วันพุธที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

19.07.2560 Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.

Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.

Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/610/thailand/bangkok/wat-benchamabopit


Wat Benchamabopit "The Marble Temple" (วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม) (built 1899 onward)

The Marble Temple, or Wat Benjamabopit, as it is known to most Thais, was constructed in 1899 in the Dusit area of Bangkok, an area that bristles with 19th century buildings. It is situated on Nakhon Pathom road next to a canal. The ubosot (bot) of this temple is designed symmetrically with multiple layered roofs and beautifully balanced proportions. The sight is most impressive when one approaches the temple from the northern main entrance. Wat Benjamabopit is best known for the lavish use of Italian carrara marble, which was an almost priceless construction material at the time (actually it still is). The masonry halls are clad with large marble tiles and decorated with European-style stucco (very popular at the time). The roofs are covered with glazed Chinese terracotta tiles. The polished, reflective surfaces of these materials and the traditional gold-lacquered ornamentations give the temple a gleaming and glistening appearance in the sunlight.
Text by Thomas Knierim

Location

The approximate location of the site is 13.766565' N, 100.514168' E (WGS 84 map datum).

 01.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.

 02.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.


 03.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.


 04.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.


 05.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.


 06.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.


 07.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.


 08.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.


 09.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.


 10.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.


 11.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.


 12.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.


 13.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.


 14.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.


 15.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.


 16.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.


 17.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.


 18.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.


 19.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.


 20.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.


 21.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.


 22.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.


23.Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร.

Wat Benchamabopit, Bangkok, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/610/thailand/bangkok/wat-benchamabopit

------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ข้อมูลและภาพ จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Wat_Benchamabophit


Wat Benchamabophit

From Wikipedia, the free encyclopedia
Wat Benchamabophit
Wat Benchamabophit face.jpg
The Ordination Hall (Ubosot)
Wat Benchamabophit is located in Bangkok
Wat Benchamabophit
Location within Bangkok
Basic information
Geographic coordinates13°45′59.7″N100°30′50.7″ECoordinates13°45′59.7″N 100°30′50.7″E
AffiliationTheravada Buddhism
CountryThailand
Architectural description
FounderPrince Naris[1]
Completed1911 A.D.[1]
Wat Benchamabophit Dusitvanaram (Thaiวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม) is a Buddhist temple (wat) in the Dusitdistrict of BangkokThailand. Also known as the marble temple, it is one of Bangkok's most beautiful[peacock term]temples and a major tourist attraction. It typifies Bangkok's ornate style of high gables, stepped-out roofs and elaborate finials.[2]

Construction[edit]

Construction of the temple began in 1899 at the request of King Chulalongkorn after building his palace nearby. The temple's name literally means the Temple of the fifth King located nearby Dusit Palace. It was designed by Prince Naris, a half-brother of the king, and is built of Italian marble.[1] It has display of Carrara marble pillars, a marble courtyard and two large singhas (lions) guarding the entrance to the bot. The interiors are decorated with crossbeams of lacquer and gold, and in shallow niches in the walls of paintings of important stupas all over the country.[1] The cloister around the assembly hall houses 52 images of Buddha.[1]

The Temple[edit]

Inside the ordination hall (ubosot) is a Sukhothai-style Buddha statue named Phra Buddhajinaraja, cast in 1920 after the original located in Wat Mahathat in Phitsanulok. The main Buddha image is a copy of Phra Buddha Chinarat that resides in Phitsanulok in northern Thailand.[3] The ashes of King Chulalongkorn are buried beneath the statue. In the gallery surrounding the ordination hall are 52 buddha statues each showing different mudras (signs),[3] collected by Prince Damrong Rajanubhab for his king. The temple was featured in the famous The Amazing Race 9 as the 10th and final elimination pit-stop. The image of the temple's façade is visible on the reverse side of the Five-Baht coin of the Thai currency. The site contains the Benchamabophit National Museum.

Panoramic View of the Temple

Worship and Festivals[edit]

Merit makers come to the monks of the temple for getting alms every morning. Between 6-7:30 in the morning, the monks line up on Nakhon Pathom with their bowls to receive donations of curry, rice, lotus buds, incense,toiletries and other essentials. .[4] The evening candlelight procession around the bot during the Buddhist festivals of Magha Puja (in February) and Visakha Puja (in May) are common for this temple.[4]

Protection[edit]

In 2005, the temple was submitted to UNESCO for consideration as a future World Heritage Site.

