วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/991/thailand/ayutthaya/wat-yai-chai-mongkhon
Wat Yai Chai Mongkhon (วัดใหญ่ชัยมงคล) (possibly late 14th century onward)
Wat Yai Chai Mongkhon, the "Monastery of the Auspicious Victory", is located to the southeast of Ayutthaya and is one of the first of the city's temples that can be seen as one travels north from Bangkok. According to legend, the temple was founded by none other than King Rama Thibodi I (r. 1350-69), otherwise known as U Thong--the pseudo-mythical founder of Ayutthaya. According to the Royal Chronicles of Ayutthaya, the King ordered the exhumation of two cholera victims who were princes known as 'Chao Keo' and 'Chao Thai'. After cremating their remains, the king established a temple here named Wat Pa Keo (the Monastery of the Crystal Forest) and had a chedi and viharn constructed in their honor.
A group of monks trained in Sri Lankan meditation were given control of the monastery. In time, the leader of the monks was referred to as the "Somedet Phra Wannarat", the Supreme Patriarch of the Right. In deference to his title, the temple was often called Wat Chao Thai, the "Monastery of the Supreme Sangha Leader".
The temple is mentioned several more times in the Royal Chronicles of Ayutthaya. A notable incident occurred in 1548 when a group of four conspirators plotted to bring down the regime of the usurper King Worawongsathirat, who came to power after the execution of the thirteen year old heir-apparent, King Yotfa. They met in the ubosot of the temple to perform a divination ritual using beeswax candles, with the belief that the candle which burned the longest would indicate divine favor for the appropriate ruler. Candles of equal length, representing King Worawongsathirat and one of the conspirators, Prince Thianracha, were set along the altar. However, one of the conspirators named Khun Phirenthorathep, who arrived late, noticed that that Worawongsathirat's candle appeared longer. He went to warn the prince, yelling "Do not do it! I am opposed", and then "spat out the remains of a quid of unripe betel". Although the prince was not aiming for any particular target, the liquid landed on the wick of Warawongsathirat's candle, immediately extinguishing it. At that moment a monk entered the temple and blessed the conspirators, noting that each would attain their hearts' desires. Prince Thianracha went on to become king with the regnal name Maha Chakkrapat, or 'Great Emperor'. [Cushman, p. 24].
Another incident involving the monastery occurred during Maha Chakkrapat's lifetime. In 1561 the patriarch of the temple entered into an alliance with Prince Si Sin, enabling him to approach the royal palace with a band of men. Si Sin intended to rescue a certain high official held there named Phraya Si Ratchadecho, who was to be put to death. However, the King's guards were able to apprehend Si Sin within the palace and the rebellion came to naught. Once it was discovered that the patriarch of Wat Pa Keo had played a role in enabling the Prince to enter the palace, the King ordered the Patriarch's execution.
The presence of several notable events involving the temple hint at its importance in this period.
During the reign of King Naresuan (r. 1590-1605) a large chedi was constructed at the temple, or perhaps merely remodeled. It was built to commemorate the King's single-handed victory over the Burmese crown prince in a battle involving elephants. The chedi was named Phra Chedi Chaya Mongkhon, probably leading to the present name of the temple and its association with "Auspicious Victory".
Perhaps the final Ayutthaya-period incident recorded at the monastery is an unsuccessful defense of the city against the advancing Burmese in 1766. King Suriyas Amarin (Ekathat) appointed the Phraya of Tak (who later became King Taksin) the commander of a naval force based at this monastery and instructed him to attack the Burmese. However, the defense of the temple (and the city) ultimately failed, leading to the end of the Ayutthaya kingdom and the sack of the city in 1767.
Plan View
Drawn by Timothy M Ciccone following Fine Arts Department, and notes/photographs taken on site.
Temple Architecture
The general layout of the wat is consistent with other large temples of the Ayutthaya period, comprising a chedi at the center flanked by an ubosot (ordination hall) to the east and a viharn (assembly hall) to the west. Subsidiary chedis, monks' quarters, and smaller viharns surround the principal buildings. However, at 60 meters tall, the chedi is unusually large, and its square base is correspondingly massive with sides measuring 32.4 meters and a height of 15 meters. According to the scholar Clarence Aasen, this temple is one of the few in Ayutthaya that are Burmese in style (the other being Wat Phu Khao Thong), which is perhaps not surprising as they were built or remodeled when the Burmese were in control of the area.
On the east side of the chedi on top of the base are the remains of two large mondops (square pavilions) housing large Buddha images. These buildings were probably originally built with curved pyramidal roofs in the manner of those at Wat Phra Si Sanphet, which also no longer survive intact.
In the northeast of the temple is the ruins of a viharn oriented north-south that contains a large statue of the Reclining Buddha which was constructed during the reign of King Naresuan. Although recently refurbished, it is unusual in that the Buddha's eyes are rendered wide open.
Location
The approximate location of the site is 14.345518' N, 100.592384' E (WGS 84 map datum).
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
02.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
03.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
04.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
05.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
06.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
07.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
08.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
09.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
10.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
11.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
12.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
13.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
14.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
15.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
16.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
17.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
18.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
19.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
20.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
21.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
22.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
23.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
24.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
25.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
26.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
27.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
28.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
29.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
30.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
31.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
32.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
33.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
34.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
35.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
36.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
37.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
38.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
39.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
40.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
41.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
42.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
43.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
44.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
45.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
46.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
47.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดใหญ่ชัยมงคล ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.Wat Yai Chai Mongkhon, Ayutthaya, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/991/thailand/ayutthaya/wat-yai-chai-mongkhon
---------------------------------------------------------------------------
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://th.wikipedia.org/wiki/วัดใหญ่ชัยมงคล.
--------------------------------------------------------------
ขอบคุณ ข้อมูลและภาพ จาก https://watboran.wordpress.com/category/วัดใหญ่ชัยมงคล
-พระพุทธรูป ด้านหลังเจดีย์-
-เจดีย์ประธานทรงระฆังตั้งอยู่บนฐานแปดเหลี่ยม-
-พระพุทธไสยาสน์-
-แถวพระพุทธรูป ที่ประดิษฐานเรียงรายอยู่ในระเบียงคด-
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://th.wikipedia.org/wiki/วัดใหญ่ชัยมงคล.
