอียดเกี่ยวกับการหล่อรูปเหมือนหลวงปู่มั่นไว้ว่า

    "เมื่อวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๕ เวลา ๑๐.๑๙ น. ณ สวนแสงธรรม อำเภอศาลายา จังหวัดนครปฐม ได้ทำพิธีเททองหล่อรูปเหมือนหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต สูง ๑.๗๓ เมตร ในอิริยาบถยืน หล่อด้วยทองสำริดรมดำส่วนหนึ่งของทองที่ใช้หล่อครั้งนี้ เป็นแผ่นทองจังโกที่ได้จากการขุดค้นในการบูรณปฏิสังขรณ์พระธาตุเจดีย์หลวง ระหว่างปี ๒๕๓๓-๒๕๓๕ (แผ่นทองหุ้มองค์พระธาตุเจดีย์หลวงเมื่อครั้งพระเจ้าติโลกราชทรงสร้างเสริมพระธาตุเจดีย์หลวง พ.ศ.๒๐๒๒-๒๐๒๔)

    ในการหล่อรูปเหมือนครั้งนี้ ใช้ทุนทรัพย์แสนกว่าบาท คณะศิษย์ศรัทธาของหลวงตามหาบัว (พระธรรมวิสุทธิมงคล) ร่วมกันเป็นเจ้าภาพ มีหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน แห่งวัดป่าเกสรศีลคุณ (วัดป่าบ้านตาด อุดรธานี) เป้นประธานเททอง มีพระพุทธพจนวราภรณ์ เจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวงวรวิหาร เป็นประธานสงฆ์สายพระกรรมฐานร้อยกว่ารูปเจริญชัยมงคลคาถา

    เมื่อหล่อเสร็จทำการขัดแต่งรมดำเรียบร้อยแล้ว ได้อาราธนามาไว้ในพระวิหารหลวง วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร โดยการตั้งขบวนแห่ต้อนรับรูปเหมือนตั้งแต่ประตูลี้ เมืองลำพูน มาสู่วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร เชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๔๖ ขณะนี้อาราธนาประดิษฐานไว้ในวิหารบูรพาจารย์เรียบร้อยแล้ว พร้อมทั้งรูปหุ่นขี้ผึ้งอิริยาบถนั่งสมาธิเท่าองค์จริงหลวงปู่มั่น ที่คุณฐาวรา หวั่งลี สร้างถวาย เพื่อให้ประชาชนศิษย์ศรัทธาได้สักการบูชา"


    IMG_0980.JPG

    DSC09793.jpg



    พระอัฐิธาตุหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ประดิษฐานภายใน วิหารบูรพาจารย์ (วิหารหลวงปู่มั่น) วัดเจดีย์หลวง ค่ะ



    IMG_0983.JPG



    รูปเหมือนพระญาณสัมปันโน หลวงตามหาบัว ประดิษฐานภายใน วิหารบูรพาจารย์ (วิหารหลวงปู่มั่น) วัดเจดีย์หลวง ค่ะ

    ตอบลบ
  25. วิหารจตุรมุขบูรพาจารย์ วัดเจดีย์หลวง หลังนี้ มีฐานคอนกรีตเสริมเหล็กสูง ๑.๒๐ เมตร โครงสร้างด้านบนเป็นไม้สักและไม้มีค่าทั้งหมด หลังคาวิหารทำเป็นลักษณะกุฎาคารหรือปราสาทยอด ๓ ชั้น ส่วนยอดปราสาทติดตั้งฉัตรทองเหลืองแบบพม่า ห้องโถงวิหารที่ตั้งธรรมาสน์ใช้เสาไม้กลม ๘ ต้นค้ำยันเพดาน เสาแต่ละต้นสูง ๖ เมตร วัดรอบเสาได้ ๔๐ เซนติเมตร ใช้เสาไม้เหลี่ยมจำนวน ๕๓ ต้นรองรับ อเสและคร่าวสำหรับประกอบฝาข้อสองสลับลูกกรง เสาแต่ละต้นสูง ๓.๐๐ เมตร วัดเสารอบได้ ๒๐ เซนติเมตร ประดับด้วยลวดลายฉลุปิดทอง ปูพื้นด้วยกระเบื้องเซรามิค ขนาด ๖ X ๖ นิ้ว สีภายในวิหารใช้โทนสีแบบโบราณออกน้ำตาลแดง เพดานประดับด้วยลายดอกบัวติดกระจกสีค่ะ


