วันเสาร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

22.07.2560 Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand. วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand. 
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ  ข้อมูลและภาพ จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/1121/thailand/chiang-mai/wat-buppharam

Wat Buppharam (originally 1497, rebuilt 19th century onward)

Wat Buppharam is located to the east of Chiang Mai on the south side of Tha Phae road. It stands on the site where, in 1797, the northern warlord Chao Kavila performed a ritual circumnambulation of the city to reoccupy it after a prolonged period of Burmese rule. Prior to Chao Kavila's visit the site had long been used as a temple, perhaps as early as 1497. Most of the present buildings were reconstructed in the 19th century or later. The oldest structure of architectural interest (and the focus of the photographs on this site) is the small viharn (assembly hall) which is a jewel of Lanna design. The pediment of this small structure is decorated with elaborately carved wooden paneling encrusted with colored glass inlay and bracketed with stuccoed thewada guardians in standing posture. The teak used throughout the viharn is potentially older than the latest reconstruction, and may date to the 17th century.
Unusually, the viharn faces north, toward Tha Phae road. Behind it, to the south, is a Burmese-style chedi rebuilt in 1958. To the east is the garish ho monthientham pavilion, a modern addition that, according to photographer and art historian Michael Freeman "breaches every Lanna architectural canon. It is perhaps best ignored..."

Location


The approximate location of the site is 18.787905' N, 98.998039' E (WGS 84 map datum).


 01.Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.


 02.Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 03.Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 04.Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 05.Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 06.Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 07.Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 08.Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 09.Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 10.Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 11.Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 12.Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 13.Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 14.Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 15.Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 16.Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 17.Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 18.Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 19.Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

20.Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.


Wat Buppharam, Chiang Mai, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ  ข้อมูลและภาพ จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/1121/thailand/chiang-mai/wat-buppharam

------------------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ข้อมูลและภาพ จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Wat_Buppharam,_Chiang_Mai

Wat Buppharam, Chiang Mai

From Wikipedia, the free encyclopedia
Wat Buppharam
วัดบุพพาราม
Chiang Mai Wat Buppharam Great Viharn.JPG
Wat Buppharam, Chiang Mai is located in Thailand
Wat Buppharam, Chiang Mai
Shown within Thailand
Basic information
Geographic coordinates18.787948°N 98.998284°ECoordinates18.787948°N 98.998284°E
AffiliationBuddhism
SectTheravada Buddhism
MunicipalityChiang Mai
ProvinceChiang Mai Province
CountryThailand
StatusActive
Date established1497
Wat Buppharam (Thaiวัดบุพพารามpronounced [wát bùp.pʰāː.rāːm]) is a Buddhist temple in Chiang MaiThailand. Founded in 1497 by King Mueang Kaeo,[1] the temple was where Kawila began a ritual circumambulation of Chiang Mai to reoccupy it after two centuries of Burmese rule.[2] Most of the temple buildings date to the late 1800s.[2] The temple is also known for its Burmese-style chedi, which was rebuilt in 1958, and a Lanna-style ordination hall made from teak and glass inlay mosaic, built in 1819.[3]

References[edit]

  1. Jump up^ Thailand. "City Temples of Chiang Mai, Thailand"Window to Chiang Mai. Retrieved 2016-11-16.
  2. Jump up to:a b Freeman, Michael (2001). Lanna: Thailand's Northern Kingdom. Thames & Hudson. ISBN 9780500976029.
  3. Jump up^ "Attractions : Wat Buppharam"Tourism Authority of Thailand. Retrieved 2016-11-16


















--------------------------------------------------------------------
Moonfleet :ได้มาเยือน วัดบุพพาราม ถ.ท่าแพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 
เมื่อวันอาทิตย์ ที่ 9 เดือน สิงหาคม พ.ศ.2552

วัดบุพพาราม ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่

วัดบุพพาราม
๑๔๓ ถนนท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ. เชียงใหม่
โทร. ๐๕๓-๒๗๖-๗๗๑, ๐๕๓-๒๗๕-๑๔๒

วัดบุพพารามนั้น หรือวัดเม็ง หรือ วัดอุปปา หรือ วัดอุปาราม 


:คำว่า "บุพพาราม" นั้น ความหมายคือ "ทิศตะวันออก" 
ฉะนั้นชื่อ วัดบุพพาราม จึงแปลว่า อารามด้านทิศตะวันออก ทั้งนี้ โดยถือเอานิมิตว่าได้ตั้งอยู่ทางทิศบูรพาแห่งนพีสีราชธานี ซึ่งเป็นตำแหน่ง “ มูลเมือง ” ตามคัมภีร์มหาทักษา


 01.วัดบุพพาราม  เลขที่ 143 ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 


ประวัติวัดบุพพาราม
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า วัดอุปปา ตั้งอยู่เลขที่ ๑๔๓ ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ ๔ไร่ ๓ งาน ๒๙ ตารางวา
วัดบุพพารามสร้างขึ้นในสมัยพระญาเมืองแก้ว กษัตริย์ล้านนาลำดับที่ ๑๒ ราชวงศ์มังราย ( ครองราชย์ระหว่างปี พ . ศ . ๒๐๓๙ – ๒๐๖๘ ) ในตำนานชินกาลมาลีปกรณ์ ได้กล่าวถึงการสร้างบุพพารามว่า พระเจ้าติลกปนัดดาธิราช ( ราชนัดดาของพระเจ้าติโลกราช คือพระญาเมืองแก้ว ) หลังจากที่ได้ราชาภิเษกแล้วในปีที่ ๒ ทรงโปรดให้สร้างอารามขึ้นอารามหนึ่งในหมู่บ้านที่พระราชอัยกา ครั้งเป็นยุพราชและพระบิดาของพระองค์เคยประทับมาก่อนเมื่อวันอังคาร ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๕ ปีมะโรง จุลศักราช ๘๕๘ โดยพระองค์ตั้งชื่ออารามนั้นว่า บุพพาราม แปลว่าอารามตะวันออก ทั้งนี้ โดยถือเอานิมิตว่าได้ตั้งอยู่ทางทิศบูรพาแห่งนพีสีราชธานี ซึ่งเป็นตำแหน่ง “ มูลเมือง ” ตามคัมภีร์มหาทักษา

 02.วัดบุพพาราม  เลขที่ 143 ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 

ต่อมาในปีที่ ๓ ของการครองราชย์ ( ปีมะเมีย ) พระญาเมืองแก้วทรงโปรดให้สร้างปราสาทขึ้นองค์หนึ่ง ท่ามกลางมหาวิหารในอารามแห่งนั้น เพื่อเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปเงินพอย่างเข้าปีที่ ๔ แห่งการครองราชย์ พระญาเมืองแก้วทรงฉลองพระไตรปิฎกฉบับลงทองขมุศิลปะแบบล้านนา พร้อมกับหอมณเฑียรธรรมซึ่งโปรดให้สร้างด้วยไม้สักทั้งหลังและประดับตกแต่งอย่างประณีตสวยงามเพื่อเป็นที่ประดิษฐานพระไตรปิฎกนอกจากนี้ยังมีการฉลองกุมารารามซึ่งพระนางสิริยสวดีราชเทวีพระราชชนนีของพระองค์ ได้สร้างไว้ที่พระราชมณเฑียรอันเป็นสถานที่ประสูติของพระญาเมืองแก้วในครั้งเดียวกันนั้นเอง

 03.วัดบุพพาราม  เลขที่ 143 ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 

ในปีจุลศักราช ๘๖๖ ( พ . ศ . ๒๐๔๗ ) ปีฉลู เดือน ๘ วันพฤหัสบดี ขึ้น ๑๑ ค่ำ พระญาเมืองแก้วทรงรับสั่งให้ทำการหล่อมหาพุทธรูปไว้ ณ วัดบุพพาราม ๑ องค์ ต่อมา ในปีขาลเดือน ๕ วันพฤหัสบดี ขึ้น ๘ ค่ำ มีการหล่อพระมหาพุทธรูปด้วยทองแดงล้วน น้ำหนัก ๑ โกฏิ ซึ่งมีสนธิ ๘ แห่ง หรือข้อต่อ ๘ แห่ง ใช้เวลาสร้างทั้งสิ้น ๕ ปี คือ สำเร็จในปี จ . ศ . ๘๗๑ เดือน ๕ ขึ้น ๕ ค่ำ วันพุธ โดยมีการฉลองอย่างใหญ่โตและได้รับการประดิษฐาน ณ พระอุโบสถ ปัจจุบันนี้ คือ พระประธานในวิหารของวัดบุพพาราม จากนั้น วัดบุพพารามได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ . ศ . ๒๐๗๐

 04.วัดบุพพาราม  เลขที่ 143 ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 


สำหรับอาณาเขตของวัดตามตำนานไม่ได้กล่าวไว้ว่ามีเนื้อที่เท่าใด จากการค้นคว้าข้อมูลของพระพุทธิญาณเจ้าอาวาสวัดบุพพารามในปัจจุบัน ( พ . ศ . ๒๕๓๙ ) ประกอบกับคำให้สัมภาษณ์ของผู้เฒ่าผู้แก่ ได้ใจความว่าวัดอุปารามหรือบุพพารามมีเนื้อที่กว้างขวางมาก ทิศตะวันออกจดคลองแม่ข่าทิศตะวัดตกจดวัดมหาวัด อย่างไรก็ดี ปัจจุบันวัดบุพพารามหรือบุพพรามมีเนื้อที่ ๔ ไร่ ๓ งาน ๒๙ ตารางวา ทิศเหนือติดกับถนนท่าแพ มีเนื้อที่ ๒ เส้น ๑๓ วา ทิศใต้ติดบ้านของเอกชน มีเนื้อที่ ๒ เส้น ๔ วา ทิศตะวันตกติดกับถนนท่าแพ ซอย ๒ ร่มโพธิ์ มีเนื้อที่ ๒ เส้น ๑๙ วา
ความสำคัญของวัดบุพพาราม คือ เคยเป็นที่สถิตของพระมหาสังฆราชปุสสเทวะ และนอกจากนี้ยังเป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมาสัมมาสัมพุทธเจ้า อีกทั้งมีประเพณีสรงน้ำพระบรมสารีริกธาตุในวันเพ็ญเดือน ๖ เหนือ ( เดือน ๔ ภาคกลาง ) ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ประจำทุกปี