วัดใหญ่ชัยมงคล
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากเอกสารอ้างอิงหรือแหล่งข้อมูล โปรดช่วยพัฒนาบทความนี้โดยเพิ่มแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือ เนื้อหาที่ไม่มีการอ้างอิงอาจถูกคัดค้านหรือนำออก |
วัดใหญ่ชัยมงคล | |
---|---|
เจดีย์วัดใหญ่ชัยมงคล
| |
ข้อมูลทั่วไป | |
ชื่อ | วัดใหญ่ชัยมงคล |
ที่ตั้ง | 40/3 หมู่ที่ 3 ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา13000 |
พระประธาน | พระพุทธชัยมงคล |
โบราณสถาน | |
เวลาทำการ | เปิดทุกวัน เวลา 08.00 - 17.00 น. |
จุดสนใจ | พระเจดีย์ชัยมงคล อุโบสถ วิหารพระนอน พระบรมราชานุสาวรีย์พระนเรศวรมหาราช |
กิจกรรม | บวชชีพราหมณ์ทุกวัน จัดอบรมปฏิบัติธรรมทุกเทศกาล |
วัดใหญ่ชัยมงคล เดิมชื่อ "วัดป่าแก้ว" หรือ "วัดเจ้าไท" ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะพระนคร ปัจจุบันเป็นพื้นที่ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จุดเด่นของวัดได้แก่เจดีย์องค์ใหญ่ที่เชื่อกันว่า ได้รับการปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่ภายในได้มีการค้นพบชัยมงคลคาถาบรรจุอยู่ ภายในพระอุโบสถ เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธชัยมงคล พระประธานที่เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของวัด นอกจากนี้แล้ว ภายในวัดยังเป็นที่ประดิษฐานศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่ก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2544 อีกด้วย
เนื้อหา
[ซ่อน]ประวัติ[แก้]
สมัยกรุงศรีอยุธยา[แก้]
สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 1900 เป็นที่พำนักของพระภิกษุคณะป่าแก้ว ซึ่งมี สมเด็จพระวันรัตน์เป็นประธานสงฆ์ จึงได้ชื่อว่า วัดเจ้าพระยาไทยคณะป่าแก้ว
สันนิษฐานว่าเป็นที่กระทำการเสี่ยงเทียน ในคราวก่อนที่พระเฑียรราชาจะทรงปราบดาภิเษก ยึดอำนาจจากขุนวรวงศาธิราชและท้าวศรีสุดาจันทร์
ในรัชกาลของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นที่พำนักของ สมเด็จพระวันรัตน์ ผู้เป็นพระเถระที่สมเด็จพระนเรศวรทรงให้ความเคารพ ในคราวที่ทรงกระทำยุทธหัตถี ชนะพระมหาอุปราชของหงสาวดี สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงพระพิโรธต่อบรรดาแม่ทัพนายกองที่ตามทัพไม่ทัน ทรงดำริจะลงพระราชอาญาประหารชีวิต แต่สมเด็จพระวันรัตน์ได้ทูลขอพระราชทานชีวิตของแม่ทัพนายกองเหล่านั้นไว้ โดยยกเอาพุทธประวัติตอนที่เจ้าชายสิทธัตถะบำเพ็ญเพียรอยู่ใต้ต้นโพธิ์ ก่อนที่จะตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ต้องผจญมารอยู่โดยลำพัง เปรียบเสมือนกับสมเด็จพระนเรศวรที่ต้องทรงกระทำยุทธหัตถีโดยลำพัง และได้ทูลแนะนำให้ทรงสร้างเจดีย์ใหญ่ขึ้นแทนการประหารชีวิต สมเด็จพระนเรศวรทรงเห็นด้วยและทรงให้สร้างพระเจดีย์ใหญ่ขึ้น ชื่อว่า "พระเจดีย์ชัยมงคล" ประมาณ พ.ศ. 2135 มีความสูง 1 เส้น 1 วา เป็นเจดีย์ ที่สูงที่สุดในจังหวัดพระนครศรีอยุธยามาจนทุกวันนี้
วัดป่าแก้ว หรือวัดเจ้าไท ต้องร้างลงเมื่อคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ประมาณ พ.ศ. 2309 อาณาจักรคองบองได้ยกพลมาประชิดพระนครศรีอยุธยา สมเด็จพระที่นั่งสุริยาตรมรินทร์โปรดเกล้า ให้ยกทัพเรือออกจากพระนคร ไปตั้งอยู่ที่วัดป่าแก้ว แต่ทัพเรือสยามเสียทีข้าศึก พระยาเพชรบุรีถูกสังหาร กองทัพอาณาจักรคองบองบางส่วนได้ยึดเอาวัดป่าแก้วเป็นฐานปฏิบัติการ เมื่อกรุงศรีอยุธยาแตกใน พ.ศ. 2310 วัดแห่งนี้จึงได้ร้างลง
ยุคฟื้นฟู[แก้]
หลังจากที่วัดใหญ่ หรือ วัดป่าแก้ว หรือ วัดเจ้าไท ได้ร้างลงกว่า 400 ปี ได้มีพระภิกษุ สามเณร แม่ชี กลุ่มหนึ่ง โดยการนำของพระฉลวย สุธมฺโม ได้เข้ามาหักร้างถางพงที่รกเรื้อปกปิดอารามอันเก่าแก่แห่งนี้เพื่อเป็นที่ปฏิบัติธรรมได้ประมาณ 4 ปี ท่านต้องการออกจาริกอีกครั้งจึงได้ไปนิมนต์พระครูภาวนาพิริยคุณ เจ้าอาวาส วัดยม อำเภอบางบาล ให้มาดูแลวัดใหญ่ชัยมงคลต่อ
พระครูภาวนาพิริยคุณ (เปลื้อง วิสฏฺโฐ) ได้นำคณะพระภิกษุสงฆ์ สามเณร และแม่ชี หักร้างถางพง ฟื้นฟูวัดแห่งนี้จนได้รับการยกฐานะจากวัดร้างเป็นวัดราษฎร์ที่มีพระภิกษุจำพรรษา ในปี พ.ศ. 2500 โดยได้ชื่อว่าวัดใหญ่ชัยมงคล ส่วนพระครูภาวนาพิริยคุณ ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูภาวนารังสี
ยุคปัจจุบัน[แก้]