    Picture-587.jpg


    ประวัติวิหารจตุรมุขบูรพาจารย์ วัดเจดีย์หลวง

    เป็นปูชนียสถานประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ อัฐิธาตุพระสงฆ์สุปฏิปันโน สายหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต วิหารหันหน้าสู่ทิศตะวันออก มีบันไดทอดลงสู่ลานประทักษิณด้านทิศตะวันตกองค์พระธาตุเจดีย์หลวง ได้ทำการฉลองสมโภชถวายเป็นสมบัติพระศาสนาในวันที่ ๑๓ - ๑๔ มกราคม ๒๕๔๙

    วางศิลาฤกษ์เพื่อทำการก่อสร้างเมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๗ อันเป็นวันทำบุญอายุครบ ๘๗ ปี ของพระเดชพระคุณพระพุทธพจนวราภรณ์ (จันทร์ กุสโล) เจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวงวรวิหาร โดยมีพระเดชพระคุณพระธรรมวิสุทธิมงคล (หลวงตามหาบัวญาณ สัมปันโน) และพระพุทธพจนวราภรณ์ เป็นประธานร่วมในการวางศิลาฤกษ์ คุณฐาวรา หวั่งลี เป็นเจ้าภาพให้ความอุปถัมภ์ในการก่อสร้างที่ต้องใช้ทุนทรัพย์ ๔,๐๐๐,๐๐๐ บาท ระยะก่อสร้าง ๑ ปี ขนาดของอาคารกว้าง ๑๐.๕๐ เมตร ยาว ๑๐.๕๐ เมตร

    วิหารจตุรมุขบูรพาจารย์ เป็นศิลปสถาปัตยกรรมแบบพื้นบ้านล้านนาลำปางจำลองแบบมาจากมณฑปจตุรมุขวัดปสนุกใต้ (กรมศิลปากรขึ้นทะเบียนไว้เป็นวัดปงสนุกเหนือ อันเป็นวัดพี่วัดน้องในชุมชนเดียวกัน เพียงแต่แยกเป็นเหนือ/ใต้) ซึ่งเป็นวัดประจำชุมชนปงสนุก ตำบลเวียงเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ชุมชนปงสนุกนี้เป็นชาวโยนกเชียงแสน ที่ถูกกวาดต้อนมาสมัยเจ้าผู้ครองนครลำปางองค์ที่ ๒ (พระเจ้าดวงทิพย์) บริเวณชุมชนปงสนุกนี้ เคยเป็นวัดเก่าแก่สืบมาแต่ครั้งพระเจ้าอนันตยศโอรสพระนางเจ้าจามเทวี ชาวโยนกเชียงแสนได้ฟื้นฟูขึ้นเป็นวัดอีกครั้ง ต่อมาในสมัยเจ้าผู้ครองนครลำปางองค์ ๗-๘ (ราว พ.ศ.๒๔๗๙-๒๔๓๐) พระอาโนชัยธรรม จินดามุนี (ครูบาโน) จึงได้สร้างมณฑปจตุรมุขอันเป็นสถาปัตยกรรมทรัพย์สิน "ทางศรัทธา" ชั้นเยี่ยมของเมืองลำปาง

    แต่วิหารจตุรมุขบูรพาจารย์สร้างให้มีขนาดใหญ่กว่ามณฑปต้นแบบ คือ กว้าง ๑๐.๕๐ เมตร ยาว ๑๐.๕๐ เมตร และส่วนที่สร้างให้แตกต่างจากต้นแบบก็คือ มุขด้านทิศตะวันออกซึ่งเป็นประตูทางเข้าเพียงด้านเดียวนั้น ได้ทำทางลดระดับยาว ๙ เมตร กว้าง ๒.๘๐ เมตร ปูด้วยกระเบื้องเซรามิคเชื่อมต่อทอดลงสู่ลานประทักษิณของพระธาตเจดีย์หลวงมี "มอม" สัตว์ในโบราณคดีของล้านนาอยู่ ๒ ข้าง ทางขึ้น (มอม สัตว์ในจินตนาการกลายพันธุ์) พร้อมทั้งทำหลังคากันแดดกันฝนลดหลั่นเป็นชั้นๆ ดูงามกลมกลืนอย่างลงตัว


    DSC09758.jpg


    รูปปั้นตัวมอม บันไดทางขึ้น/ลง วิหารจตุรมุขบูรพาจารย์ วัดเจดีย์หลวง ค่ะ

    ตอบลบ
  26. วิหารพระนอน หรือพระพุทธไสยาสน์ วัดเจดีย์หลวง เดิมเป็นวิหารที่ก่ออิฐถือปูน และเมื่อวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๑ ทำพิธีถอนเอาฤกษ์เพื่อทำการบูรณะวิหารพระนอนใหม่ทั้งหลังทั้งหมดให้แล้วเสร็จทันสมโภชพระวิหารหลวงค่ะ