Crime[edit]

This temple is sometimes used as part of a Gem scam in Bangkok.[5][6] The scam involves tourists buying fake gem stones. This temple is part of the free tour offered to potential victims.

Image Galleries[edit]


-----------------------------------------------------------

ขอบคุณ ข้อมูลและภาพ จาก https://th.wikipedia.org/wiki/วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม

วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร
วัดเบญจมบพิตร.jpg
พระอุโบสถ วัดเบญจมบพิตร
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อวัดเบญจ
ที่ตั้ง69 ถนนพระรามที่ 5 แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300
ประเภทพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร
นิกายเถรวาท มหานิกาย
พระประธานพระพุทธชินราช (จำลอง)
พระพุทธรูปสำคัญพระหริภุญชัยบรมโพธิสัตว์ พระฝาง
เป็นวัดประจำพระราชวังดุสิต
เวลาทำการทุกวัน 8.30-17.30
จุดสนใจพระอุโบสถ และ พิพิธภัณฑ์ฯวัดเบญจฯ
กิจกรรมบวชสามเณรภาคฤดูร้อน (เม.ย.) บวชชาวเขา (ก.ค.) ตานก๋วยสลาก (ต.ค.)
    
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างขึ้นเมื่อใด เดิมชื่อ วัดแหลม หรือ วัดไทรทอง ภายหลังได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวใหม่ว่า วัดเบญจบพิตร ซึ่งหมายถึง วัดของเจ้านาย 5 พระองค์ที่ทรงร่วมกันปฏิสังขรณ์วัดแห่งนี้ เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้างสวนดุสิตขึ้นพระองค์ทรงทำผาติกรรมสถาปนาวัดขึ้นใหม่และพระราชทานามว่า วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม อันหมายถึง วัดของเจ้านาย 5 พระองค์ที่ทรงร่วมกันปฏิสังขรณ์วัด

ประวัติ[แก้]

มุมข้างวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร เดิมเป็นวัดราษฎร์ ชื่อ
เนื่องจากตั้งอยู่บริเวณปลายแหลมที่สวนต่อกับทุ่งนา หรือ มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า วัดแหลม เนื่องจากอาจมีต้นไทรอยู่ภายในวัด[1] ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างเมื่อใด เมื่อ พ.ศ. 2369 ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เกิดกบฏเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ขึ้น พระองค์จึงโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพนมวัน กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาศิลา ทรงเป็นแม่ทัพรักษาพระนคร โดยทรงตั้งกองบัญชาการทัพที่วัดแหลม หลังจากปราบกบฏเจ้าอนุวงศ์แล้ว กรมพระพิพิธโภคภูเบนทร์ พร้อมพระอนุชาและพระขนิษฐาร่วมเจ้าจอมมารดาเดียวกันอีก 4 พระองค์ คือ
มีพระประสงค์ที่จะร่วมกันปฏิสังขรณ์วัดแหลม พร้อมทั้งทรงสร้างพระเจดีย์เรียงรายไว้หน้าวัด 5 องค์ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามใหม่ว่า วัดเบญจบพิตร หมายความว่า วัดของเจ้านาย 5 พระองค์[1]
พระอุโบสถวัดเบญจมบพิตร เมื่อแรกสร้าง
ในปี พ.ศ. 2441 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ซื้อที่ดินระหว่างคลองผดุงกรุงเกษมจนถึงคลองสามเสนเพื่อสร้างที่ประทับพักผ่อนพระอิริยาบถส่วนพระองค์ โดยพระราชทานนามว่า "สวนดุสิต"[2] (พระราชวังดุสิต ในปัจจุบัน) ซึ่งบริเวณที่ดินที่ทรงซื้อนั้นมีวัดโบราณ 2 แห่ง คือ วัดดุสิตซึ่งอยู่ในสภาพทรุดโทรมโดยถูกใช้เป็นที่สร้างพลับพลา และวัดร้างอีกแห่งซึ่งจำเป็นต้องใช้ที่ดินของวัดสำหรับตัดเป็นถนน พระองค์จึงทรงกระทำผาติกรรม สร้างวัดแห่งใหม่เพื่อเป็นการทดแทนตามประเพณี โดยทรงเลือกวัดเบญจมบพิตรเป็นวัดที่ทรงสถาปนาตามพระราชดำริว่า การสร้างวัดใหม่หลายวัดยากต่อการบำรุงรักษา ถ้ารวมเงินสร้างวัดเดียวให้เป็นวัดใหญ่ และทำโดยฝีมือประณีตจะดีกว่า จึงโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เป็นผู้ทรงออกแบบก่อสร้างพระอุโบสถและถาวรวัตถุอื่น ๆ และมีพระยาราชสงคราม (กร หงสกุล) เป็นนายช่างก่อสร้าง
เมื่อวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2441 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินมายังวัด ในการนี้มีพระบรมราชโองการประกาศพระบรมราชูทิศถวายที่ดินให้เป็นเขตวิสุงคามสีมาของวัด พร้อมทั้งพระราชทานนามวัดใหม่ว่า วัดเบญจมบพิตร อันหมายถึง วัดของพระเจ้าแผ่นดินรัชกาลที่ 5 และเพื่อแสดงลำดับรัชกาลในมหาจักรีบรมราชวงศ์[3] ต่อมา พระองค์ได้ถวายที่ดินซึ่งพระองค์ขนานนามว่า ดุสิตวนาราม ให้เป็นที่วิสุงคามสีมาเพิ่มเติมแก่วัดเบญจมบพิตร และโปรดฯ ให้เรียกนามรวมกันว่า วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม[4]
เมื่อมีการจัดระเบียบพระอารามหลวงในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวในปี พ.ศ. 2458 วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามจัดเป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร[5]ดังนั้น ชื่อวัดจึงมีสร้อยนามต่อท้ายด้วย "ราชวรวิหาร" ดังเช่นในปัจจุบัน