หลังจากที่พระครูภาวนารังสีได้มรณภาพในปี พ.ศ. 2536 พระปลัดแก่น ปุญฺญสมฺปนฺโน หรือปัจจุบันเป็นพระครูพิสุทธิ์บุญสาร ได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส และได้ร่วมกับคณะพระภิกษุสงฆ์ สามเณร และแม่ชี พัฒนาวัดใหญ่ชัยมงคล จนได้รับการยกย่องให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง วัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น และสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา แห่งที่ ๓
รายนามผู้บริหารวัดใหญ่ชัยมงคล[แก้]
รายนามผู้บริหารวัดใหญ่ชัยมงคล ตั้งแต่ พ.ศ. 2551
- พระครูพิสุทธิ์บุญสาร (แก่น ปุญฺญสมฺปนฺโน) - เจ้าอาวาส
- พระครูสิริชัยมงคล (สำรอง ชยธมฺโม) - ผู้ช่วยเจ้าอาวาส
- พระมหาบรรณ์ ปญฺญาธโร - ผู้ช่วยเจ้าอาวาส
- แม่ชีสมจิต ควรเลี้ยง - หัวหน้าสำนักแม่ชี
- นายปรีชา มีวุฒิสม - ไวยาวัจกร
อ้างอิง[แก้]
- เพิ่มศักดิ์ วรรลยางค์กูล, สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วัดใหญ่ชัยมงคล, อมรินทร์พริ้นติ้งฯ, 2548,ISBN 974-9931-71-8 - นำมาเขียนในหัวข้อประวัติวัดใหญ่ชัยมงคล
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
--------------------------------------------------------------
ขอบคุณ ข้อมูลและภาพ จาก https://watboran.wordpress.com/category/วัดใหญ่ชัยมงคล
วัดใหญ่ชัยมงคล
22012007
วัดใหญ่ชัยมงคลถือว่าเป็นวัดมีความสำคัญทางประวัติศาตร์มากที่สุดและเป็นวัด
ที่นักท่องเที่ยวนิยมมามากที่สุดวัดหนึ่งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จึงเป็นธรรมดาที่จะ
พบเห็นนักท่องเที่ยวจำนวนมากเดินทางมายังวัดแห่งนี้ จุดสนใจของวัดใหญ่ชัยมงคลนี้ คือ
เรื่องราวทางประวัติศาตร์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา รวมไปถึงสถาปัตยกรรมที่โดดเด่น ชมเจดีย์
ที่สูงที่สุดในอยุธยา ด้านหลังวัดมีตำหนักสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ให้ผู้นับถือศรัทธาเข้ามา
กราบไหว้ นอกจากนี้ บริเวณ รอบๆ ยังมีมีสวนหย่อมที่สวยงามให้พักผ่อนอีกด้วย
นักท่องเที่ยวที่ต้องการมาเที่ยวอยุธยาจึงไม่ควรพลาดอย่างยิ่ง
ที่นักท่องเที่ยวนิยมมามากที่สุดวัดหนึ่งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จึงเป็นธรรมดาที่จะ
พบเห็นนักท่องเที่ยวจำนวนมากเดินทางมายังวัดแห่งนี้ จุดสนใจของวัดใหญ่ชัยมงคลนี้ คือ
เรื่องราวทางประวัติศาตร์ในสมัยกรุงศรีอยุธยา รวมไปถึงสถาปัตยกรรมที่โดดเด่น ชมเจดีย์
ที่สูงที่สุดในอยุธยา ด้านหลังวัดมีตำหนักสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ให้ผู้นับถือศรัทธาเข้ามา
กราบไหว้ นอกจากนี้ บริเวณ รอบๆ ยังมีมีสวนหย่อมที่สวยงามให้พักผ่อนอีกด้วย
นักท่องเที่ยวที่ต้องการมาเที่ยวอยุธยาจึงไม่ควรพลาดอย่างยิ่ง
ประวัติ
วัดใหญ่ชัยมงคล เป็นวัดที่เก่าแก่วัดหนึ่ง สร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้น
คือในรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิปดีที่ 1 หรืออีกพระนามหนึ่งคือ สมเด็จพระเจ้าอู่ทอง
พระมหากษัตริย์ผู้สถาปนากรุงศรีอยุธยา ตามตำนานกล่าวว่า เมื่อ พ.ศ.1900
สมเด็จพระเจ้าอู่ทองได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ขุดศพเจ้าแก้ว ซึ่งทิวงคตด้วยอหิวาตกโรค
ขึ้นมาเผา ที่ปลงศพนั้นโปรดให้สถาปนาเป็นพระอาราม นามว่า วัดป่าแก้ว
วัดใหญ่ชัยมงคล เป็นวัดที่เก่าแก่วัดหนึ่ง สร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้น
คือในรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิปดีที่ 1 หรืออีกพระนามหนึ่งคือ สมเด็จพระเจ้าอู่ทอง
พระมหากษัตริย์ผู้สถาปนากรุงศรีอยุธยา ตามตำนานกล่าวว่า เมื่อ พ.ศ.1900
สมเด็จพระเจ้าอู่ทองได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ขุดศพเจ้าแก้ว ซึ่งทิวงคตด้วยอหิวาตกโรค
ขึ้นมาเผา ที่ปลงศพนั้นโปรดให้สถาปนาเป็นพระอาราม นามว่า วัดป่าแก้ว
ต่อมาคณะสงฆ์สำนักวัดป่าแก้วบวชเรียนมา จากสำนักรัตนมหาเถระ ในประเทศศรีลังกา
คณะสงฆ์นี้ได้เป็นที่เคารพเลื่อมใสแก่ชาวกรุงศรีอยุธยาเป็นอันมาก ทำให้ผู้คนต่างมาบวชเรียน
ในสำนักสงฆ์คณะป่าแก้วมากขึ้น สมเด็จพระเจ้าอู่ทอง จึงทรงตั้งอธิบดีสงฆ์นิกายนี้เป็น
สมเด็จพระวันรัตน มีตำแหน่งเป็นพระสังฆราชฝ่ายขวาคู่กับสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ซึ่งมี
ตำแหน่งเป็นสังฆราชฝ่ายคันถธุระ
คณะสงฆ์นี้ได้เป็นที่เคารพเลื่อมใสแก่ชาวกรุงศรีอยุธยาเป็นอันมาก ทำให้ผู้คนต่างมาบวชเรียน
ในสำนักสงฆ์คณะป่าแก้วมากขึ้น สมเด็จพระเจ้าอู่ทอง จึงทรงตั้งอธิบดีสงฆ์นิกายนี้เป็น
สมเด็จพระวันรัตน มีตำแหน่งเป็นพระสังฆราชฝ่ายขวาคู่กับสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ซึ่งมี