 05.วัดบุพพาราม  เลขที่ 143 ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 


ปูชนียสถานที่สำคัญของวัดบุพพาราม ได้แก่
๑ . พระวิหารหลังเล็ก ซึ่งเป็นวิหารเครื่องไม้ศิลปะแบบล้านนา เจ้าหลวงช้างเผือกธรรมลังกาโปรดให้สร้างเมื่อ พ . ศ . ๒๓๖๒ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธไชยลาภประสิทธิโชค ( พระประธาน ) ซึ่งก่อด้วยอิฐถือปูน หน้าตักกว้าง ๗ ศอก สูง ๙ ศอก เดิมวิหารหลังนี้มีอยู่ ๓ มุขด้วยกัน คือ มุขหน้าหันไปทางทิศเหนือ มุขหลังหันไปทางทิศใต้ และมุขข้างหันไปทางทิศตะวันออก สำหรับวิหารหลังปัจจุบัน เป็นศิลปกรรมแบบล้านนา ด้านในประดิษฐานพระประธาน ๒ องค์ องค์หนึ่งหันหน้าไปทางทิศเหนือ ก่อด้วยอิฐและปูน หน้าตักกว้าง ๗ ศอก สูง ๙ ศอก ได้รับการประดิษฐาน ณ วิหารหลังนี้มาโดยตลอดพระพุทธรูปอีกองค์หนึ่ง เป็นพระพุทธรูปทองเหลือง หันหน้าไปทางทิศใต้ ( หันหลังให้กับองค์แรก ) ภายหลังเมื่อวิหารหลังเล็กได้รับการดัดแปลงแก้ไขในสมัยครูบาหลานหรือ ครูบาอินต๊ะพระพุทธรูปองค์นี้จึงได้รับการเคลื่อนย้ายไปประดิษฐานบนวิหารหลังใหญ่ ต่อมาเจ้าแม่ทิพผสม ณ เชียงใหม่ ได้ทำการบูรณะวิหารหลังเล็ก เมื่อประมาณปี พ . ศ . ๒๔๔๕ ปีขาล ปัจจุบันวิหารหลังเล็กนี้กรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานแล้วล่าสุด พระพุทธิญาณ เจ้าอาวาสและเจ้าคณะจังหวัดองค์ปัจจุบันได้ทำการบูรณะซ่อมแซมในรูปเดิมและเสริมในบางส่วน คือ ปั้นมอม ( สัตว์หิมพานต์ ) ๒ ตัว ไว้ที่บันได รวมทั้งบานประตูใหญ่ของวิหารซึ่งปั้นปูนเป็นเทพพนม
๒ . พระวิหารหลังใหญ่ เป็นวิหารศิลปกรรมล้านนาซึ่งได้รับการประดับตกแต่งลวดลายปูนปั้นแบบพม่า เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหาปฏิมากร ศิลปกรรมล้านนาซึ่งหล่อด้วยทองแดงล้วนมีน้ำหนัก ๑ โกฏิ และสนธิ ( ต่อ ) ๘ แห่ง และมีพระพุทธรูปสมัยเชียงแสนขนาบซ้ายขวาอีก ๒ รูป โดยหล่อด้วยทองสำริดทั้งคู่ภายในวิหารมีภาพเขียนพุทธประวัติและพระมหาเวสสันดรชาดก ซี่งเขียนด้วยสีฝุ่น ประวัติของวิหารหลังใหญ่เท่าที่ทราบ คือ พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงษ์หรือเจ้าชีวิตอ้าว เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เป็นผู้บูรณะโดยเปลี่ยนเสาเดิม คือ ท่านได้รื้อหอเย็นในคุ้มหลวง แล้วนำเสาเหล่านั้นมาทำเป็นเสาพระวิหาร ต่อมาในสมัยของครูบาหลาน ( อินต๊ะ ) พร้อมด้วยญาติโยมได้ทำการบูรณะพระวิหารขึ้นอีกครั้งหนึ่ง จากนั้น พระครูอุดมกิตติมงคลเจ้าอาวาสได้พยายามปรับปรุงเรื่อยมาไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนบานประตูใหญ่ - เล็กและแกะสลักให้สวยงามแบบศิลปะล้านนา
๓ . พระอุโบสถ ตามที่สอบถามผู้เฒ่าผู้แก่ได้ความว่าเมื่อประมาณ ๑๐๐ ปีที่ผ่านมา คฤหปตานี “ คุณแม่วันดี สุริยา ” เป็นผู้ปฏิสังขรณ์ โดยทำซุ้มโขงให้เป็นศิลปะล้านนาผสมมอญ อนึ่ง พระอุโบสถหลังนี้มีขนาดเล็กและไม่มีใบเสมาเป็นเครื่องหมายเหมือนอุโบสถที่สร้างขึ้นในปัจจุบันแต่จะใช้ก้อนหินหรือเสาหินทรายแดงเป็นนิมิตในการผูกลูกนิมิตเพื่อแสดงเขตของพัทธสีมาซึ่งมีความกว้าง ๕ เมตร และยาว ๒๐ เมตร ภายในพระอุโบสถเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปสิงห์หนึ่งศิลปะเชียงแสนซึ่งเป็นพระประธานและพระพุทธรูปปูนปั้นก่อด้วยอิฐอีก 2 องค์ ซึ่งเป็นของโบราณ
๔. พระเจดีย์ ศิลปะล้านนา เป็นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตามตำนานขององค์พระเจดีย์กล่าวว่า พระญาเมืองแก้วสร้างพระเจดีย์ขึ้นใน ปี จ.ศ.๘๗๒ ปีมะแม โดยมีความกว้างประมาณ ๑๒ ศอก สูงประมาณ ๓๐ ศอก ปิดด้วยทองทั้งองค์ ในครั้งนั้น คณะสงฆ์ และเหล่าศรัทธาต่างเปลื้องอาภรณ์เครื่องประดับเป็นเครื่องบูชาเพื่อเป็นบุญกุศลและเป็นการถวายทานแด่พระพุทธศาสนา การก่อสร้างใช้เวลารวม ๓ เดือนจึงสำเร็จ โดยขณะที่การก่อสร้างดำเนินอยู่นั้นมีเหตุอัศจรรย์เกิดขึ้นหลายประการ
อนึ่ง การบูรณะองค์พระเจดีย์โดยหลวงโยนวิจิตร(หม่อนตะก่า อุปโยคิน) คือ ท่านได้สละทรัพย์สินส่วนตัวเสริมสร้างองค์เจดีย์ทั้งองค์ในปี จ.ศ.๑๒๖๐ (พ.ศ.๒๔๔๑) โดยเปลี่ยนรูปทรงเจดีย์ใหม่ดังที่ปรากฏในปัจจุบัน ขยายฐานให้กว้าง ๓๘ ศอก ความสูง ๔๕ ศอก มีฉัตรขนาดเล็กจำนวน ๔ ฉัตร รวมทั้งมีต้นดอกไม้เงิน-ดอกไม้ทอง อย่างละ ๔ ต้น และมีฉัตรขนาดใหญ่ตรงยอดสูดขององค์เจดีย์ ๑ ฉัตร พิธียกฉัตรมีขึ้นในวันที่ ๙ กุมภาพันธ์ ปลายปี พ.ศ.๒๔๔๑
ต่อมา ในปี พ.ศ.๒๔๙๙ พระพุทธิญาณ (เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน) ได้ย้ายมาจากวัดเชตวันและได้ทำการบูรณะองค์พระเจดีย์อีกครั้งหนึ่ง โดยเริ่มลงมือบูรณะในวันพฤหัสบดีแรม ๙ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีฉลู จ.ศ.๑๓๒๓ ตรงกับวันที่ ๒ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๐๔ สำเร็จเรียบร้อยเมื่อวันที่ ๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๑๕ ตรงกับเดือน ๕ ขึ้น ๑๐ ค่ำ วันพฤหัสบดี รวมเวลาที่ทำการบูรณะ ๔ เดือนกับอีก ๖วัน


 06.วัดบุพพาราม  เลขที่ 143 ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 


เสา อโศก สีหราช.
เสาอโศกสีหราช มีข้อความว่า

"ราชสี มีอำนาจ ราชศักดิ์
แต่จงรัก ภักดี เหมือนมีเจ้า
ด้วยอำนาจ เมตตา เหนือตัวเรา
แม้เป็นเจ้า เหล่าสัตว์ป่า ก็ปราณี"

 07.วัดบุพพาราม  เลขที่ 143 ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 

๕. บ่อน้ำทิพย์ เดิมเป็นบ่อน้ำในพระราชอุทยานของพระเจ้าติโลกราช มีมาก่อนการสร้างวัดบุพพาราม (จ.ศ.๘๕๔) เมื่อพระเจ้าติลกปนัดดาธิราช (พระเมืองแก้ว) ได้ทรงสร้างพระอารามขึ้นในพระราชอุทยาน ได้ใช้น้ำในบ่อนี้เป็นน้ำศักดิ์สิทธิ์สรงพระบรมสารีริกธาตุ ปัจจุบันทางราชการใช้น้ำในบ่อนี้ เป็นน้ำศักดิ์สิทธิ์บ่อหนี่ง ในจำนวนบ่อน้ำศักดิ์สิทธิ์ทั่วราชอาณาจักร เพื่อใช้ในพิธีสำคัญ ๆ เช่น ในพระราชพิธีพุทธาภิเษกพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชในวาระครบ ๕ รอบ เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๐ หรือเมื่อครั่งเจ้าอินทวโรรส เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ราชวงศ์มังรายได้อาราธนาพระบรมธาตุเจ้าศรีจอมทองมายังวัดบุพพารามเพื่อให้ประชาชนได้สรงน้ำทำการสักการะในวันเพ็ญเดือน ๔ ใต้ เดือน ๖ เหนือ และในปัจจุบัน ประเพณีการสรงน้ำพระบรมธาตุวัดบุพพารามยังดำเนินอยู่เป็นประจำทุกปี
๖. หอมณเฑียรธรรม เป็นมณฑปปราสาทจัตุรมุขทรงล้านนา ๒ ชั้น สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๓ สำเร็จสมบูรณ์ในปี พ.ศ.๒๕๓๘ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงพระราชทานนามว่า “ พระพุทธบุพพาภิมงคล ภปร. ” และพระพุทธนเรศร์สักชัยไพรีพินาศ แกะด้วยไม้สักทั้งองค์ สำหรับชั้นล่างจัดเป็นห้องสมุดศูนย์วัฒนธรรมท้องถิ่นล้านนาเพื่อรวบรวมวัตถุโบราณของพื้นเมืองต่าง ๆ
๗. วิหารพระเจ้าทันใจ ไม่ปรากฏวันเดือนปีที่สร้างอย่างแน่ชัด แต่จากการสอบถามผู้สูงอายุได้ความว่าพ่อน้อยสุข สุขเกษม พร้อมด้วยลูกหลานเป็นศรัทธาถวายพร้อมพระเจ้าทันใจ โดยใช้เวลาสร้างเพียงวันเดียวและทำการฉลองสมโภชพร้อมทั้งเจริญพระพุทธมนต์ อายุการก่อสร้างประมาณ ๑๔๐-๑๕๐ ปี นับว่าเป็นของเก่าแก่คู่กับวัดอีกอย่างหนึ่งภายในวิหารพระเจ้าทันใจ เป็นที่ประดิษฐานพระเจ้าทันใจและพระประจำวันเกิด
๘. วิหารครูบาศรีวิชัย ภายในประดิษฐานรูปปั้นของครูบาศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนา
กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนให้วัดบุพพารามเป็นโบราณสถานตั้งแต่วันที่ ๒๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๒๒

 08.วัดบุพพาราม  เลขที่ 143 ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 


 09.วัดบุพพาราม  เลขที่ 143 ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 


 10.วัดบุพพาราม  เลขที่ 143 ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 


 11.วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 12.วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 13.พระเจดีย์ วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จังหวัดเชียงใหม่.

พระเจดีย์ ศิลปะล้านนา เป็นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตามตำนานขององค์พระเจดีย์กล่าวว่า พระญาเมืองแก้วสร้างพระเจดีย์ขึ้นใน ปี จ.ศ.๘๗๒ ปีมะแม โดยมีความกว้างประมาณ ๑๒ ศอก สูงประมาณ ๓๐ ศอก ปิดด้วยทองทั้งองค์ ในครั้งนั้น คณะสงฆ์ และเหล่าศรัทธาต่างเปลื้องอาภรณ์เครื่องประดับเป็นเครื่องบูชาเพื่อเป็นบุญกุศลและเป็นการถวายทานแด่พระพุทธศาสนา การก่อสร้างใช้เวลารวม ๓ เดือนจึงสำเร็จ โดยขณะที่การก่อสร้างดำเนินอยู่นั้นมีเหตุอัศจรรย์เกิดขึ้นหลายประการ


 14.พระเจดีย์ วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จังหวัดเชียงใหม่.

อนึ่ง การบูรณะองค์พระเจดีย์โดยหลวงโยนวิจิตร(หม่อนตะก่า อุปโยคิน) คือ ท่านได้สละทรัพย์สินส่วนตัวเสริมสร้างองค์เจดีย์ทั้งองค์ในปี จ.ศ.๑๒๖๐ (พ.ศ.๒๔๔๑) โดยเปลี่ยนรูปทรงเจดีย์ใหม่ดังที่ปรากฏในปัจจุบัน ขยายฐานให้กว้าง ๓๘ ศอก ความสูง ๔๕ ศอก มีฉัตรขนาดเล็กจำนวน ๔ ฉัตร รวมทั้งมีต้นดอกไม้เงิน-ดอกไม้ทอง อย่างละ ๔ ต้น และมีฉัตรขนาดใหญ่ตรงยอดสูดขององค์เจดีย์ ๑ ฉัตร พิธียกฉัตรมีขึ้นในวันที่ ๙ กุมภาพันธ์ ปลายปี พ.ศ.๒๔๔๑

ต่อมา ในปี พ.ศ.๒๔๙๙ พระพุทธิญาณ (เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน) ได้ย้ายมาจากวัดเชตวันและได้ทำการบูรณะองค์พระเจดีย์อีกครั้งหนึ่ง โดยเริ่มลงมือบูรณะในวันพฤหัสบดีแรม ๙ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีฉลู จ.ศ.๑๓๒๓ ตรงกับวันที่ ๒ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๐๔ สำเร็จเรียบร้อยเมื่อวันที่ ๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๑๕ ตรงกับเดือน ๕ ขึ้น ๑๐ ค่ำ วันพฤหัสบดี รวมเวลาที่ทำการบูรณะ ๔ เดือนกับอีก ๖วัน


 15. พิพิธภัณฑสถาน วัดบุพพาราม ถ.ท่าแพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

 16.พระวิหารหลังใหญ่ วัดบุพพาราม ถ.ท่าแพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

 17.พระเจดีย์ วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 18.พระเจดีย์ วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จังหวัดเชียงใหม่.
 19.พระเจดีย์ วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 20.พระเจดีย์ วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 21.พระเจดีย์ วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 22.วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 23.พระเจดีย์ วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 24.วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 25.วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 26. บ่อน้ำทิพย์ วัดบุพพาราม ถ.ท่าแพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่


ประวัติบ่อน้ำทิพย์ วัดบุพพาราม 


บริเวณที่ตั้งวัด นอกจากเดิมเคยเป็นคุ้มสมัยพระเจ้าติโลกราชแล้ว วัดนี้ยังเคยเป็นที่อยู่ของพระสังฆราช สมัยพระสังฆราชราชปุสระเทวะ และมีความสำคัญในระบบความเชื่อ พระเจ้ากาวิละนำพลจากเวียงป่าซางเป็นเวลา ๕ วัน ถึงเชียงใหม่เมื่อเช้าวันอาทิตย์ที่ ๙ มีนาคม ๒๓๓๙ ก็ได้พักแห่งแรกที่วัดบุพพาราม จากนั้นจึงนำขบวนไปทางใต้ ทางทิศตะวันตกและทางเหนือของเมือง ไหว้พระที่วัดเชียงยืน แล้วจึงเข้าเมืองทางประตูหัวเวียงตามประเพณีโบราณ และจัดให้ "ลวะจูงหมาพาแชกนำเข้าเมือง" เหมือนครั้งพระยามังรายเข้าเมือง

ต่อมาในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๔๑๓-๒๔๔๐) และสมัยเจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ ๘ (พ.ศ. ๒๔๔๔- ๒๔๕๒) ได้อัญเชิญพระบรมธาตุศรีจอมทองเข้าเมืองเชียงใหม่มาประดิษฐานที่วัดบุพพาราม ให้ประชาชนสรงน้ำเป็นประจำในเดือน ๔ ใต้เดือน ๖ เหนือ น้ำบ่อในวัดจึงเรียกว่า บ่อน้ำทิพย์