สิ่งก่อสร้างสำคัญ[แก้]

ศาลาสี่สมเด็จ[แก้]

พระอุโบสถยามเช้า
ศาลาสี่สมเด็จ เป็นศาลาจตุรมุขพื้นศิลา หลังคาประดับด้วยช่อฟ้าใบระกา สร้างขึ้นจากพระราชทรัพย์ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวร่วมกับสมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอและสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอร่วมพระราชชนนีอีก 3 พระองค์ ได้แก่ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทรมณฑล กรมหลวงวิสุทธิกระษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ และสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช โดยพระองค์พระราชทานนามศาลาแห่งนี้ว่า ศาลาสี่สมเด็จ ไว้เป็นที่พักผ่อนสำหรับพระสงฆ์และสามเณร[4] ปัจจุบัน ศาลาสี่สมเด็จใช้เป็นหอกลอง
บริเวณหน้าบันทั้ง 4 ด้านของศาลาสี่สมเด็จได้จำหลักลายไทยเป็นตราประจำพระองค์ของแต่ละพระองค์ไว้ ได้แก่ ตราพระเกี้ยว พระราชลัญจกรในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตราจันทรมณฑล ตราประจำพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทรมณฑล กรมหลวงวิสุทธิกระษัตริย์ ตราจักร ตราประจำพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงศ์ และ ตราสุริโยทัย ตราประจำพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช[6]

พระที่นั่งทรงธรรม[แก้]

เป็นตึก ๒ ชั้น ก่ออิฐถือปูนตลอด พื้นชั้นล่างและบันไดปูหินอ่อน ชั้นบนปูไม้ หลังคา ๒ ชั้น มุงกระเบื้องเคลือบสี ช่อฟ้าใบระกาลงรักปิดทองทึบ หน้าบันทั้ง ๔ ด้าน จำหลักภาพต่าง ๆ ปิดทองประดับกระจก ภายในผนังเสมอกรอบหน้าต่าง ประกบแผ่นหินอ่อนสีขาว เสาเขียนลายรดน้ำเทพนม ตั้งธรรมาสน์กลางห้อง ด้านใต้กั้นพระฉากดีบุกฉลุลายไทยเทพนมและกุมภัณฑ์ เพื่อเป็นที่ประทับของฝ่ายใน พระที่นั่งทรงธรรมนี้ "สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี" ทรงสร้างอุทิศสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๕ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์ใช้เป็นที่ประทับแรมเวลาทรงธรรมรักษาอุโบสถศีล ต่อมาได้เคยใช้เป็นที่ประชุมสังฆมนตรี, ที่ศึกษาพระปริยัติธรรม จัดงานประจำปีของวัด ตั้งพระศพและศพบุคคลสำคัญของชาติ ในเวลาตั้งพระศพศาลาแห่งนี้มีศักดิ์เป็นรองจากพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท เช่น พระศพของพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี, พระศพพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเหมวดี, พระศพพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิภาวดีรังสิต, พระศพสมเด็จพระสังฆราช กิตติโสภณมหาเถระ, จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรี เป็นต้น ปัจจุบันคงใช้ในกิจกรรมของวัด และตั้งพระศพหรือศพบุคคลสำคัญ[7]