ตำแหน่งเป็นสังฆราชฝ่ายคันถธุระ
-พระพุทธรูป ด้านหลังเจดีย์-
เรื่องราวสำคัญในประวัติศาสตร์ของวัดป่าแก้วมีอยู่ว่า อุโบสถของวัดเคยเป็นที่ซึ่งคณะคิดกำจัด
ขุนวรวงศาธิราชกับท้าวศรีสุดาจันทร์มาประชุมเสี่ยงเทียนอธิษฐาน ครั้งนั้นได้รับผลสำเร็จ
จึงอัญเชิญพระเฑียรราชาลาผนวช ขึ้นครองราชสมบัติทรงพระนามว่า สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
ขุนวรวงศาธิราชกับท้าวศรีสุดาจันทร์มาประชุมเสี่ยงเทียนอธิษฐาน ครั้งนั้นได้รับผลสำเร็จ
จึงอัญเชิญพระเฑียรราชาลาผนวช ขึ้นครองราชสมบัติทรงพระนามว่า สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
พ.ศ. ๒๑๐๔ ในรัชกาลของสมเด็จพระมหาจักรพรรดินั้นเอง ได้มีพระบรมราชโองการให้เอา
สังฆราชวัดป่าแก้วไปสำเร็จโทษ ฐานฝักใฝ่ให้ฤกษ์ยามแก่ฝ่ายกบฎพระศรีศิลป์
สังฆราชวัดป่าแก้วไปสำเร็จโทษ ฐานฝักใฝ่ให้ฤกษ์ยามแก่ฝ่ายกบฎพระศรีศิลป์
พ.ศ. ๒๑๓๕ ในแผ่นดินของพระนเรศวรมหาราช มีเหตุการณ์สำคัญที่ชวนให้เข้าใจว่ามีการ
สร้างปฎิสังขรณ์เจดีย์ประธานวัด เพื่อเฉลิมพระเกียรติยศของพระองค์ที่ได้ชัยชนะพระมหาอุปราช
แห่งพม่า จึงทำให้เชื่อว่าเป็นที่มาของชื่อวัดใหญ่ชัยมงคล
สร้างปฎิสังขรณ์เจดีย์ประธานวัด เพื่อเฉลิมพระเกียรติยศของพระองค์ที่ได้ชัยชนะพระมหาอุปราช
แห่งพม่า จึงทำให้เชื่อว่าเป็นที่มาของชื่อวัดใหญ่ชัยมงคล
จุดที่น่าสนใจ
เจดีย์ชัยมงคล
อนุสรณ์แห่งชัยชนะอันยิ่งใหญ ่ที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงรบชนะ มังกะยอชวา
พระมหาอุปราชของหงษาวดี ที่ต.หนองสาหร่าย จ.สุพรรณบุรี
ในครั้งนั้นพม่าได้ยกทัพเข้ามาในขอบขันฑสีมา สมเด็จพระนเรศวรฯ และสมเด็จพระ
เอกาทศรถผู้เป็นพระอนุชาจึงได้นำทัพไปรับศึก และได้ขับช้างเข้าไปอยู่ในวงล้อมของข้าศึก
ทีคอยระดมยิงปืนเข้าใส่พระและพระคชาธาร โดยที่เหล่าแม่ทัพนายกองวิ่งตามพะรองค์มาไม่ทัน
พระองค์จึงประกาศด้วยพระสุรเสียงอันดังว่า พระเจ้าพี่เราจะยืนอยู่ไยในร่มไม้เล่า
เชิญออกมาทำยุทธหัตถีด้วยกัน ให้เป็นเกียรติยศไว้ในแผ่นดินเถิด ภายหน้าไปไม่มีกษัตริย์
ที่จะได้ยุทธหัตถีแล้ว พระอุปราชของพม่าจึงไสยช้างออกมากระยุทธถีด้วยกัน
ในการทำยุทธหัตถีครั้งนั้นสมเด็จพระนเรศวรได้ทรงใช้พระแสงพลผ่ายฟาดฟันพระอุปราช
ขาดตะพายแล่ง
อนุสรณ์แห่งชัยชนะอันยิ่งใหญ ่ที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงรบชนะ มังกะยอชวา
พระมหาอุปราชของหงษาวดี ที่ต.หนองสาหร่าย จ.สุพรรณบุรี
ในครั้งนั้นพม่าได้ยกทัพเข้ามาในขอบขันฑสีมา สมเด็จพระนเรศวรฯ และสมเด็จพระ
เอกาทศรถผู้เป็นพระอนุชาจึงได้นำทัพไปรับศึก และได้ขับช้างเข้าไปอยู่ในวงล้อมของข้าศึก
ทีคอยระดมยิงปืนเข้าใส่พระและพระคชาธาร โดยที่เหล่าแม่ทัพนายกองวิ่งตามพะรองค์มาไม่ทัน
พระองค์จึงประกาศด้วยพระสุรเสียงอันดังว่า พระเจ้าพี่เราจะยืนอยู่ไยในร่มไม้เล่า
เชิญออกมาทำยุทธหัตถีด้วยกัน ให้เป็นเกียรติยศไว้ในแผ่นดินเถิด ภายหน้าไปไม่มีกษัตริย์
ที่จะได้ยุทธหัตถีแล้ว พระอุปราชของพม่าจึงไสยช้างออกมากระยุทธถีด้วยกัน
ในการทำยุทธหัตถีครั้งนั้นสมเด็จพระนเรศวรได้ทรงใช้พระแสงพลผ่ายฟาดฟันพระอุปราช
ขาดตะพายแล่ง
เมื่อกลับมาสู่พระนครแล้ว พระองค์ก็จะลงโทษเหล่าทหารที่ตามพระไปไม่ทันตอนกระทำศึก
ยุทธหัตถี ซึ่งมากฏระะเบียบแล้วต้องโทษถึงขึ้นประหารชีวิต ช่วงเวลาที่รออาญา
สมเด็จพระพันรัตน พระสังฆราชพร้อมด้วยพระสงฆ์ 25 รูปได้ขอให้พระนเรศวรพระราชทานอภัย
ยกเว้นโทษให้กับทหารเหล่านั้น โดยให้เหตุผลว่าพระองค์เปรียบดังพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ที่แวดล้อมด้วยหมู่มารก่อนที่จะตรัสรู้ เป็นการประกาศเกียรติและบารมีความกล้าหาญ
และเก่งกาจของพระองค์ให้ขจรกระจายไปทั่วแคว้นทั่วแผ่นดิน
ยุทธหัตถี ซึ่งมากฏระะเบียบแล้วต้องโทษถึงขึ้นประหารชีวิต ช่วงเวลาที่รออาญา
สมเด็จพระพันรัตน พระสังฆราชพร้อมด้วยพระสงฆ์ 25 รูปได้ขอให้พระนเรศวรพระราชทานอภัย
ยกเว้นโทษให้กับทหารเหล่านั้น โดยให้เหตุผลว่าพระองค์เปรียบดังพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ที่แวดล้อมด้วยหมู่มารก่อนที่จะตรัสรู้ เป็นการประกาศเกียรติและบารมีความกล้าหาญ
และเก่งกาจของพระองค์ให้ขจรกระจายไปทั่วแคว้นทั่วแผ่นดิน
สมเด็จพระนเรศวรจึงโปรดให้สร้างเจดีย์องค์ใหญ่ขึ้น เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งชัยชนะ
และความมีน้ำพระทัยของพระองค์ ที่มีต่อเหล่าทหารเหล่านั้น และพระะราชทานนามว่า
“เจดีย์ชัยมงคล”