    Picture-621.jpg



    Picture-622.jpg



    IMG_1028.JPG


    IMG_1057.JPG



    IMG_1061.JPG



    พระนอน หรือพระพุทธไสยาสน์ ประดิษฐานภายใน วิหารพระนอน วัดเจดีย์หลวง เป็นพระพุทธรูปที่เก่าแก่คู่กับพระบรมธาตุเจดีย์ แต่ไม่ปรากฏว่าสร้างขึ้นเมื่อใดและใครเป็นผู้สร้าง พระนอนองค์นี้สร้างด้วยอิฐฉาบปูนปิดทองเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.๒๕๓๖ ได้บูรณะใหม่ทำเป็นสีทองสำเร็จแทน มีพุทธลักษณ์งดงามมากและมีขนาดใกล้เคียงพระอัฏฐารส หันเศียรสู่ทางทิศใต้ หันพระพักตร์เข้าหาองค์พระบรมธาตุเจดีย์ด้วย สูง ๑.๙๓ เมตร ส่วนยาว ๘.๗๐ เมตร อยู่ห่างจากพระบรมธาตุเจดีย์ไปทางทิศตะวันตก ๑๑.๖๐ เมตร ค่ะ

    ตอบลบ
  27. วิหารหลังเล็ก วัดเจดีย์หลวง ค่ะ


    DSC09755.jpg



    รูปพระมหากัจจายนะ วัดเจดีย์หลวง ประดิษฐานภายใน วิหารหลังเล็ก อยู่ห่างจากพระบรมธาตุเจดีย์ไปทางทิศเหนือ (คณะหอธรรม) ๔๖.๐๗ เมตร ก่อด้วยอิฐปานปูนทาสีทอง สูง ๓.๗๐ เมตร หน้าตักกว้าง ๓.๒๘ เมตร ไม่มีหลักฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อใด แต่เชื่อว่ามีความเก่าแก่พอๆ กับพระนอนค่ะ


    Picture-626.jpg


    IMG_1083.JPG



    ปัจจุบันรูปพระมหากัจจายน์มีอยู่ ๒ องค์ อีกองค์สร้างใหม่ อยู่ติดวิหารพระพุทธไสยาสน์ เมื่อก่อนอยู่หน้าวัดติดกับวัดพันเตา ย้ายไปไว้ติดกับพระพุทธไสยาสน์ ปี ๒๕๓๘ ค่ะ

    ตอบลบ
  28. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา วัดเจดีย์หลวง ค่ะ

    วัดเจดีย์หลวง เป็นแหล่งศูนย์กลางการบริหารคณะสงฆ์ฝ่ายธรรมยุตในภาคเหนือ เริ่มตั้งแต่สมัยพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจันโท ช่วงปี พ.ศ.๒๔๗๑ – ๒๔๗๔) โดยเฉพาะการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกนักธรรมและบาลีในปี พ.ศ.๒๔๓๔ ได้มีการตั้งมหาวิทยาลัยมกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา มีโรงเรียนสาธิตวิทยาเขตล้านนาระดับมัธยม ๑-๖ และอุดมศึกษา รวมทั้งเป็นที่ตั้งของโรงเรียนเมตตาศึกษา ซึ่งเป็นโรงเรียนแบบให้เปล่าเปิดโอกาสให้เยาวชนที่เรียนดีแต่ยากจนได้ศึกษาในระดับมัธยมต้น (ม.๑-๓) ดำเนินการนับแต่ พ.ศ. ๒๕๐๓ เป็นต้นมา


    Picture-650.jpg



    หอสมุด ฟ.เยสเปอร์เซ่น วัดเจดีย์หลวง สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๓๘ โดยมูลนิธินายห้างโรงปูนผู้หนึ่งค่ะ

    ตอบลบ
  29. หอธรรม พิพิธภัณฑ์วัดเจดีย์หลวง ๙๐ ปี พระพุทธพจนวราภรณ์ สร้างเพื่อถวายเป็นอนุสรณ์ พระเดชพระคุณพระพุทธพจนวราภรณ์ (หลวงปู่จันทร์ กุสโล) และในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุครบ ๘๐ พรรษา ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๐ ทั้งนี้ในการก่อสร้างตกลกว่าจะให้แล้วเสร็จภายใน ๑ ปี ให้ทันกำหนดการเปิดใช้ในวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ อันเป็นวันทำบุญอายุครบ ๙๐ปี พระเดชพระคุณพระพุทธพจนวราภรณ์ แต่เอาเข้าจริงกว่าจะแล้วเสร็จและส่งมอบอาคารให้ทางวัดได้ ก็ล่วงเลยมาถึงวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๑ ค่ะ