บ่อน้ำนี้ขุดสร้างขึ้นก่อนสร้างวัด เป็นบ่อน้ำที่อยู่ในพระราชอุทยานของพระเจ้าติโลกราช (กลางอุทยานพระเจ้าติโลกราช) เมื่อพระเจ้าเมืองแก้วทรงสร้างวัดบุพพาราม พระพุทธรูปปฏิมากรและพระเจดีย์ขึ้น จึงได้ใช้น้ำอันบริสุทธิ์สะอาดและเยือกเย็นแจ่มใสมาสรงองค์พระบรมสารีริกธาตุเจ้า และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ อันเป็นที่เคารพสักการะยิ่ง แล้วจึงได้สงวนบ่อน้ำนี้ไว้เป็นน้ำสำหรับสรงน้ำพระ ถือเป็นบ่อน้ำทิพย์ศักดิ์สิทธิ์ ห้ามสตรีเข้าไปกล้ำกรายภายใน

ขอบคุณ ข้อมูลจาก คุณ pimnuttapa แห่ง http://www.dannipparn.com

 27. หอมณเฑียรธรรม
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 28.หอมณเฑียรธรรม
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 29.พระวิหารหลังเล็ก 
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

 30.พระวิหารหลังเล็ก
วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง หรือ วัดอุปปา ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

มอม
มอบที่พระวิหารหลังเล็กสัดส่วนงดงามมาก มอม เป็นสัตว์ในตำนานที่มีรูปร่างคล้ายแมวผสมสิงโต มอมเป็นพาหนะของเทพปัชชุนนะเทวบุตร (เทพเจ้าแห่งฝนในคติล้านนา) สามารถพบเห็นได้ตามบันไดวัดหรือศาสนสถานทางแถบล้านนา ลักษณะ รูปร่างคล้ายแมวผสมสิงโต ช่างปั้นบางครั้งก็ปั้นให้ดูคล้ายตุ๊กแกหรือค่าง ลักษณะของศิลปะนั้นได้รับอิทธิพลจากจีน

 31.มอม
มอบที่พระวิหารหลังเล็กสัดส่วนงดงามมาก มอม เป็นสัตว์ในตำนานที่มีรูปร่างคล้ายแมวผสมสิงโต มอมเป็นพาหนะของเทพปัชชุนนะเทวบุตร (เทพเจ้าแห่งฝนในคติล้านนา) สามารถพบเห็นได้ตามบันไดวัดหรือศาสนสถานทางแถบล้านนา ลักษณะ รูปร่างคล้ายแมวผสมสิงโต ช่างปั้นบางครั้งก็ปั้นให้ดูคล้ายตุ๊กแกหรือค่าง ลักษณะของศิลปะนั้นได้รับอิทธิพลจากจีน

 32.มอม
มอบที่พระวิหารหลังเล็กสัดส่วนงดงามมาก มอม เป็นสัตว์ในตำนานที่มีรูปร่างคล้ายแมวผสมสิงโต มอมเป็นพาหนะของเทพปัชชุนนะเทวบุตร (เทพเจ้าแห่งฝนในคติล้านนา) สามารถพบเห็นได้ตามบันไดวัดหรือศาสนสถานทางแถบล้านนา ลักษณะ รูปร่างคล้ายแมวผสมสิงโต ช่างปั้นบางครั้งก็ปั้นให้ดูคล้ายตุ๊กแกหรือค่าง ลักษณะของศิลปะนั้นได้รับอิทธิพลจากจีน

 33.

 34.มอม
มอบที่พระวิหารหลังเล็กสัดส่วนงดงามมาก มอม เป็นสัตว์ในตำนานที่มีรูปร่างคล้ายแมวผสมสิงโต มอมเป็นพาหนะของเทพปัชชุนนะเทวบุตร (เทพเจ้าแห่งฝนในคติล้านนา) สามารถพบเห็นได้ตามบันไดวัดหรือศาสนสถานทางแถบล้านนา ลักษณะ รูปร่างคล้ายแมวผสมสิงโต ช่างปั้นบางครั้งก็ปั้นให้ดูคล้ายตุ๊กแกหรือค่าง ลักษณะของศิลปะนั้นได้รับอิทธิพลจากจีน

 35.

 36.

 37.

 38.

 39.

 40.

 41.

 42.พระเจ้าค่าคิง ภายในหอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

 43.

 44.

 45.

 46.

 47.

 48.

 49.

 50.

 51.

 52.

 53.

 54.

 55.

 56.

 57.

 58.

 59.

 60.

 61.

 62.

 63.

 64.

 65.

 66.

 67.

 68.

 69.

 70.

 71.


 72.

 73.

 74.

 75.

 76.

 77.

 78.

 79.

 80.

 81.

 82.

 83.

84. สองสาวงาม @วัดบุพพาราม
ก่อนที่จะออกจากวัดบุพพาราม ได้พบน้องสาว 2 ท่านนี้ จึงขออนุญาตถ่ายรูปไว้ จึงขอบันทึกไว้ในที่นี้ว่า ได้ถ่ายภาพไว้ 2 ภาพ ในวันอาทิตย์ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ.2552 และ ขออวยพรให้น้องสาวทั้ง 2 ท่านนี้ได้ประสพความสุขสวัสดี มีความสำเร็จในการดำเนินชีวิต มี รูปสมบัติ ทรัพย์สมบัติ และ คุณสมบัติ ตลอดไป ตลอดกาล.

---------------------------------------------------------------------

Moonfleet ได้มาเยือนเป็นครั้งที่ 2 (จากหลายๆครั้ง) วัดบุพพาราม ถนน.ท่าแพ อำเภอ.เมือง จังหวัด เชียงใหม่ 
วันอาทิตย์ ที่ 18 เดือน ตุลาคม พ.ศ.2552

 01.วัดบุพพาราม  ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 
Wat Bupparam, Tha Pae Road, Chang Khan Sub-district, Mueang District, Chiang Mai, Thailand.

วัดบุพพาราม มีเนื้อที่ของวัดในปัจจุบัน คือ ๔ ไร่ ๓ งาน ๒๙ ตารางวา ทิศเหนือติดกับถนนท่าแพ มีความยาว ๒ เส้น ๑๓ วา ทิศใต้ติดกับบ้านมีความยาว ๒ เส้น ๔ วา ทิศตะวันตกติดกับถนนท่าแพ ซอย ๒ ร่มโพธิ์ มีความยาว ๒ เส้น ๑๙ วา 

วัดบุพพาราม เดิมเป็นพระราชอุทยานของพระเจ้าติโลกราชกษัตริย์ผู้ครองนครเชียงใหม่ หลังจากพระองค์สวรรคตแล้ว พระเจ้ายอดเชียงรายพระราชโอรสขึ้นครองราชย์สืบต่อมา และได้เคยเสด็จมาประทับ ณ พระราชอุทยานแห่งนี้ กาลต่อมาได้มอบราชสมบัติให้พระราชโอรสคือพระเจ้าดิลก ปนัดดาธิราช หรือพระเมืองแก้ว เมื่อมีพระชนมายุ ๓๕ พรรษา เดือน ๔ จุลศักราช ๘๕๔ หรือพ.ศ. ๒๐๓๗ ขึ้นครองราชย์ เป็นกษัตริย์แห่งราชวงศ์มังราย องค์ที่ ๑๓ ถัดจากนั้นอีกเพียง ๑ ปี พระองค์ก็ทรงรับสั่งให้สร้างวัดบุพพารามขึ้น ตรงกับวันอังคาร แรม ๗ ค่ำ เดือน ๕ ปีมะโรง จุลศักราช ๘๕๕ พ.ศ. ๒๐๓๘ นับจนถึงปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ก็มีอายุได้ ๕๑๔ ปี

(ขอบคุณข้อมูลจาก http://www.dannipparn.com)

 02.วัดบุพพาราม  ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 
Wat Bupparam, Tha Pae Road, Chang Khan Sub-district, Mueang District, Chiang Mai, Thailand.

พระวิหารหลังเล็ก แห่ง วัดบุพพาราม

พ.ศ.2362 เจ้าหลวงธรรมลังกา โปรดให้สร้างวิหารหลังเล็ก เครื่องไม้ศิลปะล้านนา
พระวิหารหลังเล็ก มีอายุโดยประมาณ ( พ.ศ.2552 - 2362) น่าจะเป็น 190 ปี นะครับ

เป็นศิลปแบบล้านนาไทย เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธไชยลาภประสิทธิโชค (พระประธาน) ก่อด้วยอิฐถือปูน หน้าตักกว้าง 7 ศอก สูง 9 ศอก 

เจ้าแม่ทับทิมผสม ณ เชียงใหม่ บูรณะเมื่อ 100 ปีเศษ วัดนี้เจ้านายฝ่ายเหนือเป็นผู้บำรุง 

 03.วัดบุพพาราม  ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 
Wat Bupparam, Tha Pae Road, Chang Khan Sub-district, Mueang District, Chiang Mai, Thailand.

พระวิหารหลังเล็ก แห่ง วัดบุพพาราม

พระวิหารหลังเล็ก ซึ่งเป็นวิหารเครื่องไม้ศิลปะแบบล้านนา เจ้าหลวงช้างเผือกธรรมลังกาโปรดให้สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๓๖๒ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธไชยลาภประสิทธิโชค (พระประธาน) ซึ่งก่อด้วยอิฐถือปูน หน้าตักกว้าง ๗ ศอก สูง ๙ ศอก 

เดิมวิหารหลังนี้มีอยู่ ๓ มุขด้วยกัน คือ มุขหน้าหันไปทางทิศเหนือ มุขหลังหันไปทางทิศใต้ และมุขข้างหันไปทางทิศตะวันออก 

สำหรับวิหารหลังปัจจุบัน เป็นศิลปกรรมแบบล้านนา ด้านในประดิษฐานพระประธาน ๒ องค์ องค์หนึ่งหันหน้าไปทางทิศเหนือ ก่อด้วยอิฐและปูน หน้าตักกว้าง ๗ ศอก สูง ๙ ศอก ได้รับการประดิษฐาน ณ วิหารหลังนี้มาโดยตลอดพระพุทธรูปอีกองค์หนึ่ง เป็นพระพุทธรูปทองเหลือง หันหน้าไปทางทิศใต้ (หันหลังให้กับองค์แรก) ภายหลังเมื่อวิหารหลังเล็กได้รับการดัดแปลงแก้ไขในสมัยครูบาหลานหรือ ครูบาอินต๊ะพระพุทธรูปองค์นี้จึงได้รับการเคลื่อนย้ายไปประดิษฐานบนวิหารหลังใหญ่ 

ต่อมาเจ้าแม่ทิพผสม ณ เชียงใหม่ ได้ทำการบูรณะวิหารหลังเล็ก เมื่อประมาณปี พ.ศ.๒๔๔๕ ปีขาล 

ปัจจุบันวิหารหลังเล็กนี้กรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานแล้ว

ล่าสุด พระพุทธิญาณ เจ้าอาวาสและเจ้าคณะจังหวัดองค์ปัจจุบันได้ทำการบูรณะซ่อมแซมในรูปเดิมและเสริมในบางส่วน คือ ปั้นมอม (สัตว์หิมพานต์) ๒ ตัว ไว้ที่บันได รวมทั้งบานประตูใหญ่ของวิหารซึ่งปั้นปูนเป็นเทพพนม

Source:http
://www.songsakarn.com/forum/viewthread.php?tid=1041

 04.วัดบุพพาราม  ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 
Wat Bupparam, Tha Pae Road, Chang Khan Sub-district, Mueang District, Chiang Mai, Thailand.

** ตัวมอม คู่ แห่ง พระวิหารหลังเล็ก วัดบุพพาราม
:ตัวมอม หรือ มอม เป็นสัตว์พาหนะของปัชชุนนเทวบุตร เทพแห่งฝน จึงใช้มอม ในการขอฝนต่อปัชชุนนเทวบุตร .

*** สมัยครูอุดมกิตติมงคลบูรณะได้ปั้น "มอม" 2 ตัว ไว้ที่บันได (มอมเป็นสัตว์คู่บารมีพระสมณโคดม ซึ่งขอพรจากพระพุทธเจ้าให้เอารูปติดไว้ในถาวรวัตถุของพุทธศาสนา เพื่อชาติต่อไปจะได้เป็นมนุษย์ได้บวชในพระพุทธศาสนา) (ขอบคุณข้อมูล *** จาก http://www.dannipparn.com)

 05.พระพุทธไชยลาภประสิทธิโชค พระประธาน แห่ง พระวิหารหลังเล็ก วัดบุพพาราม.
วัดบุพพาราม  ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 
Wat Bupparam, Tha Pae Road, Chang Khan Sub-district, Mueang District, Chiang Mai, Thailand.



 06..พระพุทธไชยลาภประสิทธิโชค พระประธาน แห่ง พระวิหารหลังเล็ก วัดบุพพาราม.
วัดบุพพาราม  ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 
Wat Bupparam, Tha Pae Road, Chang Khan Sub-district, Mueang District, Chiang Mai, Thailand.


 07..พระพุทธไชยลาภประสิทธิโชค พระประธาน แห่ง พระวิหารหลังเล็ก วัดบุพพาราม.
วัดบุพพาราม  ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 
Wat Bupparam, Tha Pae Road, Chang Khan Sub-district, Mueang District, Chiang Mai, Thailand.



 08.วัดบุพพาราม  ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 
Wat Bupparam, Tha Pae Road, Chang Khan Sub-district, Mueang District, Chiang Mai, Thailand.

 09.วัดบุพพาราม  ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 
Wat Bupparam, Tha Pae Road, Chang Khan Sub-district, Mueang District, Chiang Mai, Thailand.