และความมีน้ำพระทัยของพระองค์ ที่มีต่อเหล่าทหารเหล่านั้น และพระะราชทานนามว่า
“เจดีย์ชัยมงคล”
-เจดีย์ประธานทรงระฆังตั้งอยู่บนฐานแปดเหลี่ยม-
พระอุโบสถ
เดิมสร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าอู่ทอง ใช้เป็นสถานที่ปฏิบัติกรรมฐานรวมทั้งประกอบพิธีกรรมต่างๆ
พระอุโบสถหลังนี้เคยถูกใช้เป็นสถานนัดพบของเหล่าขุนนาง นำโดยขุนพิเรนทร์เทพ
และพรรคพวก ซึ่งมาเสี่ยงเทียนเพื่อจะเป็นนิมิตหมายในการไปปราบขุนวรวงค์ษา
และท้าวศรีสุดาจันทร์ วิธีการเสี่ยงเทียนคือการฟั่นเทียนขึ้นมา 2 เล่ม เล่มหนึ่ง
แทนตัวขุนวรวงค์ษา กษัตริย์ที่นักวิชาการหลายท่านไม่นับรวมว่าเป็นหนึ่งในกษัตริย์อยุธยา
เทียนอีกเล่มหนึ่งแทนตัวพระเฑียรราชา หน่อเนื้อเชื้อกษัตริย์อันหลบหลีกปัญหาการแย่ง
ชิงบัลลังค์ และไปบวชอยู่ที่วัดราชประดิษฐาน และจุดเทียนขึ้นพร้อมกัน
แต่เทียนเล่มที่เป็นตัวแทนของขุนวรวงค์ษามีเหตุให้ดับลงก่อน
จึงถือว่าการล้มล้างจะเป็นผลสำเร็จ
เดิมสร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าอู่ทอง ใช้เป็นสถานที่ปฏิบัติกรรมฐานรวมทั้งประกอบพิธีกรรมต่างๆ
พระอุโบสถหลังนี้เคยถูกใช้เป็นสถานนัดพบของเหล่าขุนนาง นำโดยขุนพิเรนทร์เทพ
และพรรคพวก ซึ่งมาเสี่ยงเทียนเพื่อจะเป็นนิมิตหมายในการไปปราบขุนวรวงค์ษา
และท้าวศรีสุดาจันทร์ วิธีการเสี่ยงเทียนคือการฟั่นเทียนขึ้นมา 2 เล่ม เล่มหนึ่ง
แทนตัวขุนวรวงค์ษา กษัตริย์ที่นักวิชาการหลายท่านไม่นับรวมว่าเป็นหนึ่งในกษัตริย์อยุธยา
เทียนอีกเล่มหนึ่งแทนตัวพระเฑียรราชา หน่อเนื้อเชื้อกษัตริย์อันหลบหลีกปัญหาการแย่ง
ชิงบัลลังค์ และไปบวชอยู่ที่วัดราชประดิษฐาน และจุดเทียนขึ้นพร้อมกัน
แต่เทียนเล่มที่เป็นตัวแทนของขุนวรวงค์ษามีเหตุให้ดับลงก่อน
จึงถือว่าการล้มล้างจะเป็นผลสำเร็จ
ภายในอุโบสถมีพระพุทธรูปสำคัญหลายองค์ ส่วนที่เป็นองค์ประธานเป็นพระพุทธรูป
ซึ่งมีลักษณะเด่นจากที่อื่น คือปั้นด้วยหินทรายตลอดทั้งองค์ ส่วนที่เป็นจีวรถูกลงรัก
ปิดทองประดับแก้ว ส่วนที่ไม่ใช่จีวรนั้นว่างเว้นเห็นเป็นเนื้อหินทรายที่สวยงาม
สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าอู่ทอง ลักษณะเป็นปางมารวิชัย หรือปางสดุ้งมาร
ซึ่งมีลักษณะเด่นจากที่อื่น คือปั้นด้วยหินทรายตลอดทั้งองค์ ส่วนที่เป็นจีวรถูกลงรัก
ปิดทองประดับแก้ว ส่วนที่ไม่ใช่จีวรนั้นว่างเว้นเห็นเป็นเนื้อหินทรายที่สวยงาม
สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าอู่ทอง ลักษณะเป็นปางมารวิชัย หรือปางสดุ้งมาร
วิหารพระพุทธไสยาสน์
เมื่อเดินผ่านประตูทางเข้าด้านในก็จะพบวิหารพระพุทธไสยาสน์อยู่ทางซ้ายมือ
ภายในประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ซึ่งสร้างขึ้นในแผ่นดินของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เพื่อใช้เป็นที่สักการะบูชา และปฏิบัติพระกรรมฐาน พระพุทธรูปองค์นี้ได้รับการปฏิสังขรณ์ใหม่
ในปี พ.ศ.2508
เมื่อเดินผ่านประตูทางเข้าด้านในก็จะพบวิหารพระพุทธไสยาสน์อยู่ทางซ้ายมือ
ภายในประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ซึ่งสร้างขึ้นในแผ่นดินของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เพื่อใช้เป็นที่สักการะบูชา และปฏิบัติพระกรรมฐาน พระพุทธรูปองค์นี้ได้รับการปฏิสังขรณ์ใหม่
ในปี พ.ศ.2508
รูปแบบอาคารเป็นลักษณะวิหาร สันนิษฐานว่ามีประตูทางเข้าอยู่ 2 ช่องทางด้านทิศเหนือ
(ปัจจุบันได้สูญสิ้นหมดแล้ว) ภายในอาคารมีหน้าต่างสี่เหลี่ยมเพียง 4 บาน เสาของอาคาร
เป็นลักษณะกลมปรากฏร่องรอยบัวหัวเสาที่ประดับอยู่บนยอด องค์พระประธานของวิหารหันหน้า
ไปทางทิศตะวันออกอันเป็นด้านหน้าของวัด ภายหลังได้รับการปฏิสังขรณ์
(ปัจจุบันได้สูญสิ้นหมดแล้ว) ภายในอาคารมีหน้าต่างสี่เหลี่ยมเพียง 4 บาน เสาของอาคาร
เป็นลักษณะกลมปรากฏร่องรอยบัวหัวเสาที่ประดับอยู่บนยอด องค์พระประธานของวิหารหันหน้า
ไปทางทิศตะวันออกอันเป็นด้านหน้าของวัด ภายหลังได้รับการปฏิสังขรณ์
นักท่องเที่ยวสามารถถ่ายรูปจากมุมนี้ออกไปสู่วิวด้านหลัง ที่เห็นเป็นองค์เจดีย์ชัยมงคล
ซึ่งตั้งตะหง่านอยู่อย่างยิ่งใหญ่ เดินต่อไปตามทางเดินก็จะพบศาลเจ้าพ่อสิทธิชัยซึ่งตั้งอยู่ทางซ้ายมือ
ซึ่งตั้งตะหง่านอยู่อย่างยิ่งใหญ่ เดินต่อไปตามทางเดินก็จะพบศาลเจ้าพ่อสิทธิชัยซึ่งตั้งอยู่ทางซ้ายมือ
-พระพุทธไสยาสน์-
-แถวพระพุทธรูป ที่ประดิษฐานเรียงรายอยู่ในระเบียงคด-
การเดินทาง
หากเดินทางมาจากรุงเทพโดยใช้ถนนสายเอเชีย(ทางหลวงหมายเลข 32)เลี้ยวซ้ายตรงสี่แยก
เข้าอยุธยา ตรงเข้ามาจะพบวงเวียนเจดีย็วัดสามปลื้ม ให้เลี้ยวซ้ายไปอีก 1.5 กม.