หอระฆังบวรวงศ์[แก้]

หอระฆังบวรวงศ์ เป็นหอระฆังทรงไทยประกอบหินอ่อน สร้างขึ้นโดยพระบรมวงศานุวงศ์ ฝ่ายพระราชวังบวร (กรมพระราชวังบวรสถานมงคล หรือ วังหน้า) และข้าราชการ ระฆังภายในหอนั้นนำมาจากวัดบวรสถานสุทธาวาส ซึ่งเป็นวัดประจำพระราชวังบวรสถานมงคล หน้าบันของหอระฆังจำหลักลายไทยประกอบภาพตราประจำตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคล โดยหน้าบันทิศตะวันตกเป็นภาพ "พระลักษณ์ทรงหนุมาน" ซึ่งเป็นตราประจำตำแหน่งองค์เดิม ส่วนหน้าบันทิศตะวันออก เป็นภาพ "พระนารายณ์ทรงปืน" ซึ่งเป็นตราประจำตำแหน่งองค์ที่ได้รับการปรับปรุงขึ้นใหม่[8] พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดการเปิดและฉลองหอระฆังเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2445 พร้อมทั้งพระราชทานามว่า หอระฆังบวรวงศ์[9]

สถานที่อื่น ๆ[แก้]

พระอุโบสถวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ในยามกลางคืน
  • พระอุโบสถ เป็นแบบจตุรมุข มุขด้านตะวันออกขยายยาว ด้านเหนือและใต้มีมุขกระสันต่อกับพระระเบียง หลังคา ๔ ชั้น ด้านมุขกระสันทิศเหนือและทิศใต้ ๕ ชั้น มีพระระเบียงโอบรอบด้านหลังด้านหน้าพระอุโบสถ มีกำแพงแก้ว บนมุมกำแพงแก้วซ้าย-ขวา มีเสาคอนกรีตหัวเสาเป็นศิลาสลักรูปดอกบัวตูม คือเครื่องหมาย "สีมา" สำหรับด้านหน้า ส่วนสีมาด้านหลังพระอุโบสถ สลักรูปเสมาธรรมจักรที่แผ่นหินแกรนิตปูพื้นภายในกำแพงแก้ว ปูหินแกรนิตสีชมพูอ่อนและสีเทา
  • พระที่นั่งผนวช เป็นพระที่นั่งที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯให้รื้อมาจากพระพุทธรัตนสถาน เป็นหมู่กุฏิประกอบด้วย "พระที่นั่งทรงผนวช" อยู่ด้านทิศเหนือ "พระกุฏิ" อยู่ด้านทิศใต้ กับกุฏิ ๒ ห้อง ๒ หลัง อยู่ด้านตะวันออกและตะวันตก มีหอเสวยกลาง มีลานหินอ่อนโดยรอบมีช่อฟ้า ใบระกา ลำยอง ลงรักปิดทองทึบหลังด้านทิศใต้คือ "พระกุฏิ" หน้าบันจำหลักลายประกอบ "พัดยศ" ลงรักปิดทองประดับกระจก มีความหมายว่าเป็นที่ประทับของสมเด็จพระอุปัชฌาย์ เมื่อพระองค์ทรงผนวชส่วนหลังทิศเหนือคือ '"พระที่นั่งทรงผนวช"' เป็นตรีมุข ประตูหน้าต่างด้านนอกเขียนลายรดน้ำตรา "เครื่องราชอิสริยาภรณ์" ที่ทรงปรับปรุงขึ้นใหม่เป็น ๕ สาย ๕ ชั้น ด้านในเขียนภาพเทวดาถือดอกไม้เหนือคนแคระหน้าบันทั้ง ๓ ด้านจำหลักลายไทยประกอบตรา "พระเกี้ยว" ซึ่งเป็นตราประจำของพระองค์ ลงรักปิดทองประดับกระจก หมายถึงพระที่นั่งองค์นี้ เป็นที่ประทับเมื่อคราวพระองค์ทรงผนวชภายในพระที่นั่งทรงผนวช มีพระแท่นบรรทม พระบรมรูปเมื่อทรงผนวช พระบรมรูปสลักหินอ่อน พระพุทธรูป พระเสลี่ยงน้อย ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงถวายเพื่อเป็นธรรมาสน์แสดงธรรมและแสดงพระปาติโมกข์ครั้งแรกในวัดเบญจมบพิตร เครื่องลายครามต่าง ๆ
  • ศาลาบัณณรศภาค เป็นศาลาจตุรมุข สร้างด้วยทุนทรัพย์ของพระมเหสี เจ้าจอม พระราชโอรส พระราชธิดาและพระญาติในรัชกาลที่ 5 รวม 15 พระองค์ ปัจจุบัน ใช้เป็นที่ตั้งศพบุคคลสำคัญ อาทิ ม.ร.ว.กัลยาณกิติ์ กิติยากร,พันโทหญิง หม่อมกอบแก้ว อาภากร ณ อยุธยา,ม.ร.ว.อดุลกิติ์ กิติยากร,ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค,นายสมัคร สุนทรเวชอดีตนายกรัฐมนตรี ฯลฯ
  • โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นด้วยทุนทรัพย์ซึ่งเป็นสมบัติของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอิศริยาภรณ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรสิริประสาธน์ และเจ้าจอมมารดาหม่อมราชวงศ์เกสรในรัชกาลที่ 5 เมื่อรัตนโกสินทรศก 121 โดยมีพระราชประสงค์ให้สร้างขึ้นเพื่อ "สอนศิษย์ซึ่งเป็นคฤหัสถ์" ปัจจุบัน ทางการได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น "โรงเรียนมัธยมวัดเบญจมบพิตร" เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชาย
  • พระวิหารสมเด็จ เป็นตึกจตุรมุข ๒ ชั้น แต่มุขด้านใต้เชื่อมต่อกับมุขกุฏิสมเด็จ มุขด้านตะวันออกและตะวันตกขยายยาวเป็นชั้นเดียว บันไดพื้นชั้นล่างปูหินอ่อน ชั้นบนปูไม้ความงามของพระวิหารนี้อยู่ที่ประตูหน้าต่างที่เขียนลายไทยรดน้ำทั้งชั้นล่างและชั้นบน หน้าบันและซุ้มประตูหน้าต่าง ปั้นลายก้านขดประกอบตราพระนามาภิไธยย่อ'"ส.ผ."'(เสาวภาผ่องศรี)ลงรักปิดทองประดับกระจกข้างบันไดขึ้นด้านหน้าหล่อราชสีห์ประดับ ๒ ตัว
  • ศาลาอุรุพงศ์ เป็นศาลาทรงไทย จตุรมุข หลังเล็ก ๆ ก่ออิฐถือปูน พื้นคอนกรีต หลังคามุงกระเบื้องเคลือบ ตั้งอยู่สนามหญ้าหลังพระอุโบสถ ด้านทิศเหนือต้นพระศรีมหาโพธิ์ สันนิษฐานว่าหลังเดิมสร้างแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ ประมาณ พ.ศ. ๒๔๕๓ เป็นศาลาเครื่องไม้ทั้งหมด ต่อมาถึงสมัยรัชกาลที่ ๖ ในปี พ.ศ. ๒๔๕๙ ถูกพายุพัดหักลง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดเกล้าฯให้ซ่อมขึ้นใหม่ แต่คงเป็นศาลาเครื่องไม้เช่นเดิมต่อมาเจ้าจอมมารดาเลื่อน ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้บริจาคทรัพย์เปลี่ยนศาลาจากเดิมให้เป็นจตุรมุข ผูกเหล็กหล่อคอนกรีตทั้งหลังศาลาหลังนี้เป็นที่บรรจุพระอังคารของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุรุพงศ์รัชสมโภชพระราชโอรสในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าจอมมารดาเลื่อน
  • ศาลาธรรมชินราชปัญจบพิธ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน ๔ ชั้น มีดาดฟ้าเป็นชั้นที่๕สร้างขึ้นเนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมารเจริญพระชนมมายุครบ ๒๕ ชันษา เมื่อวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๑๘ สร้างเสร็จแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิด เมื่อวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๒๔ศาลาธรรมชินราชปัญจบพิธ เป็นศาลาอเนกประสงค์ ที่รวมหน่วยงานสำคัญต่าง ๆ ของวัด

พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ วัดเบญจมบพิตร[แก้]

ลำดับเจ้าอาวาส[แก้]


---------------------------------------------------------------

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น