 10.วัดบุพพาราม  ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 
Wat Bupparam, Tha Pae Road, Chang Khan Sub-district, Mueang District, Chiang Mai, Thailand.


 11.วัดบุพพาราม  ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 
Wat Bupparam, Tha Pae Road, Chang Khan Sub-district, Mueang District, Chiang Mai, Thailand.


 12.วัดบุพพาราม  ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 
Wat Bupparam, Tha Pae Road, Chang Khan Sub-district, Mueang District, Chiang Mai, Thailand.

พระวิหารหลังใหญ่ แห่ง วัดบุพพาราม ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่

 13.วัดบุพพาราม  ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 
Wat Bupparam, Tha Pae Road, Chang Khan Sub-district, Mueang District, Chiang Mai, Thailand.

พระวิหารหลังใหญ่ แห่ง วัดบุพพาราม ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

พระวิหารหลังใหญ่ เป็นวิหารศิลปกรรมล้านนาซึ่งได้รับการประดับตกแต่งลวดลายปูนปั้นแบบพม่า เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหาปฏิมากร ศิลปกรรมล้านนาซึ่งหล่อด้วยทองแดงล้วนมีน้ำหนัก ๑ โกฏิ และสนธิ (ต่อ) ๘ แห่ง และมีพระพุทธรูปสมัยเชียงแสนขนาบซ้ายขวาอีก ๒ รูป โดยหล่อด้วยทองสำริดทั้งคู่

ภายในวิหารมีภาพเขียนพุทธประวัติและพระมหาเวสสันดรชาดก ซี่งเขียนด้วยสีฝุ่น 

ประวัติของวิหารหลังใหญ่เท่าที่ทราบ คือ พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงษ์หรือเจ้าชีวิตอ้าว เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เป็นผู้บูรณะโดยเปลี่ยนเสาเดิม คือ ท่านได้รื้อหอเย็นในคุ้มหลวง แล้วนำเสาเหล่านั้นมาทำเป็นเสาพระวิหาร 

ต่อมาในสมัยของครูบาหลาน (อินต๊ะ) พร้อมด้วยญาติโยมได้ทำการบูรณะพระวิหารขึ้นอีกครั้งหนึ่ง 

จากนั้น พระครูอุดมกิตติมงคลเจ้าอาวาสขณะนั้นได้พยายามปรับปรุงเรื่อยมาไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนบานประตูใหญ่-เล็กและแกะสลักให้สวยงามแบบศิลปะล้านนา...

Source
:http://www.songsakarn.com/forum/viewthread.php?tid=1041

เนื่องจากวันที่ได้มาวัดบุพพาราม พระวิหารใหญ่ปิด จึงได้แต่นำรูปบานประตู และ หน้าต่างมาให้ชมได้เท่านั้น ที่เหลือก็คงจะต้อง จินตนาการตามคำบรรยายนะครับ โอกาสข้างหน้าได้แต่หวังว่าจะได้มีโอกาสได้เข้าไปในวิหาร เหมือนกับอีกหลายๆวัดที่ไม่สามารถเข้าไปไหว้พระประธาน และ ชมภาพจิตรกรรมภายในวิหารได้เช่นกัน

 14.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม
วัดบุพพาราม  ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 
Wat Bupparam, Tha Pae Road, Chang Khan Sub-district, Mueang District, Chiang Mai, Thailand.


 15.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม
วัดบุพพาราม  ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 
Wat Bupparam, Tha Pae Road, Chang Khan Sub-district, Mueang District, Chiang Mai, Thailand.


 16.วัดบุพพาราม  ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 
Wat Bupparam, Tha Pae Road, Chang Khan Sub-district, Mueang District, Chiang Mai, Thailand.

ประวัติหอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม 

ต่อมาอีก ๔ ปี ในปีระกา พระเจ้าดิลกปนัดดาธิราชรับสั่งให้สร้างหอมณเฑียรธรรมอีก ๑ หลัง สำหรับประดิษฐานพระไตรปิฎกฉบับลงทองของล้านนาไทย ศิลปหัตถกรรมล้านนา ประดับตกแต่งอย่างประณีตสวยงามเหมือนเวชยนต์ปราสาท และในพ.ศ. ๒๕๑๙ ทางวัดได้สร้างพระพุทธบุพพาภิมงคล ภปร.และพระพุทธรูปไม้สัก ต้องหาที่ประดิษฐาน ในพ.ศ. ๒๕๒๓ จึงวางศิลาฤกษ์ ออกแบบและคุมการสร้างโดยพระครูอุดมกิตติมงคล เจ้าอาวาส แล้วเสร็จในพ.ศ. ๒๕๓๘

ประวัติหอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม (ต่อ) 

ต่อมา ในปีพ.ศ. ๒๕๓๙ จ.ศ. ๑๓๕๘ นี้ได้ชำรุดหักพังลง พระเทพวิสุทธิคุณเห็นว่า เพื่อฟื้นฟูประวัติศาสตร์วัดบุพพารามเอาไว้เป็นอนุสรณ์ถวายพระราชกุศลแด่พระเจ้าดิลกปนัดดาธิราช กับเป็นการสร้างถวายพระราชกุศลในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช รัชกาลที่ ๙ แห่งราชวงศ์จักรี ทรงครองราชย์สิริราชสมบัติครบ ๘๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ และเพื่อเป็นการเฉลิมฉลองนครเชียงใหม่ มีอายุครบ ๗๐๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ จึงได้สร้างหอมณเฑียรธรรมขึ้นอย่างสวยงาม

ขอบคุณ ข้อมูลจาก คุณ pimnuttapa แห่ง http://www.dannipparn.com


 17.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม
วัดบุพพาราม  ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 
Wat Bupparam, Tha Pae Road, Chang Khan Sub-district, Mueang District, Chiang Mai, Thailand.


 18.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม
วัดบุพพาราม  ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 
Wat Bupparam, Tha Pae Road, Chang Khan Sub-district, Mueang District, Chiang Mai, Thailand.


 19.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม
วัดบุพพาราม  ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 
Wat Bupparam, Tha Pae Road, Chang Khan Sub-district, Mueang District, Chiang Mai, Thailand.


 20.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม
วัดบุพพาราม  ถ.ท่าแพ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่. 
Wat Bupparam, Tha Pae Road, Chang Khan Sub-district, Mueang District, Chiang Mai, Thailand.


 21.พระเจ้าค่าคิง ภายในหอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

ประวัติพระพุทธบุพพาภิมงคล ภ.ป.ร

ในพ.ศ. ๒๕๑๙ พระเทพวิสุทธิคุณ (เมื่อครั้งเป็นพระครูมงคลศีลวงศ์) ร่วมกับนายชลอ ธรรมศิริ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ขณะนั้นพร้อมด้วยศรัทธาประชาชนได้ประชุมหารือถึงการสร้างพระพุทธรูปถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งเมืองเหนือเรียกว่า พระค่าคิง คือสร้างขนาดหน้าตักกว้างเท่าพระชนมายุ เนื่องในปีนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมายุ ๔๙ พรรษา เมื่อได้นำขึ้นกราบทูลฯ พระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเททองหล่อและพระราชทานนามว่า “พระพุทธบุพพาภิมงคล ภ.ป.ร.” ปัจจุบันประดิษฐานบนหอมณเฑียรธรรมให้ประชาชนสักการบูชา


ขอบคุณ ข้อมูลจาก คุณ pimnuttapa แห่ง http://www.dannipparn.com

 22.พระเจ้าค่าคิง ภายในหอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม


 23.พระพุทธรูปไม้สัก
ชื่อเต็มว่า “พระพุทธนเรศวร์สักชัยไพรีพินาศ” มีประวัติเล่าว่า “พระเจ้าเชียงใหม่ (พระเมกุฎิหรือแมกุ) ราชวงศ์มังรายองค์ที่ ๑๕ ได้มีพระราชสาส์นไปยังสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ณ กรุงศรีอยุธยา เพื่อขอยกทัพขึ้นมาช่วยปราบศรัตรูคือพม่าที่รุกรานนครเชียงใหม่และภาคเหนือ ประมาณ พ.ศ. ๒๑๔๖ ถึง ๒๑๔๗ สมเด็จพระนเศวรจึงได้ยอกกองทัพขึ้นมาช่วยปราบพม่าผู้รุกรานจนพม่าพ่ายแพ้ถอยทัพเข้าสู่เขตเมืองต๋วน เมืองแหง เขตไทยใหญ่ (รัฐฉาน) พระองค์ทรงขับไล่ออกจากเมืองเชียงใหม่ไปทางทิศเหนือ (ปัจจุบันคือบริเวณเมืองงาย ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือเขตอำเภอเชียงดาว) ครั้นขับไล่สู่เขตเมืองต๋วน(ต้น) เมืองแหงแล้ว พระองค์ทรงสร้างพระพุทธรูปไม้สักหน้าตักกว้าง ๑ วาเศษ ไว้ ๑ องค์
ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่หอมณเฑียรธรรมวัดบุพพาราม ถ. ท่าแพ ต. ช้างคลาน อ. เมือง จ. เชียงใหม่ ขณะนี้อายุได้ ๓๙๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ส่วนพระนเรศวรสวรรคต ณ ที่เมืองต๋วน วันจันทร์ เดือน ๖ ขึ้น ๘ ค่ำ พ.ศ. ๒๑๔๘ ครองราชได้ ๑๕ ปี พระชันษาได้ ๕๐ ปี พระเอกาทศรถ ราชอนุชาจึงตรัสสั่งให้เลิกทัพเชิญพระศพกลับคืนสู่พระนครศรีอยุธยา ขอเชิญท่านสักการบูชา เพื่อเป็นศิริมงคลต่อไป"
พระอุดมกิตติมงคล เจ้าอาวาสวัดบุพพาราม
///พระมหาจิรศักดิ์

 24.พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแก้วมรกตจำลอง) ประดิษฐานภายในชั้นบน หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

 25.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

 26.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

 27.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

 28.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

 29.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

 30.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

 31.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

 32.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

 33.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

 34..พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแก้วมรกตจำลอง) ประดิษฐานภายในชั้นบน หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

 35.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

 36.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

 37.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

 38..พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแก้วมรกตจำลอง) ประดิษฐานภายในชั้นบน หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

 39..พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแก้วมรกตจำลอง) ประดิษฐานภายในชั้นบน หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม
 40.พระพุทธนเรศวร์สักชัยไพรีพินาศ

พระพุทธรูปไม้สักชื่อเต็มว่า “พระพุทธนเรศวร์สักชัยไพรีพินาศ” มีประวัติเล่าว่า “พระเจ้าเชียงใหม่ (พระเมกุฎิหรือแมกุ) ราชวงศ์มังรายองค์ที่ ๑๕ ได้มีพระราชสาส์นไปยังสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ณ กรุงศรีอยุธยา เพื่อขอยกทัพขึ้นมาช่วยปราบศรัตรูคือพม่าที่รุกรานนครเชียงใหม่และภาคเหนือ ประมาณ พ.ศ. ๒๑๔๖ ถึง ๒๑๔๗ สมเด็จพระนเศวรจึงได้ยอกกองทัพขึ้นมาช่วยปราบพม่าผู้รุกรานจนพม่าพ่ายแพ้ถอยทัพเข้าสู่เขตเมืองต๋วน เมืองแหง เขตไทยใหญ่ (รัฐฉาน) พระองค์ทรงขับไล่ออกจากเมืองเชียงใหม่ไปทางทิศเหนือ (ปัจจุบันคือบริเวณเมืองงาย ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือเขตอำเภอเชียงดาว) ครั้นขับไล่สู่เขตเมืองต๋วน(ต้น) เมืองแหงแล้ว พระองค์ทรงสร้างพระพุทธรูปไม้สักหน้าตักกว้าง ๑ วาเศษ ไว้ ๑ องค์
ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ที่หอมณเฑียรธรรมวัดบุพพาราม ถ. ท่าแพ ต. ช้างคลาน อ. เมือง จ. เชียงใหม่ ขณะนี้อายุได้ ๓๙๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ส่วนพระนเรศวรสวรรคต ณ ที่เมืองต๋วน วันจันทร์ เดือน ๖ ขึ้น ๘ ค่ำ พ.ศ. ๒๑๔๘ ครองราชได้ ๑๕ ปี พระชันษาได้ ๕๐ ปี พระเอกาทศรถ ราชอนุชาจึงตรัสสั่งให้เลิกทัพเชิญพระศพกลับคืนสู่พระนครศรีอยุธยา ขอเชิญท่านสักการบูชา เพื่อเป็นศิริมงคลต่อไป"
พระอุดมกิตติมงคล เจ้าอาวาสวัดบุพพาราม
///พระมหาจิรศักดิ์

 41.พระพุทธรูปไม้สัก
ประวัติพระพุทธนเรศร์ลักชัยไพรีนินาศ 
ประวัติศาสตร์ชาติไทยจากหนังสือจดหมายเหตุ แห่งพระนครศรีอยุธยา แต่งโดย ศ.ดร.ประเสริฐ์ ณ นคร กล่าวไว้ว่า พระเจ้าเชียงใหม่ (พระเมกุฏิหรือพระแม่กุ) ราชวงศ์มังรายองค์ที่ ๑๕ ได้มีพระราชสาส์นไปยังสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เพื่อขอพระองค์ช่วยยกทัพมาปราบพม่าผู้รุกรานเมืองเหนือ พระองค์ได้สร้างพระพุทธรูปด้วยไม้สัก ๑ องค์ ไม่รู้ว่าอยู่ที่ไหน