วัดใหญ่ชัยมงคล จะอยู่ทางซ้ายมือ
หากเดินทางมาจากรุงเทพโดยใช้ถนนสายเอเชีย(ทางหลวงหมายเลข 32)เลี้ยวซ้ายตรงสี่แยก
เข้าอยุธยา ตรงเข้ามาจะพบวงเวียนเจดีย็วัดสามปลื้ม ให้เลี้ยวซ้ายไปอีก 1.5 กม.
วัดใหญ่ชัยมงคล จะอยู่ทางซ้ายมือ
เปิด 8.30-16.30 น.
คนไทยเข้าฟรี ชาวต่างชาติเสีย 20 บาท
คนไทยเข้าฟรี ชาวต่างชาติเสีย 20 บาท
------------------------------------------------------
ขอบคุณ ข้อมูลและภาพ จาก https://thai.tourismthailand.org/วัดใหญ่ชัยมงคล
วัดใหญ่ชัยมงคลวัด
รายละเอียดสถานที่ท่องเที่ยว
ขอบคุณ ข้อมูลและภาพ จาก https://thai.tourismthailand.org/วัดใหญ่ชัยมงคล
วัดใหญ่ชัยมงคลวัด
ทุกวัน
08.00 - 17.00
ข้อมูลการติดต่อ
ที่อยู่
40/3 หมู่ที่ 3 ตำบลคลองสวนพลู อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13000
เบอร์โทร
+66 3524 4193
วัดใหญ่ชัยมงคล เดิมชื่อวัดป่าแก้วหรือวัดเจ้าพระยาไท ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำป่าสัก ตามข้อมูลประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 หรือพระเจ้าอู่ทอง ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยาโปรดให้สร้างขึ้นเพื่อเป็นสำนักของพระสงฆ์ซึ่งไปบวชเรียนมาแต่สำนักพระวันรัตน์มหาเถรในประเทศลังกา คณะสงฆ์ที่ไปศึกษาพระธรรมวินัยเรียกนามนิกายในภาษาไทยว่า “คณะป่าแก้ว” วัดนี้จึงได้ชื่อว่า “วัดป่าแก้ว” ต่อมาคนเลื่อมใสบวชเรียนพระสงฆ์นิกายนี้ จึงมีการตั้งอธิบดีสงฆ์นิกายนี้เป็นสมเด็จพระวันรัตน์มีตำแหน่งเป็นสังฆราชฝ่ายขวาคู่กับพระพุทธโฆษาจารย์เป็นอธิบดีสงฆ์ฝ่ายคันถธุระ มีตำแหน่งเป็นสังฆราชฝ่ายซ้าย
หลังจากนั้นได้เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดเจ้าพระยาไท” สันนิษฐานว่ามาจากที่พระเจ้าอู่ทองทรงสร้างวัดป่าแก้วขึ้น ณ บริเวณที่ซึ่งได้ถวายพระเพลิงพระศพของเจ้าแก้วเจ้าไทหรืออาจมาจากการที่วัดนี้เป็นที่ประทับของพระสังฆราชฝ่ายขวา ซึ่งในสมัยโบราณเรียกพระสงฆ์ว่า “เจ้าไท” ฉะนั้นเจ้าพระยาไทจึงหมายถึงตำแหน่งพระสังฆราช
วัดใหญ่ชัยมงคลยังมีความผูกพันกับประวัติศาสตร์สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชด้วย กล่าวคือ ในปีพ.ศ. 2135 เมื่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงทำศึกยุทธหัตถีชนะพระมหาอุปราชแห่งพม่าที่ตำบลหนองสาหร่าย เมืองสุพรรณบุรี ทรงสร้างพระเจดีย์ใหญ่ขึ้นที่วัดนี้เป็นอนุสรณ์แห่งชัยชนะ การสร้างพระเจดีย์อาจสร้างเสริมพระเจดีย์เดิมที่มีอยู่หรืออาจสร้างใหม่ทั้งองค์ก็ได้ ไม่มีหลักฐานแน่นอน ขนานนามว่า “พระเจดีย์ชัยมงคล” แต่ราษฎรเรียกว่า “พระเจดีย์ใหญ่” ฉะนั้นนานวันเข้าวัดนี้จึงเรียกชื่อเป็น “วัดใหญ่ชัยมงคล” ทว่าเมื่อคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 บ้านเมืองถูกกองทัพพม่าเผาทำลาย วัดใหญ่ชัยมงคลจึงถูกทิ้งร้างไปในที่สุด ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์จึงมีการบูรณปฏิสังขรณ์และมีภิกษุสงฆ์จำพรรษาดังเช่นในปัจจุบัน
สิ่งที่น่าสนใจภายในวัด ได้แก่ เจดีย์ชัยมงคล อนุสรณ์แห่งชัยชนะของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเหนือมังกะยอชวา พระมหาอุปราชของหงสาวดี และวิหารพระพุทธไสยาสน์ สร้างในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เพื่อเป็นที่ถวายสักการะบูชาและปฏิบัติพระกรรมฐาน ปัจจุบันมีการสร้างพระตำหนักสมเด็จพระนเรศวรมหาราช มีผู้นิยมไปนมัสการอย่างสม่ำเสมอเป็นจำนวนมาก
วัดใหญ่ชัยมงคล เปิดเวลา 08.00 – 17.00 น. ทุกวัน ค่าเข้าชมสำหรับชาวต่างชาติ 20 บาท นักท่องเที่ยวสามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 0 3524 2640 หรือทางเว็บไซต์ www.watyaichaimongkol.net
แผนที่เดินทางไปวัดใหญ่ชัยมงคล :
http://www.tourismthailand.org/fileadmin/upload_img/Multimedia/Ebrochure/475/วัดใหญ่ชัยมงคล.pdf
ขอบคุณ ข้อมูล จาก http://www.watyaichaimongkol.net/index.php?mo=3&art=135129
ตอบลบประวัติวัดใหญ่ชัยมงคล
พระมหานัธนิติ สุมโน*