    DSC08765.jpg



    ประวัติหอธรรม พิพิธภัณฑ์วัดเจดีย์หลวง ๙๐ ปี พระพุทธพจนวราภรณ์ วัดเจดีย์หลวง

    เมื่อปี พ.ศ.๒๐๑๗ พระเจ้าติโลกราชได้สร้างวิหารหลวงขึ้นใหม่พร้อมทั้งให้สร้างหอธรรม (หอพระไตรปิฏก) ไว้ทางด้านเหนือขององค์พระบรมธาตุเจดีย์ คือสังฆาวาสหอธรรมและทางด้านใต้ในเขตพุทธาวาส แต่ที่มีหลักฐานอาคารหอธรรมสืบทอดมาให้เห็นทุกวันนี้ คืออาคารหอธรรมที่คณะหอธรรมตรงกับซุ้มจระนำมุขด้านทิศเหนือพระบรมธาตุเจดีย์ ต่อมา ในปีพ.ศ.๒๕๑๕ มีการบูรณะซ่อมแซมใหม่ เมื่อถึงปี พ.ศ.๒๕๓๐ ทางวัดได้ทำการรื้อถอนหอธรรมออกไปสร้างในที่ใหม่ ณ มุมวัดด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ เพื่อเอาพื้นที่สร้างกุฏิสมเด็จ ที่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถทรงบริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เป็นทุนในการก่อสร้างและวางศิลาฤกษ์ทำการก่อสร้างเมื่อ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๓๐

    ต่อมาวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๘ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา ได้รื้อถอนพร้อมกับถมสระสร้างอาคารพระพุทธพจนวราภรณ์ อาคารเรียนและหอประชุมขนาดใหญ่ ๓ ชั้น ทางวัดจึงรื้อถอนอาคารรุจิวงศ์ออกเอาพื้นที่สร้างหอธรรม/พิพิธภัณฑ์หลังใหม่แบบจตุรมุขสองชั้น ชั้นล่างเป็นพิพธภัณฑ์เนื้อที่ใช้สอย ๔๐ ตารางเมตร ชั้นสองเป็นหอธรรมเนื้อที่ใช้สอย ๗ ตารางเมตร เป็นอาคารแบบ "กุฏาคาร" คือเรือนยอดหรือปราสาท ศิลปสถาปัตยกรรมพื้นบ้านล้านนาประยุกต์ แล้วเสร็จ ๒๗ มีนาคม ๒๕๕๑ สิ้นค่าก่อสร้าง ๔,๕๐๐๐,๐๐๐ บาท ทางวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา ให้การสนับสนุนทุนทรัพย์ ๓ ล้าน นอกจากนั้นทางวัดเป็นผู้จัดหา (ตามสัญญาจะต้องสร้างเสร็จทัน ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๐)

    วันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ เวลา ๐๙.๐๐ น. พระเดชพระคุณพระพุทธพจนวราภรณ์ เจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวงวรวิหาร เป็นประธานวางศิลาฤกษ์ เพื่อความเป็นสิริมงคลในการสร้างหอธรรมและพิพิธภัณฑ์ให้สำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์

    วัดเจดีย์หลวงเป็นแหล่งสะสมรักษา/ค้นพบพระคัมภีร์ใบลาน/วรรณกรรมสำคัญๆ จำนวนมาก อาทิ โคลงเมืองเป้า, โคลงปทุมลังกา, โคลงมังทรารบเชียงใหม่, โครงอมราพิสวาท, (มณี พยอมยงค์-พิธีบวงสรวง/ประวัติวัดโชติการาม-๒๕๓๓) และตู้พระธรรมเก่าแก่มีค่าอีกมาก รวมทั้งหนังสือวรรณกรรมต่างๆ/ตำนานต่างๆ ที่พระมหาหมื่น วุฑฒิญาโณ แห่งวัดเจดีย์หลวง นักประวัติศาสตร์/นักปราชญ์คนสำคัญของเชียงใหม่/ล้านนาไทย/ปริวรรตต้นฉบับคัมภีร์เก่า/เขียนหรือแต่งหนังสือขึ้นใหม่รวบรวมไว้จำนวนมาก

    ตอบลบ