กาลต่อมา ๒๐๐ กว่าปี ถือเป็นบุญญาธิการของเมืองเชียงใหม่ เจ้าน้อยมังกรได้อาราธนาพระพุทธรูปไม้สักมาจากเมืองต๋วนในเขตไทยใหญ่ ๑ องค์ ขนาดหน้าตักกว้างวาเศษ ชาวเมืองต๋วนระบุว่า เป็นพระพุทธรูปของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงสร้างเมื่อครั้งยกทัพขับไล่พม่าออกจากประเทศไทย และชาวบ้านต้องซ่อนพระพุทธรูปไว้ เกรงพม่าจะนำไปเผา เพราะก่อนหน้านั้นเผาไปแล้ว ๒ องค์ เจ้าน้อยมังกรได้ใช้เกวียนบรรทุกเข้ามาเชียงใหม่เมื่อพ.ศ. ๒๕๑๕ ต่อมานำไปถวายพระศรีนวล วัดเชตุพน ต.วัดพระเกต อ.เมือง จ.เชียงใหม่ (ปัจจุบันเป็นพระครูสังฆวิจารณ์ เจ้าอาวาสวัดเพลง นนทบุรี) ถึงพ.ศ. ๒๕๑๗ พระศรีนวลก็ถวายแก่พระมหาจำรัส ธัมมวาที วัดบุพพาราม โดยได้กราบเรียนว่า  “ท่านอาจารย์อยากได้พระพุทธรูปไม้สักไหม” องค์ใหญ่ที่สุดและสวยที่สุดในโลก

ประวัติพระพุทธนเรศร์ลักชัยไพรีนินาศ (ต่อ) 

เมื่อท่านเจ้าคุณพระเทพวิสุทธิคุณทราบ จึงได้สอบถามความเป็นมาและขอตั้งจิตอธิษฐานถวายเป็นกุศลแด่พระวิญญาณของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชก่อน แล้วจึงขอนิมิตจะดีหรือไม่ดี เพราะไม่รู้ไม่เห็น ต่อมาจึงนิมิตว่า มีญาติโยมสร้างกุฏิไม้สักถวาย ๑ หลังใหญ่มาก ๒ ชั้น แล้วนิมนต์พระคุณท่านใช้รับแขกชั้นล่าง และจำวัดชั้นบน ท่านเจ้าคุณฯ ก็บอกไปว่า “ดีเหมือนกัน” แล้วสะดุ้งตื่นมา นึกว่าเป็นบุพนิมิตที่เป็นมงคลอันดีงาม จึงได้กระทำพิธีอัญเชิญพระพุทธรูปไม้สักมาประดิษฐาน ณ วัดบุพพาราม ต่อมา ๒๕๒๐ เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร (ขณะนั้นยังไม่ได้ทรงยศเป็นสมเด็จพระสังฆราช) ได้เมตตามาเยี่ยมวัด เมื่อทราบประวัติเรื่องราวของพระพุทธรูป และเจ้าอาวาสได้ขอให้เจ้าพระคุณสมเด็จฯ ตั้งชื่อให้ พระองค์ตั้งชื่อเป็นมงคลว่า “พระพุทธนเรศร์ สักชัยไพรีนาศ”

ขอบคุณ ข้อมูลจาก คุณ pimnuttapa แห่ง http://www.dannipparn.com

 42.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

 43.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

 44.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

 45.

 46.

 47.

 48.

 49.

 50.

 51.

 52.

 53. พระวิหารหลังใหญ่ วัดบุพพาราม.

ประวัติวิหารหลังใหญ่ วัดบุพพาราม 

พระเจ้าชังรายัตตราช (พระเจ้ายอดเชียงราย) หลังจากเสวยราชสมบัติได้ ๙ ปี ถึงปีเถาะจึงได้สละราชสมบัติให้ราชกุมาร ซึ่งเป็นพระโอรสของพระองค์ ครั้นมอบให้แล้ว จึงได้ดำรงพระชนมายุอีก ๑๓ ปี พระองค์ก็เสด็จสวรรคตในปีขาล สิริรวมพระชนมายุได้ ๕๑ พรรษา พระราชาผู้เป็นราชโอรสของพระเจ้าชังยัตตราช ประสูติปีขาลคือ "พระเจ้าดิลกปนัดดาธิราช" (พระเมืองแก้ว) เมื่อพระองค์ทรงมีพระชนมายุ ๑๔ พรรษา ได้รับการสถาปนาราชาภิเษก เมื่อวันเพ็ญเดือน ๔ จุลศักราช ๘๕๔ นับตั้งแต่พระองค์มีความเลื่อมใสในบวรพุทธศาสนามาก ทั้งประกอบด้วยปสาทะศรัทธาอย่างดีเยี่ยม และประกอบด้วยเจตนาศรัทธาเป็นเครื่องบริจาคทานวัตถุ เป็นเหตุให้เกิดปัจจัยในอันที่จะบริจาคทานโดยไม่มีขีดขั้น 

นับตั้งแต่พระองค์ทรงได้รับราชาภิเษกมา ๑ ปี คือ ปีมะโรง เดือน ๕ แรม ๗ ค่ำวันอังคาร จุลศักราช ๘๕๕ พ.ศ. ๒๐๓๖ พระเจ้าดิลกปนัดดาธิราช พระองค์ทรงรับสั่งให้สร้างพระอารามไว้ ณ ที่พระราชอุทยาน ซึ่งเป็นที่ประทับของพระเจ้าติโลกราช ผู้เป็นพระเจ้าปู่ และเป็นที่ประทับของพระราชบิดาของพระองค์ด้วย พระองค์จึงให้ขนานนามของวัดว่า "บุพพาราม" ทั้งนี้เพราะถือเอานิมิตว่าด้วยตั้งอยู่ทางทิศบูรพาแห่งนั้นพิสิราชธานี (นครพิงค์เชียงใหม่) ต่อมา เมื่อพระองค์ทรงสร้างวัดบุพพารามแล้วได้ ๓ ปี คือปีมะเมีย พระองค์ทรงสร้างปราสาทไว้ ณ ท่ามกลางมหาวิหารอีก ๑ หลัง เพื่อประดิษฐานพระมหาพุทธปฏิมากร หล่อด้วยทองแดงล้วน มีสนธิ ๘ แห่ง นำหนัก ๑ โกฎิ (ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ในวิหารหลังใหญ่)

ประวัติวิหารหลังใหญ่ วัดบุพพาราม (ต่อ) 

วิหารหลังนี้มีประวัติจารึกไว้ได้ความว่า เจ้าชีวิตอ้าวหรือพระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงษ์ เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๓๙๙-๒๔๑๓) ให้รื้อ "หอเย็น" ในคุ้มหลวงตา เอาเสามาทำเสาวิหารหลังใหญ่แห่งนี้ ต่อมาบูรณะสมัยครูบาหลาน (อินต๊ะ) และสมัยพระครูอุดมกิตติมงคล เป็นเจ้าอาวาส ภายในมีพระมหาพุทธรูปปฏิมากร (พระประธานองค์ใหญ่) หล่อด้วยทองแดงหนัก ๑ โกฏิ สนธิ ๘ แห่ง (ต่อ ๘ แห่ง) 

ขอบคุณ ข้อมูลจาก คุณ pimnuttapa แห่ง http://www.dannipparn.com

 54.

 55.

 56.

 57.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

 58.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

 59.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

60.หอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

-----------------------------------------------------------

ขอบคุณ ข้อมูลและภาพ จาก fb:วัดบุพพาราม/ Watbupparam




พระอุโบสถวัดบุพพาราม

พระอุโบสถ ตามที่สอบถามผู้เฒ่าผู้แก่ได้ความว่าเมื่อประมาณ ๑๐๐ ปีที่ผ่านมา คฤหปตานี “คุณแม่วันดี สุริยา” เป็นผู้ปฏิสังขรณ์ โดยทำซุ้มโขงให้เป็นศิลปะล้านนาผสมมอญ อนึ่ง พระอุโบสถหลังนี้มีขนาดเล็กและไม่มีใบเสมาเป็นเครื่องหมายเหมือนอุโบสถที่ สร้างขึ้นในปัจจุบันแต่จะใช้ก้อนหินหรือเสาหินทรายแดงเป็นนิมิตในการผูก ลูกนิมิตเพื่อแสดงเขตของพัทธสีมาซึ่งมีความกว้าง ๕ เมตร และยาว ๒๐ เมตร ภายในพระอุโบสถเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปสิงห์หนึ่งศิลปะเชียงแสนซึ่งเป็นพระประธานและพระพุทธรูปปูนปั้นก่อด้วยอิฐศิลปะมอญ อีก ๒ องค์ ซึ่งเป็นของโบราณ


///พระมหาจิรศักดิ์


------------------------------------------------------------------------






17 ความคิดเห็น:

  1. ขอบคุณข้อมูลจาก fb:วัดบุพพาราม/ Watbupparam
    16 มกราคม 2014 ·

    ประวัติวัดบุพพาราม
    ...วัดบุพพาราม หรือ วัดเม็ง มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า วัดอุปปา ตั้งอยู่เลขที่ ๑๔๓ ถนนท่าแพ ตำบลช้างคลาน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีที่ดินตั้งวัดเนื้อที่ ๔ไร่ ๓ งาน ๒๙ ตารางวา
    ...วัดบุพพารามสร้างขึ้นในสมัยพระญาเมืองแก้ว กษัตริย์ล้านนาลำดับที่ ๑๒ ราชวงศ์มังราย ( ครองราชย์ระหว่างปี พ . ศ . ๒๐๓๙ – ๒๐๖๘ ) ในตำนานชินกาลมาลีปกรณ์ ได้กล่าวถึงการสร้างบุพพารามว่า พระเจ้าติลกปนัดดาธิราช ( ราชนัดดาของพระเจ้าติโลกราช คือพระญาเมืองแก้ว ) หลังจากที่ได้ราชาภิเษกแล้วในปีที่ ๒ ทรงโปรดให้สร้างอารามขึ้นอารามหนึ่งในหมู่บ้านที่พระราชอัยกา ครั้งเป็นยุพราชและพระบิดาของพระองค์เคยประทับมาก่อนเมื่อวันอังคาร ขึ้น ๗ ค่ำ เดือน ๕ ปีมะโรง จุลศักราช ๘๕๘ โดยพระองค์ตั้งชื่ออารามนั้นว่า บุพพาราม แปลว่าอารามตะวันออก ทั้งนี้ โดยถือเอานิมิตว่าได้ตั้งอยู่ทางทิศบูรพาแห่งนพีสีราชธานี ซึ่งเป็นตำแหน่ง “ มูลเมือง ” ตามคัมภีร์มหาทักษา
    ต่อมาในปีที่ ๓ ของการครองราชย์ ( ปีมะเมีย ) พระญาเมืองแก้วทรงโปรดให้สร้างปราสาทขึ้นองค์หนึ่ง ท่ามกลางมหาวิหารในอารามแห่งนั้น เพื่อเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปเงินพอย่างเข้าปีที่ ๔ แห่งการครองราชย์ พระญาเมืองแก้วทรงฉลองพระไตรปิฎกฉบับลงทองขมุศิลปะแบบล้านนา พร้อมกับหอมณเฑียรธรรมซึ่งโปรดให้สร้างด้วยไม้สักทั้งหลังและประดับตกแต่งอย่างประณีตสวยงามเพื่อเป็นที่ประดิษฐานพระไตรปิฎกนอกจากนี้ยังมีการฉลองกุมารารามซึ่งพระนางสิริยสวดีราชเทวีพระราชชนนีของพระองค์ ได้สร้างไว้ที่พระราชมณเฑียรอันเป็นสถานที่ประสูติของพระญาเมืองแก้วในครั้งเดียวกันนั้นเอง.

    ตอบลบ
  2. ในปีจุลศักราช ๘๖๖ ( พ . ศ . ๒๐๔๗ ) ปีฉลู เดือน ๘ วันพฤหัสบดี ขึ้น ๑๑ ค่ำ พระญาเมืองแก้วทรงรับสั่งให้ทำการหล่อมหาพุทธรูปไว้ ณ วัดบุพพาราม ๑ องค์ ต่อมา ในปีขาลเดือน ๕ วันพฤหัสบดี ขึ้น ๘ ค่ำ มีการหล่อพระมหาพุทธรูปด้วยทองแดงล้วน น้ำหนัก ๑ โกฏิ ซึ่งมีสนธิ ๘ แห่ง หรือข้อต่อ ๘ แห่ง ใช้เวลาสร้างทั้งสิ้น ๕ ปี คือ สำเร็จในปี จ . ศ . ๘๗๑ เดือน ๕ ขึ้น ๕ ค่ำ วันพุธ โดยมีการฉลองอย่างใหญ่โตและได้รับการประดิษฐาน ณ พระอุโบสถ ปัจจุบันนี้ คือ พระประธานในวิหารของวัดบุพพาราม จากนั้น วัดบุพพารามได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ . ศ . ๒๐๗๐
    สำหรับอาณาเขตของวัดตามตำนานไม่ได้กล่าวไว้ว่ามีเนื้อที่เท่าใด จากการค้นคว้าข้อมูลของพระพุทธิญาณเจ้าอาวาสวัดบุพพารามในปัจจุบัน ( พ . ศ . ๒๕๓๙ ) ประกอบกับคำให้สัมภาษณ์ของผู้เฒ่าผู้แก่ ได้ใจความว่าวัดอุปารามหรือบุพพารามมีเนื้อที่กว้างขวางมาก ทิศตะวันออกจดคลองแม่ข่าทิศตะวัดตกจดวัดมหาวัด อย่างไรก็ดี ปัจจุบันวัดบุพพารามหรือบุพพรามมีเนื้อที่ ๔ ไร่ ๓ งาน ๒๙ ตารางวา ทิศเหนือติดกับถนนท่าแพ มีเนื้อที่ ๒ เส้น ๑๓ วา ทิศใต้ติดบ้านของเอกชน มีเนื้อที่ ๒ เส้น ๔ วา ทิศตะวันตกติดกับถนนท่าแพ ซอย ๒ ร่มโพธิ์ มีเนื้อที่ ๒ เส้น ๑๙ วา
    ความสำคัญของวัดบุพพาราม คือ เคยเป็นที่สถิตของพระมหาสังฆราชปุสสเทวะ และนอกจากนี้ยังเป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมาสัมมาสัมพุทธเจ้า อีกทั้งมีประเพณีสรงน้ำพระบรมสารีริกธาตุในวันเพ็ญเดือน ๖ เหนือ ( เดือน ๔ ภาคกลาง ) ประมาณเดือนกุมภาพันธ์ประจำทุกปี.