เลือกอ่านตามหัวข้อ
[ ก่อเกิดคณะป่าแก้ว ]
[ วัดเจ้าพระยาไทยคณะป่าแก้ว ]
[ พระเจดีย์ชัยมงคล ]
[ ผู้สร้างวัดป่าแก้ว ]
[ ผู้สร้างวัดใหญ่ชัยมงคล ]
[ ย้อนมองกลับหลัง ]
[ วัดใหญ่ชัยมงคลในปัจจุบัน ]
กำเนิดวนวาสี
อนิจจังของพุทธศาสนาในลังกาทวีป
ใน พ.ศ. ๒๗๕ พระเจ้าอโศกมหาราชได้ราชาภิเษกเป็นพระเจ้าราชาธิราชปกครองมคธราษฎร์ทรงเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างยิ่งและทรงทำนุบำรุงพระภิกษุสงฆ์ในพระพุทธศาสนายิ่งกว่านักบวชในศาสนาอื่นๆ ทำให้นักบวชนอกพระพุทธศาสนาที่เรียกว่า “เดียรถีย์”ปลอมตนเข้าบวชเป็นพระภิกษุด้วยหวังลาภสักการะเป็นอันมาก จนเกิดแตกสามัคคีเพราะรังเกียจกันในหมู่สงฆ์ จึงมีการไต่สวนและกำจัดพวกเดียรถีร์ออกเสียจากภิกษุภาวะ พระสงฆ์ที่ทรงธรรมวินัยโดยถ่องแท้ได้พร้อมกันทำตติยสังคายนา ที่เมืองปาตลีบุตร มี พระโมคคลีบุตรติสเถระ เป็นประธาน ในพระราชูปถัมภ์ของ พระเจ้าอโศกมหาราช
หลังจากทำตติยสังคายนาแล้วได้จัดส่งพระเถรานุเถระไปสั่งสอนพระพุทธศาสนาในนานาประเทศ ๙ สายด้วยกัน คือ
๑. พระมัชฌันติก ไปประเทศกัสมิระ และคันธาระ(แคว้นแคชเมียร์ และอาฟฆานิสถาน)
๒. พระมหาเทว ไปมหิสมณฑล (ไมสอ)
๓. พระรักขิต ไปวนวาสีประเทศ (เหนือบอมเบข้างใต้)
๔. พระธรรมรักขิต ไปอปรันตกประเทศ (ชายทะเลเหนือบอมเบ)
๕. พระมหาธรรมรักขิต ไปมหารัฐประเทศ (ห่างบอมเบไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ)
๖. พระมหารักขิต ไปโยนกโลกประเทศ (อยู่ในเปอร์เชีย)
๗. พระมัชฌิม ไปหิมวันตประเทศ (ในหมู่เขาหิมาลัย)
๘. พระโสณะ และ พระอุตตระ ไปสุวรรณภูมิประเทศ (ไทย)
๙. พระมหินทเถระ ไปลังกาทวีป
ในลังกาทวีปการพระพุทธศาสนาได้เจริญรุ่งเรืองเป็นอย่างยิ่งทั้งนี้โดยความอุปการะช่วยเหลือของ พระเจ้าอโศกมหาราช
อย่างไรก็ดี เมื่อเวลาล่วงไปลังกาทวีปได้ถูกพวกทมิฬ ซึ่งเป็นชนชาติหนึ่งอยู่ตอนใต้ปลายแหลมชมพูทวีปมาแต่เดิมรุกราน และมีอำนาจเหนือลังกาทวีปหลายครั้งประการหนึ่ง การแย่งราชสมบัติรบราฆ่าฟันกันเองประการหนึ่ง ทำให้การพระพุทธศาสนาในลังกาทวีปปั่นป่วน และแตกแยกเป็นหลายลัทธิ และบางทีก็เสื่อมลงถึงที่สุด จนไม่มีพระเถระสำหรับบวชกุลบุตร และสืบพระศาสนา ต้องส่งทูตไปขอพระเถระจากต่างประเทศ เข้าไปบวชกุลบุตรเป็นหลายครั้ง รวมทั้งประเทศไทยด้วย
ในระหว่าง พ.ศ. ๑๘๙๐-๑๙๒๙พระพุทธศาสนาเสื่อมลงอย่างมาก เพราะเกิดพวกอลัชชี ถึงกับต้องชุมนุมสงฆ์ชำระและกำจัดภิกษุอลัชชีหลายคราว
ตอบลบเหตุที่เกิดอลัชชีมี ๒ ประการ คือ
๑. ลังกาทวีปถือพระพุทธศาสนาก็จริง แต่ได้รับขนบธรรมเนียมอย่างอื่นมาจากชมพูทวีปด้วย โดยเฉพาะการถือชั้นวรรณะตามคติของพราหมณ์ เมื่อพระเจ้าแผ่นดินสิงหฬมีอำนาจมากก็กีดกันคนชั้นต่ำเข้าบวชเป็นพระภิกษุสงฆ์ ครั้นอำนาจของพระเจ้าแผ่นดินสิงหฬเสื่อมทราม คนชั้นต่ำก็เข้าบวชมาก ผู้ดีบวชน้อยลง
๒. ระหว่าง พ.ศ. ๔๓๙-พ.ศ. ๔๕๕ พระเจ้าวัฏคามินีอภัย เสียราชธานีแก่พวกทมิฬ เที่ยวหลบหนีอยู่ในมลัยประเทศ ไม่มีพระราชทรัพย์ทำนุบำรุงพระสงฆ์ จึงทรงอุทิศที่ดินพระราชทานแทนเรียกว่า “ที่กัลปนา” (นับเป็นครั้งแรก) ให้ราษฎรซึ่งอาศัยได้ผลประโยชน์จากที่ดินนั้น ทำการอุปการะตอบแทนแก่พระสงฆ์ จึงเป็นราชประเพณีสืบต่อมา
เมื่อคน ชั้นเลวเข้าบวชมากขึ้น พระภิกษุพวกนี้ก็ขวนขวายหาลาภสักการจากที่ดินเลี้ยงตน ถึงกับเอาลูกหลานบวชไว้สำหรับครองอารามอย่างรับมรดก การบำเพ็ญกิจแห่งสมณะตามพระธรรมวินัยก็หย่อนยาน
ด้วยเหตุ ๒ ประการดังกล่าว จึงเกิดพระสงฆ์พวกหนึ่งเรียกว่า “วนวาสี” ซึ่งถือความสันโดษ ไม่ข้องแวะต่อการแสวงหาลาภสักการมาบำรุงรักษาอาราม
ปรากฏในตอนหลังๆ ว่า ชาวลังกาทวีปนับถือพระสงฆ์ฝ่ายวนวาสีมาก แต่พระภิกษุฝ่ายคามวาสีที่ดีก็คงมีจึงนิยมเป็นสงฆ์ ๒ ฝ่ายวนวาสี ก็คือ อรัญวาสี นั่นเอง และเป็นแบบอย่างมาถึงประเทศไทยเราด้วย
เมื่อได้มีการกำจัดพวกอลัชชีแล้ว คงจะได้มีการวางระเบียบแบบแผนสังฆมณฑลเรียบร้อยขึ้น จนกิตติศัพท์เลื่องลือมาถึงประเทศไทย มอญ เขมร และลานนาไทย จึงมีพระภิกษุพากันออกไปบวชแปลงเป็นพระสงฆ์ใน สิงหฬนิกาย กันมาก