    ตอบลบ
  3. ปูชนียสถานที่สำคัญของวัดบุพพาราม ได้แก่
    ๑ . พระวิหารหลังเล็ก ซึ่งเป็นวิหารเครื่องไม้ศิลปะแบบล้านนา เจ้าหลวงช้างเผือกธรรมลังกาโปรดให้สร้างเมื่อ พ . ศ . ๒๓๖๒ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธไชยลาภประสิทธิโชค ( พระประธาน ) ซึ่งก่อด้วยอิฐถือปูน หน้าตักกว้าง ๗ ศอก สูง ๙ ศอก เดิมวิหารหลังนี้มีอยู่ ๓ มุขด้วยกัน คือ มุขหน้าหันไปทางทิศเหนือ มุขหลังหันไปทางทิศใต้ และมุขข้างหันไปทางทิศตะวันออก สำหรับวิหารหลังปัจจุบัน เป็นศิลปกรรมแบบล้านนา ด้านในประดิษฐานพระประธาน ๒ องค์ องค์หนึ่งหันหน้าไปทางทิศเหนือ ก่อด้วยอิฐและปูน หน้าตักกว้าง ๗ ศอก สูง ๙ ศอก ได้รับการประดิษฐาน ณ วิหารหลังนี้มาโดยตลอดพระพุทธรูปอีกองค์หนึ่ง เป็นพระพุทธรูปทองเหลือง หันหน้าไปทางทิศใต้ ( หันหลังให้กับองค์แรก ) ภายหลังเมื่อวิหารหลังเล็กได้รับการดัดแปลงแก้ไขในสมัยครูบาหลานหรือ ครูบาอินต๊ะพระพุทธรูปองค์นี้จึงได้รับการเคลื่อนย้ายไปประดิษฐานบนวิหารหลังใหญ่ ต่อมาเจ้าแม่ทิพผสม ณ เชียงใหม่ ได้ทำการบูรณะวิหารหลังเล็ก เมื่อประมาณปี พ . ศ . ๒๔๔๕ ปีขาล ปัจจุบันวิหารหลังเล็กนี้กรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานแล้วล่าสุด พระพุทธิญาณ เจ้าอาวาสและเจ้าคณะจังหวัดองค์ปัจจุบันได้ทำการบูรณะซ่อมแซมในรูปเดิมและเสริมในบางส่วน คือ ปั้นมอม ( สัตว์หิมพานต์ ) ๒ ตัว ไว้ที่บันได รวมทั้งบานประตูใหญ่ของวิหารซึ่งปั้นปูนเป็นเทพพนม
    ๒ . พระวิหารหลังใหญ่ เป็นวิหารศิลปกรรมล้านนาซึ่งได้รับการประดับตกแต่งลวดลายปูนปั้นแบบพม่า เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหาปฏิมากร ศิลปกรรมล้านนาซึ่งหล่อด้วยทองแดงล้วนมีน้ำหนัก ๑ โกฏิ และสนธิ ( ต่อ ) ๘ แห่ง และมีพระพุทธรูปสมัยเชียงแสนขนาบซ้ายขวาอีก ๒ รูป โดยหล่อด้วยทองสำริดทั้งคู่ภายในวิหารมีภาพเขียนพุทธประวัติและพระมหาเวสสันดรชาดก ซี่งเขียนด้วยสีฝุ่น ประวัติของวิหารหลังใหญ่เท่าที่ทราบ คือ พระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงษ์หรือเจ้าชีวิตอ้าว เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เป็นผู้บูรณะโดยเปลี่ยนเสาเดิม คือ ท่านได้รื้อหอเย็นในคุ้มหลวง แล้วนำเสาเหล่านั้นมาทำเป็นเสาพระวิหาร ต่อมาในสมัยของครูบาหลาน ( อินต๊ะ ) พร้อมด้วยญาติโยมได้ทำการบูรณะพระวิหารขึ้นอีกครั้งหนึ่ง จากนั้น พระครูอุดมกิตติมงคลเจ้าอาวาสได้พยายามปรับปรุงเรื่อยมาไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนบานประตูใหญ่ - เล็กและแกะสลักให้สวยงามแบบศิลปะล้านนา
    ๓ . พระอุโบสถ ตามที่สอบถามผู้เฒ่าผู้แก่ได้ความว่าเมื่อประมาณ ๑๐๐ ปีที่ผ่านมา คฤหปตานี “ คุณแม่วันดี สุริยา ” เป็นผู้ปฏิสังขรณ์ โดยทำซุ้มโขงให้เป็นศิลปะล้านนาผสมมอญ อนึ่ง พระอุโบสถหลังนี้มีขนาดเล็กและไม่มีใบเสมาเป็นเครื่องหมายเหมือนอุโบสถที่สร้างขึ้นในปัจจุบันแต่จะใช้ก้อนหินหรือเสาหินทรายแดงเป็นนิมิตในการผูกลูกนิมิตเพื่อแสดงเขตของพัทธสีมาซึ่งมีความกว้าง ๕ เมตร และยาว ๒๐ เมตร ภายในพระอุโบสถเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปสิงห์หนึ่งศิลปะเชียงแสนซึ่งเป็นพระประธานและพระพุทธรูปปูนปั้นก่อด้วยอิฐอีก 2 องค์ ซึ่งเป็นของโบราณ.

    ตอบลบ
  4. ๔. พระเจดีย์ ศิลปะล้านนา เป็นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ตามตำนานขององค์พระเจดีย์กล่าวว่า พระญาเมืองแก้วสร้างพระเจดีย์ขึ้นใน ปี จ.ศ.๘๗๒ ปีมะแม โดยมีความกว้างประมาณ ๑๒ ศอก สูงประมาณ ๓๐ ศอก ปิดด้วยทองทั้งองค์ ในครั้งนั้น คณะสงฆ์ และเหล่าศรัทธาต่างเปลื้องอาภรณ์เครื่องประดับเป็นเครื่องบูชาเพื่อเป็นบุญกุศลและเป็นการถวายทานแด่พระพุทธศาสนา การก่อสร้างใช้เวลารวม ๓ เดือนจึงสำเร็จ โดยขณะที่การก่อสร้างดำเนินอยู่นั้นมีเหตุอัศจรรย์เกิดขึ้นหลายประการ
    อนึ่ง การบูรณะองค์พระเจดีย์โดยหลวงโยนวิจิตร(หม่อนตะก่า อุปโยคิน) คือ ท่านได้สละทรัพย์สินส่วนตัวเสริมสร้างองค์เจดีย์ทั้งองค์ในปี จ.ศ.๑๒๖๐ (พ.ศ.๒๔๔๑) โดยเปลี่ยนรูปทรงเจดีย์ใหม่ดังที่ปรากฏในปัจจุบัน ขยายฐานให้กว้าง ๓๘ ศอก ความสูง ๔๕ ศอก มีฉัตรขนาดเล็กจำนวน ๔ ฉัตร รวมทั้งมีต้นดอกไม้เงิน-ดอกไม้ทอง อย่างละ ๔ ต้น และมีฉัตรขนาดใหญ่ตรงยอดสูดขององค์เจดีย์ ๑ ฉัตร พิธียกฉัตรมีขึ้นในวันที่ ๙ กุมภาพันธ์ ปลายปี พ.ศ.๒๔๔๑
    ต่อมา ในปี พ.ศ.๒๔๙๙ พระพุทธิญาณ (เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน) ได้ย้ายมาจากวัดเชตวันและได้ทำการบูรณะองค์พระเจดีย์อีกครั้งหนึ่ง โดยเริ่มลงมือบูรณะในวันพฤหัสบดีแรม ๙ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีฉลู จ.ศ.๑๓๒๓ ตรงกับวันที่ ๒ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๐๔ สำเร็จเรียบร้อยเมื่อวันที่ ๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๑๕ ตรงกับเดือน ๕ ขึ้น ๑๐ ค่ำ วันพฤหัสบดี รวมเวลาที่ทำการบูรณะ ๔ เดือนกับอีก ๖วัน
    ๕. บ่อน้ำทิพย์ เดิมเป็นบ่อน้ำในพระราชอุทยานของพระเจ้าติโลกราช มีมาก่อนการสร้างวัดบุพพาราม (จ.ศ.๘๕๔) เมื่อพระเจ้าติลกปนัดดาธิราช (พระเมืองแก้ว) ได้ทรงสร้างพระอารามขึ้นในพระราชอุทยาน ได้ใช้น้ำในบ่อนี้เป็นน้ำศักดิ์สิทธิ์สรงพระบรมสารีริกธาตุ ปัจจุบันทางราชการใช้น้ำในบ่อนี้ เป็นน้ำศักดิ์สิทธิ์บ่อหนี่ง ในจำนวนบ่อน้ำศักดิ์สิทธิ์ทั่วราชอาณาจักร เพื่อใช้ในพิธีสำคัญ ๆ เช่น ในพระราชพิธีพุทธาภิเษกพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชในวาระครบ ๕ รอบ เมื่อวันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๐ หรือเมื่อครั่งเจ้าอินทวโรรส เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ราชวงศ์มังรายได้อาราธนาพระบรมธาตุเจ้าศรีจอมทองมายังวัดบุพพารามเพื่อให้ประชาชนได้สรงน้ำทำการสักการะในวันเพ็ญเดือน ๔ ใต้ เดือน ๖ เหนือ และในปัจจุบัน ประเพณีการสรงน้ำพระบรมธาตุวัดบุพพารามยังดำเนินอยู่เป็นประจำทุกปี
    ๖. หอมณเฑียรธรรม เป็นมณฑปปราสาทจัตุรมุขทรงล้านนา ๒ ชั้น สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๓ สำเร็จสมบูรณ์ในปี พ.ศ.๒๕๓๘ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ทรงพระราชทานนามว่า “ พระพุทธบุพพาภิมงคล ภปร. ” และพระพุทธนเรศร์สักชัยไพรีพินาศ แกะด้วยไม้สักทั้งองค์ สำหรับชั้นล่างจัดเป็นห้องสมุดศูนย์วัฒนธรรมท้องถิ่นล้านนาเพื่อรวบรวมวัตถุโบราณของพื้นเมืองต่าง ๆ
    ๗. วิหารพระเจ้าทันใจ ไม่ปรากฏวันเดือนปีที่สร้างอย่างแน่ชัด แต่จากการสอบถามผู้สูงอายุได้ความว่าพ่อน้อยสุข สุขเกษม พร้อมด้วยลูกหลานเป็นศรัทธาถวายพร้อมพระเจ้าทันใจ โดยใช้เวลาสร้างเพียงวันเดียวและทำการฉลองสมโภชพร้อมทั้งเจริญพระพุทธมนต์ อายุการก่อสร้างประมาณ ๑๔๐-๑๕๐ ปี นับว่าเป็นของเก่าแก่คู่กับวัดอีกอย่างหนึ่งภายในวิหารพระเจ้าทันใจ เป็นที่ประดิษฐานพระเจ้าทันใจและพระประจำวันเกิด
    ๘. วิหารครูบาศรีวิชัย ภายในประดิษฐานรูปปั้นของครูบาศรีวิชัย นักบุญแห่งล้านนา
    กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนให้วัดบุพพารามเป็นโบราณสถานตั้งแต่วันที่ ๒๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๒๒

    ตอบลบ
  5. ขอบคุณ ข้อมูลจาก http://www.dannipparn.com/forum-viewthread-action-printable-tid-163.html

    โดย: pimnuttapa เวลา: 2009-3-13 05:21

    แก้ไขล่าสุด pimnuttapa เมื่อ 2009-4-19 04:12

    DSC08711.jpg

    ประวัติวิหารหลังใหญ่ วัดบุพพาราม

    พระเจ้าชังรายัตตราช (พระเจ้ายอดเชียงราย) หลังจากเสวยราชสมบัติได้ ๙ ปี ถึงปีเถาะจึงได้สละราชสมบัติให้ราชกุมาร ซึ่งเป็นพระโอรสของพระองค์ ครั้นมอบให้แล้ว จึงได้ดำรงพระชนมายุอีก ๑๓ ปี พระองค์ก็เสด็จสวรรคตในปีขาล สิริรวมพระชนมายุได้ ๕๑ พรรษา พระราชาผู้เป็นราชโอรสของพระเจ้าชังยัตตราช ประสูติปีขาลคือ "พระเจ้าดิลกปนัดดาธิราช" (พระเมืองแก้ว) เมื่อพระองค์ทรงมีพระชนมายุ ๑๔ พรรษา ได้รับการสถาปนาราชาภิเษก เมื่อวันเพ็ญเดือน ๔ จุลศักราช ๘๕๔ นับตั้งแต่พระองค์มีความเลื่อมใสในบวรพุทธศาสนามาก ทั้งประกอบด้วยปสาทะศรัทธาอย่างดีเยี่ยม และประกอบด้วยเจตนาศรัทธาเป็นเครื่องบริจาคทานวัตถุ เป็นเหตุให้เกิดปัจจัยในอันที่จะบริจาคทานโดยไม่มีขีดขั้น

    นับตั้งแต่พระองค์ทรงได้รับราชาภิเษกมา ๑ ปี คือ ปีมะโรง เดือน ๕ แรม ๗ ค่ำวันอังคาร จุลศักราช ๘๕๕ พ.ศ. ๒๐๓๖ พระเจ้าดิลกปนัดดาธิราช พระองค์ทรงรับสั่งให้สร้างพระอารามไว้ ณ ที่พระราชอุทยาน ซึ่งเป็นที่ประทับของพระเจ้าติโลกราช ผู้เป็นพระเจ้าปู่ และเป็นที่ประทับของพระราชบิดาของพระองค์ด้วย พระองค์จึงให้ขนานนามของวัดว่า "บุพพาราม" ทั้งนี้เพราะถือเอานิมิตว่าด้วยตั้งอยู่ทางทิศบูรพาแห่งนั้นพิสิราชธานี (นครพิงค์เชียงใหม่) ต่อมา เมื่อพระองค์ทรงสร้างวัดบุพพารามแล้วได้ ๓ ปี คือปีมะเมีย พระองค์ทรงสร้างปราสาทไว้ ณ ท่ามกลางมหาวิหารอีก ๑ หลัง เพื่อประดิษฐานพระมหาพุทธปฏิมากร หล่อด้วยทองแดงล้วน มีสนธิ ๘ แห่ง นำหนัก ๑ โกฎิ (ปัจจุบันประดิษฐานอยู่ในวิหารหลังใหญ่) ค่ะ


    ประวัติวิหารหลังใหญ่ วัดบุพพาราม (ต่อ)

    วิหารหลังนี้มีประวัติจารึกไว้ได้ความว่า เจ้าชีวิตอ้าวหรือพระเจ้ากาวิโลรสสุริยวงษ์ เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๓๙๙-๒๔๑๓) ให้รื้อ "หอเย็น" ในคุ้มหลวงตา เอาเสามาทำเสาวิหารหลังใหญ่แห่งนี้ ต่อมาบูรณะสมัยครูบาหลาน (อินต๊ะ) และสมัยพระครูอุดมกิตติมงคล เป็นเจ้าอาวาส ภายในมีพระมหาพุทธรูปปฏิมากร (พระประธานองค์ใหญ่) หล่อด้วยทองแดงหนัก ๑ โกฏิ สนธิ ๘ แห่ง (ต่อ ๘ แห่ง) ค่ะ

    ตอบลบ
  6. ดย: pimnuttapa เวลา: 2009-3-13 05:24

    แก้ไขล่าสุด pimnuttapa เมื่อ 2009-4-19 08:01

    DSC00197.jpg

    ประวัติวิหารหลังเล็กเรือนไม้ วัดบุพพาราม ค้นศักราชการก่อสร้างไม่พบเพราะมีอายุมากไม่ต่ำกว่า ๓๐๐ ปี บูรณะหลายครั้ง เช่น เจ้าแม่ทิพย์ผสม ณ เชียงใหม่ บูรณะจากของเดิมเมื่อพ.ศ. ๒๔๔๕ เดิมมี ๓ มุข มุขหน้าหันไปทางทิศเหนือ มุขหลังหันหน้าไปทางทิศใต้ มุขข้างหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ภายในมีพระประธาน ๒ องค์ องค์หนึ่งหันไปทางทิศเหนือก่อด้วยอิฐและปูน หน้าตักกว้าง ๗ ศอก สูง ๙ ศอก อีกองค์หนึ่งหันหน้าไปทางทิศใต้ เป็นพระพุทธรูปทองเหลือง ต่อมาสมัยครูบาหลาน (อินต๊ะ) ครูบาเทิ้ม ตัดมุขด้านหลังออก อาราธนาพระพุทธรูปทองเหลือง ไปไว้บนวิหารหลังใหญ่ หน้าบรรณและบานประตู เป็นปูนปั้นสตายท์จิ๋งค่ะ

    สมัยครูอุดมกิตติมงคลบูรณะได้ปั้น "มอม" 2 ตัว ไว้ที่บันได (มอมเป็นสัตว์คู่บารมีพระสมณโคดม ซึ่งขอพรจากพระพุทธเจ้าให้เอารูปติดไว้ในถาวรวัตถุของพุทธศาสนา เพื่อชาติต่อไปจะได้เป็นมนุษย์ได้บวชในพระพุทธศาสนา) ค่ะ

    ตอบลบ
  7. โดย: pimnuttapa เวลา: 2009-3-13 05:26

    แก้ไขครั้งสุดท้าย: 2010-12-22 03:50 โดย pimnuttapa


    DSC00198.jpg

    พระพุทธไชยลาภประสิทธิโชค (พระประธาน) ประดิษฐานภายใน วิหารหลังเล็ก วัดบุพพาราม ค่ะ

    ตอบลบ
  8. โดย: pimnuttapa เวลา: 2009-3-13 05:31

    แก้ไขล่าสุด pimnuttapa เมื่อ 2009-4-19 08:19

    DSC08692.jpg

    ประวัติหอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม

    ต่อมาอีก ๔ ปี ในปีระกา พระเจ้าดิลกปนัดดาธิราชรับสั่งให้สร้างหอมณเฑียรธรรมอีก ๑ หลัง สำหรับประดิษฐานพระไตรปิฎกฉบับลงทองของล้านนาไทย ศิลปหัตถกรรมล้านนา ประดับตกแต่งอย่างประณีตสวยงามเหมือนเวชยนต์ปราสาท และในพ.ศ. ๒๕๑๙ ทางวัดได้สร้างพระพุทธบุพพาภิมงคล ภปร.และพระพุทธรูปไม้สัก ต้องหาที่ประดิษฐาน ในพ.ศ. ๒๕๒๓ จึงวางศิลาฤกษ์ ออกแบบและคุมการสร้างโดยพระครูอุดมกิตติมงคล เจ้าอาวาส แล้วเสร็จในพ.ศ. ๒๕๓๘


    ประวัติหอมณเฑียรธรรม วัดบุพพาราม (ต่อ)

    ต่อมา ในปีพ.ศ. ๒๕๓๙ จ.ศ. ๑๓๕๘ นี้ได้ชำรุดหักพังลง พระเทพวิสุทธิคุณเห็นว่า เพื่อฟื้นฟูประวัติศาสตร์วัดบุพพารามเอาไว้เป็นอนุสรณ์ถวายพระราชกุศลแด่พระเจ้าดิลกปนัดดาธิราช กับเป็นการสร้างถวายพระราชกุศลในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช รัชกาลที่ ๙ แห่งราชวงศ์จักรี ทรงครองราชย์สิริราชสมบัติครบ ๘๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ และเพื่อเป็นการเฉลิมฉลองนครเชียงใหม่ มีอายุครบ ๗๐๐ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ จึงได้สร้างหอมณเฑียรธรรมขึ้นอย่างสวยงามค่ะ

    ตอบลบ
  9. โดย: pimnuttapa เวลา: 2009-3-13 05:40

    แก้ไขครั้งสุดท้าย: 2010-12-22 03:54 โดย pimnuttapa


    DSC08675.jpg

    ประวัติพระพุทธบุพพาภิมงคล ภ.ป.ร

    ในพ.ศ. ๒๕๑๙ พระเทพวิสุทธิคุณ (เมื่อครั้งเป็นพระครูมงคลศีลวงศ์) ร่วมกับนายชลอ ธรรมศิริ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ขณะนั้นพร้อมด้วยศรัทธาประชาชนได้ประชุมหารือถึงการสร้างพระพุทธรูปถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งเมืองเหนือเรียกว่า พระค่าคิง คือสร้างขนาดหน้าตักกว้างเท่าพระชนมายุ เนื่องในปีนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมายุ ๔๙ พรรษา เมื่อได้นำขึ้นกราบทูลฯ พระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเททองหล่อและพระราชทานนามว่า “พระพุทธบุพพาภิมงคล ภ.ป.ร.” ปัจจุบันประดิษฐานบนหอมณเฑียรธรรมให้ประชาชนสักการบูชาค่ะ

    ตอบลบ
  10. โดย: pimnuttapa เวลา: 2009-3-13 05:48

    แก้ไขครั้งสุดท้าย: 2010-12-22 03:56 โดย pimnuttapa


    DSC08682.jpg

    ประวัติพระพุทธนเรศร์ลักชัยไพรีนินาศ

    ประวัติศาสตร์ชาติไทยจากหนังสือจดหมายเหตุ แห่งพระนครศรีอยุธยา แต่งโดย ศ.ดร.ประเสริฐ์ ณ นคร กล่าวไว้ว่า พระเจ้าเชียงใหม่ (พระเมกุฏิหรือพระแม่กุ) ราชวงศ์มังรายองค์ที่ ๑๕ ได้มีพระราชสาส์นไปยังสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เพื่อขอพระองค์ช่วยยกทัพมาปราบพม่าผู้รุกรานเมืองเหนือ พระองค์ได้สร้างพระพุทธรูปด้วยไม้สัก ๑ องค์ ไม่รู้ว่าอยู่ที่ไหน

    กาลต่อมา ๒๐๐ กว่าปี ถือเป็นบุญญาธิการของเมืองเชียงใหม่ เจ้าน้อยมังกรได้อาราธนาพระพุทธรูปไม้สักมาจากเมืองต๋วนในเขตไทยใหญ่ ๑ องค์ ขนาดหน้าตักกว้างวาเศษ ชาวเมืองต๋วนระบุว่า เป็นพระพุทธรูปของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงสร้างเมื่อครั้งยกทัพขับไล่พม่าออกจากประเทศไทย และชาวบ้านต้องซ่อนพระพุทธรูปไว้ เกรงพม่าจะนำไปเผา เพราะก่อนหน้านั้นเผาไปแล้ว ๒ องค์ เจ้าน้อยมังกรได้ใช้เกวียนบรรทุกเข้ามาเชียงใหม่เมื่อพ.ศ. ๒๕๑๕ ต่อมานำไปถวายพระศรีนวล วัดเชตุพน ต.วัดพระเกต อ.เมือง จ.เชียงใหม่ (ปัจจุบันเป็นพระครูสังฆวิจารณ์ เจ้าอาวาสวัดเพลง นนทบุรี) ถึงพ.ศ. ๒๕๑๗ พระศรีนวลก็ถวายแก่พระมหาจำรัส ธัมมวาที วัดบุพพาราม โดยได้กราบเรียนว่า “ท่านอาจารย์อยากได้พระพุทธรูปไม้สักไหม” องค์ใหญ่ที่สุดและสวยที่สุดในโลก

    ประวัติพระพุทธนเรศร์ลักชัยไพรีนินาศ (ต่อ)

    เมื่อท่านเจ้าคุณพระเทพวิสุทธิคุณทราบ จึงได้สอบถามความเป็นมาและขอตั้งจิตอธิษฐานถวายเป็นกุศลแด่พระวิญญาณของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชก่อน แล้วจึงขอนิมิตจะดีหรือไม่ดี เพราะไม่รู้ไม่เห็น ต่อมาจึงนิมิตว่า มีญาติโยมสร้างกุฏิไม้สักถวาย ๑ หลังใหญ่มาก ๒ ชั้น แล้วนิมนต์พระคุณท่านใช้รับแขกชั้นล่าง และจำวัดชั้นบน ท่านเจ้าคุณฯ ก็บอกไปว่า “ดีเหมือนกัน” แล้วสะดุ้งตื่นมา นึกว่าเป็นบุพนิมิตที่เป็นมงคลอันดีงาม จึงได้กระทำพิธีอัญเชิญพระพุทธรูปไม้สักมาประดิษฐาน ณ วัดบุพพาราม ต่อมา ๒๕๒๐ เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร (ขณะนั้นยังไม่ได้ทรงยศเป็นสมเด็จพระสังฆราช) ได้เมตตามาเยี่ยมวัด เมื่อทราบประวัติเรื่องราวของพระพุทธรูป และเจ้าอาวาสได้ขอให้เจ้าพระคุณสมเด็จฯ ตั้งชื่อให้ พระองค์ตั้งชื่อเป็นมงคลว่า “พระพุทธนเรศร์ สักชัยไพรีนาศ” ค่ะ

    ตอบลบ
  11. โดย: pimnuttapa เวลา: 2009-3-13 05:58

    แก้ไขล่าสุด pimnuttapa เมื่อ 2009-4-19 11:44

    DSC00222.jpg

    วิหารครูบาเจ้าศรีวิชัย วัดบุพพาราม อยู่ด้านหลัง หอมณเฑียรธรรมค่ะ

    ประวัติวิหารครูบาเจ้าศรีวิชัย วัดบุพพาราม ท่านเจ้าคุณพระเทพวิสุทธิคุณ ได้จัดสร้างขึ้นเพื่อให้ศรัทธาประชาชนได้สักการบูชา เนื่องจากครูบาเจ้าศรีวิชัยเป็นพระนักบุญ–นักพัฒนาแห่งล้านนาไทย เป็นที่เคารพสักการะของประชาชนทั่วไปเป็นอย่างยิ่ง

    ตอบลบ
  12. โดย: pimnuttapa เวลา: 2009-3-13 06:06

    แก้ไขล่าสุด pimnuttapa เมื่อ 2009-4-19 11:59

    DSC00227.jpg

    บ่อน้ำทิพย์ วัดบุพพาราม ค่ะ

    ประวัติบ่อน้ำทิพย์ วัดบุพพาราม

    บริเวณที่ตั้งวัด นอกจากเดิมเคยเป็นคุ้มสมัยพระเจ้าติโลกราชแล้ว วัดนี้ยังเคยเป็นที่อยู่ของพระสังฆราช สมัยพระสังฆราชราชปุสระเทวะ และมีความสำคัญในระบบความเชื่อ พระเจ้ากาวิละนำพลจากเวียงป่าซางเป็นเวลา ๕ วัน ถึงเชียงใหม่เมื่อเช้าวันอาทิตย์ที่ ๙ มีนาคม ๒๓๓๙ ก็ได้พักแห่งแรกที่วัดบุพพาราม จากนั้นจึงนำขบวนไปทางใต้ ทางทิศตะวันตกและทางเหนือของเมือง ไหว้พระที่วัดเชียงยืน แล้วจึงเข้าเมืองทางประตูหัวเวียงตามประเพณีโบราณ และจัดให้ "ลวะจูงหมาพาแชกนำเข้าเมือง" เหมือนครั้งพระยามังรายเข้าเมือง

    ต่อมาในสมัยพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ ๗ (พ.ศ. ๒๔๑๓-๒๔๔๐) และสมัยเจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ เจ้าหลวงเชียงใหม่องค์ที่ ๘ (พ.ศ. ๒๔๔๔- ๒๔๕๒) ได้อัญเชิญพระบรมธาตุศรีจอมทองเข้าเมืองเชียงใหม่มาประดิษฐานที่วัดบุพพาราม ให้ประชาชนสรงน้ำเป็นประจำในเดือน ๔ ใต้เดือน ๖ เหนือ น้ำบ่อในวัดจึงเรียกว่า บ่อน้ำทิพย์

    บ่อน้ำนี้ขุดสร้างขึ้นก่อนสร้างวัด เป็นบ่อน้ำที่อยู่ในพระราชอุทยานของพระเจ้าติโลกราช (กลางอุทยานพระเจ้าติโลกราช) เมื่อพระเจ้าเมืองแก้วทรงสร้างวัดบุพพาราม พระพุทธรูปปฏิมากรและพระเจดีย์ขึ้น จึงได้ใช้น้ำอันบริสุทธิ์สะอาดและเยือกเย็นแจ่มใสมาสรงองค์พระบรมสารีริกธาตุเจ้า และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ อันเป็นที่เคารพสักการะยิ่ง แล้วจึงได้สงวนบ่อน้ำนี้ไว้เป็นน้ำสำหรับสรงน้ำพระ ถือเป็นบ่อน้ำทิพย์ศักดิ์สิทธิ์ ห้ามสตรีเข้าไปกล้ำกรายภายในค่ะ

    ตอบลบ
  13. โดย: pimnuttapa เวลา: 2009-3-13 06:09

    แก้ไขครั้งสุดท้าย: 2010-12-22 04:02 โดย pimnuttapa


    DSC08708.jpg

    ประวัติพระบรมธาตุเจดีย์ วัดบุพพาราม

    ต่อจากที่พระเจ้าดิลกปนัดดาธิราชทรงสร้างพระมหาพุทธรูปแล้ว พระองค์ทรงสร้างเจดีย์อีก ๑ องค์ ณ วัดบุพพาราม ในจุลศักราช ๘๗๒ ปีมะแม กว้างประมาณ ๑๒ ศอก สูงประมาณ ๓๐ ศอก ปิดด้วยทองเหลืองทั้งองค์ รูปแบบทรงล้านนาไทย บรรจุพระเกศาธาตุ ลำดับนั้น เหล่าพระสงฆ์และคณะศรัทธาชายหญิงทั้งหลาย ก็ได้เปลื้องอาภรณ์เครื่องประดับออกมาบูชาปรารถนาเป็นบุญกุศล เพื่อถวายไว้ ณ พระพุทธศาสนาสืบไป

    ได้เริ่มก่อสร้างพระบรมธาตุเจดีย์ เมื่อเดือน ๓ สำเร็จเดือน ๖ ขณะทำการก่อสร้างได้ปรากฏความอัศจรรย์เป็นอเนกประการ ต่อมาพระราชาจึงได้ถือเป็นจารีตประเพณีสรงน้ำพระธาตุ ในเดือน ๖ เหนือ เดือน ๔ ได้สืบกันมาเป็นเวลาช้านาน จนถึงทุกวันนี้ก็ยังไม่ทิ้งประเพณีอันดีงามนี้ค่ะ

    ตอบลบ
  14. โดย: pimnuttapa เวลา: 2009-3-13 06:11

    แก้ไขครั้งสุดท้าย: 2010-12-22 04:03 โดย pimnuttapa


    DSC08703.jpg

    การบูรณะพระบรมธาตุเจดีย์ วัดบุพพาราม

    คุณหลวงโยธการวิจิตร (พยาตกา) อุปโยคิน ได้เสียสละทรัพย์ส่วนตัว เสริมองค์พระเจดีย์ทั้งองค์ โดยเปลี่ยนรูปทรงใหม่เป็นศิลปกรรมผสมพื้นเมือง พม่า มอญ จากของเดิมเป็นศิลปกรรมไทยล้านนา ฐานกว้างประมาณ ๑๒ ศอก สูงประมาณ ๓๐ ศอก ที่นี้คุณหลวงโยธการวิจิตร มาบูรณะขยายฐานกว้าง ๓๘ ศอก สูง ๔๕ ศอก มีฉัตรเล็กๆ อยู่ ๘ ฉัตร มีต้นดอกไม้เงิน ดอกไม้ทอง อย่างละ ๔ ต้น และมีฉัตรใหญ่อันเป็นยอดสูงสุด ๑ ฉัตร เป็นศิลปกรรมพม่าผสมมอญ บูรณะเมื่อปีจอ จ.ศ. ๑๒๖๐ พ.ศ. ๒๔๔๑ สำเร็จในปีนั้นเอง และได้ทำบุญยกฉัตรวันที่ ๙ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๔๑ ตรงกับเดือน ๕ เหนือ แรม ๑๕ ค่ำ

    ต่อมาในปีพ.ศ. ๒๔๙๙ พระอุดมกิติมงคล เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน ได้ย้ายมาจากวัดเชตวัน โดยการอาราธนาจากญาติโยมศรัทธามาอยู่แล้ว ต่างคนต่างอยากบูรณะพระเจดีย์ที่ทรุดโทรมมากอีก คณะศรัทธามีปัจจัยเพียง ๑๐๐๐ กว่าบาทเท่านั้น โดยเริ่มลงมือบูรณะเมื่อวันพฤหัสบดี แรม ๙ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีฉลู จ.ศ. ๑๓๒๓ ตรงกับวันที่ ๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๔ บุรพอาษาฒฤกษ์เมื่อเวลา ๑๐.๓๐ - ๑๑.๐๐ น. ให้ช่างลงมือจัดตั้งนั่งร้าน โดยรอบพระเจดีย์ประมาณ ๒๙๐ เล่ม จากฐานชั้น ๓ ขึ้นไปถึงยอดฉัตร ก่อนจะทำการบูรณะได้อาราธนาพระสงฆ์ ๔ รูป มารับเครื่องไทยทาน เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่บรรพบุรุษผู้ทำการก่อสร้าง อุทิศให้เป็นปัตติทานมัยกุศลในครั้งนี้โดยทั่วกัน การบูรณะได้สำเร็จลงเมื่อวันที่ ๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๕ ตรงกับเดือน ๕ ขึ้น ๑๐ ค่ำ วันพฤหัสบดี เวลา ๙.๓๐ น. แห่งภรณีฤกษ์ ได้อาราธนาพระสงฆ์เถรานุเถระ จำนวน ๙ รูป มาเจริญพระพุทธมนต์ ยกฉัตรเจดีย์ขึ้นสู่ยอด แล้วถวายไทยทานและภัตตาหารเพล มีญาติโยมมาร่วมอนุโมทนาเป็นจำนวนมาก รวมเวลาทำการบูรณะ ๔ เดือน กับ ๖ วัน จึงสำเร็จรวมสิ้นทุนทรัพย์ในการบูรณะ ๒๖,๙๗๘ บาท ค่ะ

    ตอบลบ
  15. โดย: pimnuttapa เวลา: 2009-3-13 06:15

    แก้ไขครั้งสุดท้าย: 2010-12-22 04:04 โดย pimnuttapa


    DSC08694.jpg

    เดี๋ยวเรามากราบนมัสการพระบรมธาตุ วัดบุพพาราม พร้อมกันเลยนะคะ

    (กล่าวนะโม ๓ จบ) วันทามิ เจติยัง สัพพัง สัพพัฏฐาเนสุ ปะติฏฐิตา สะรีระธาตุโย เกศาธาตุโย อะระหันตา ธาตุโย เจติยัง คันทะกุฏิง จะตุละสี ติสสะหิสเส ธัมมักขันเธ สัพเพสัง ปาทะเจติยัง อะหังวันทามิ ธาตุโย วันทามิทุระโส อะหังวันทามิ สัพพะทา อะหัง วันทามิ สิระสา ฯ

    ข้าพเจ้าขอถึงซึ่งพระพุทธ พระธรรม และพระอริยสงฆ์เป็นที่พึ่ง ข้าพเจ้าขอกราบนอบน้อมบูชาพระคุณขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ทรงเสียสละสั่งสมบารมีนับชาติมิถ้วน ตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ประกาศธรรมนำเวไนยสัตว์ออกจากสังสารวัฏ พร้อมกราบพระธรรม และพระอริยสงฆ์ ขอตั้งสัจจะอธิษฐานด้วยอานิสงส์ผลแห่งบุญนี้ จงเป็นปัจจัยให้ได้ถึงซึ่งพระนิพพานแม้ต้องเกิดในทิพย์จุติใดๆ ขอเกิดภายใต้ร่มเงาพระพุทธศาสนา ได้พบสัตบุรุษผู้รู้ธรรมอันประเสริฐมีกรรมสัมพันธ์ที่ดี ได้เกิดท่ามกลางกัลยาณมิตร ห่างไกลจากพาล มีโอกาสฟังธรรมประพฤติธรรม จนเป็นปัจจัยให้เจริญด้วยสติและปัญญาญาณ ตามส่งชาตินี้และชาติต่อๆไป จนถึงพระนิพพานในกาลอันควรเทอญ กรรมใดๆที่ล่วงเกินต่อพระพุทธ พระธรรม พระอริยสงฆ์ และสรรพสัตว์ทั้งหลายในอดีตชาติก็ตามปัจจุบันชาติก็ตาม กราบขออโหสิกรรมทั้งหมดทั้งสิ้น ขออุทิศกุศลผลบุญให้แต่ท่านผู้มีพระคุณ ญาติพี่น้อง เจ้ากรรมนายเวร ตลอดจนท่านที่ขวนขวายในกิจที่ชอบในการดำรงรักษาไว้ซึ่งประเทศชาติ พระพุทธศาสนา และองค์พระมหากษัตริย์ทั้งที่เป็นมนุษย์และอมนุษย์ ขอให้ท่านทั้งหลายดังกล่าวนามมานั้นจงมีแต่ความสุขฯ ทั่วกันทุกท่านเทอญ

    ตอบลบ
  16. โดย: pimnuttapa เวลา: 2009-3-13 06:19

    แก้ไขล่าสุด pimnuttapa เมื่อ 2009-4-19 12:42

    DSC00236.jpg

    วิหารพระเจ้าทันใจ วัดบุพพาราม ค่ะ

    ประวัติวิหารพระเจ้าทันใจ วัดบุพพาราม ไม่ปรากฏวันเดือนปีที่สร้างอย่างแน่ชัด แต่จากการสอบถามผู้สูงอายุได้ความว่า พ่อน้อยสุข สุขเกษม พร้อมด้วยลูกหลานเป็นศรัทธาถวายพร้อมพระเจ้าทันใจ โดยใช้เวลาสร้างเพียงวันเดียว และทำการฉลองสมโภชพร้อมทั้งเจริญพระพุทธมนต์ อายุการก่อสร้างประมาณ ๑๔๐ - ๑๕๐ ปี

    ตอบลบ
  17. วัดบุพพาราม/ Watbupparam
    27 มีนาคม 2014 ·
    พระอุโบสถวัดบุพพาราม
    พระอุโบสถ ตามที่สอบถามผู้เฒ่าผู้แก่ได้ความว่าเมื่อประมาณ ๑๐๐ ปีที่ผ่านมา คฤหปตานี “คุณแม่วันดี สุริยา” เป็นผู้ปฏิสังขรณ์ โดยทำซุ้มโขงให้เป็นศิลปะล้านนาผสมมอญ อนึ่ง พระอุโบสถหลังนี้มีขนาดเล็กและไม่มีใบเสมาเป็นเครื่องหมายเหมือนอุโบสถที่ สร้างขึ้นในปัจจุบันแต่จะใช้ก้อนหินหรือเสาหินทรายแดงเป็นนิมิตในการผูก ลูกนิมิตเพื่อแสดงเขตของพัทธสีมาซึ่งมีความกว้าง ๕ เมตร และยาว ๒๐ เมตร ภายในพระอุโบสถเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปสิงห์หนึ่งศิลปะเชียงแสนซึ่งเป็นพระประธานและพระพุทธรูปปูนปั้นก่อด้วยอิฐศิลปะมอญ อีก ๒ องค์ ซึ่งเป็นของโบราณ
    ///พระมหาจิรศักดิ์

    ตอบลบ