ตอบลบหนังสือตำนานโยนก ว่า[1]
"เมื่อราวปีขาล จุลศักราช ๗๘๔ พ.ศ ๑๙๖๕ ตรงในสมัยเมื่อสมเด็จพระอินทราชาธิราชที่ ๑ ครองราชย์สมบัติ ณ กรุงศรีอยุธยา
มีพระภิกษุทางประเทศนี้หมู่หนึ่ง หัวหน้าเป็นพระมหาเถรชาวเชียงใหม่ ๗ รูป ชื่อพระธรรมคัมภีร์ ๑ พระเมธังกร ๑ พระญาณมังคละ ๑ พระสีลวงศ์ ๑ พระสาริบุตร ๑ พระรัตนากร ๑ พระพุทธสาคร ๑ เป็นพระมหาเถรชาวกรุงศรีอยุธยา ๒ รูป ชื่อพระพรหมมุนี ๑ พระโสมเถร ๑ เป็นพระมหาเถรชาวกรุงกัมพูชา ชื่อพระญาณสิทธิ์รูป ๑ พระภิกษุบริษัทเป็นอันมากพากันออกไปเมืองลังกา ไปอุปสมบทแปลงเป็นสิงหฬนิกาย ณ อุทกเขปสีมาที่แม่น้ำกัลยาณี ในสำนักพระวันรัตมหาเถร เมื่อ ณ วันเสาร์ ขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือน ๘ อุตราสาฒ ปีมะโรง จุลศักราช ๗๘๖ พ.ศ. ๑๙๖๗ แล้วศึกษาธรรมวินัยอยู่ในลังกาทวีปอยู่หลายปี
เมื่อกลับมาได้นิมนต์พระมหาเถรชาวลังกามาด้วย ๒ รูป ชื่อพระมหาวิกรมพาหุ รูป ๑ พระอุดมปัญญา รูป ๑ มาขึ้นที่กรุงศรีอยุธยาก่อน แล้วแยกย้ายกันไปเที่ยวตั้งนิกายลังกาขึ้นอีกนิกายหนึ่ง เรียกว่า วันรัตนวงศ์ แปลเป็นภาษาไทยเรียกว่า คณะป่าแก้ว (ชาวเชียงใหม่เรียกว่า ป่าแดง)"
แต่ก็ยังมีความเห็นที่แตกต่างกันเช่น ในพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา ว่า[2]
ตอบลบ"ได้ความตามหนังสือในตำนานที่ปรากฏอยู่ในเมืองเชียงใหม่ดังนี้ เชื่อได้ว่าพระสงฆ์นิกายป่าแก้วมีขึ้นครั้งนั้นเป็นปฐม
แต่ความที่ปรากฏทางเมืองนครศรีธรรมราชและเมืองพัทลุง วัดนิกายป่าแก้วนี้มีในหัวเมืองแถบนั้นมาก เห็นพระสงฆ์นิกายเมืองป่าแก้วจะมาแพร่หลายทางหัวเมืองเหล่านั้นก่อน แล้วจึงขึ้นมาถึงกรุงศรีอยุธยา จึงได้เรียกพระสงฆ์คณะป่าแก้วที่ขึ้นสมเด็จพระวันรัตนว่า คณะใต้ พระสงฆ์นิกายนี้คงจะปฏิบัติเคร่งครัดทางแสดงธรรมวินัย กว่าพระสงฆ์ลังกาวงศ์ซึ่งอยู่มาแต่ก่อน จึงทำให้เจริญความเลื่อมใสกันขึ้น เมื่อในแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ"
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงผนวชใน คณะป่าแก้ว เห็นจะเลื่องลือพระเกียรติยศมาก เป็นเหตุให้พระเจ้าแผ่นดินประเทศอื่น ขวนขวายการบำเพ็ญอุปถัมภกพระศาสนาเป็นพิเศษบ้าง เช่น พระรามาธิบดี (ปิฎกธร) กรุงหงสาวดี ส่งพระภิกษุสงฆ์ออกไปอุปสมบทแปลงที่ลังกา เมื่อ พ.ศ. ๒๐๑๘ เมื่อพระสงฆ์เหล่านั้นกลับเข้ามาแล้ว บังคับให้พระสงฆ์ในรามัญประเทศแปลงเป็นนิกายเดียวกันจนหมด
พระเจ้าติโลกราช เมืองเชียงใหม่ก็ตั้งพิธีทำสังคายนาพระไตรปิฎก ซึ่งนับว่าเป็นครั้งที่ ๘ เมื่อ พ.ศ. ๒๐๒๐ เป็นต้น ซึ่งดูจะเนื่องมาจากการที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงผนวชขึ้นก่อนทั้งสิ้น
ยิ่งกว่านั้นยังปรากฏว่า ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๐๐๗ เป็นต้นมา ได้นำพระราชโอรส พระราชนัดดา ตลอดจนเจ้านายลูกผู้ลากมากดีบวชกันมากจนกลายเป็นธรรมเนียมสืบมา ถือกันว่าเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา ประเพณีบวชนี้ ได้แพร่หลายนิยมตามกันมาถึงในหมู่คนสามัญด้วย
หมายเหตุ :
[1] บทความเรื่องนี้ใช้อักขรวิธีตามต้นฉบับ
[2] สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ, พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา
อนึ่งพระสงฆ์ไทยที่ไปบวชแปลงที่สำนักพระวันรัตนวงศ์ในลังกา ที่เรียกเป็นภาษาไทยว่า “คณะป่าแก้ว” นั้น เมื่อเข้ามาถึงกรุงศรีอยุธยาก็ได้เข้าพักอยู่ในวัดเจ้าพระยาไทยซึ่งเป็นอรัญวาสีอยู่ก่อนแล้ว
ตอบลบเมื่อคณะ ป่าแก้วเข้ามาก็ทำให้เพิ่มความคึกคักในการปฏิบัติธรรมกันฝ่ายนี้กันมากขึ้น วัดเจ้าพระยาไทยจึงเป็นวัดชั้นนำทางด้านอรัญวาสี พระเถระที่เป็นหัวหน้าควบคุมจึงได้นามว่า “สมเด็จพระวันรัตน” (พระพนรัตน์) ตามพระนามพระวันรัตนมหาเถระซึ่งเป็นอาจารย์ในลังกาทวีป
การที่คณะ ป่าแก้วเข้ามีเมืองไทยนั้น ได้จัดเป็นคณะหนึ่งต่างหาก ผู้คนจะเลือกศึกษาได้ตามสมัครใจไม่บังคับเหมือนในเมืองมอญ ฉะนั้น ในชั้นแรกจึงเรียกชื่อวัดว่า “วัดเจ้าพระยาไทยคณะป่าแก้ว” ภายหลังจึงได้เหลือ วัดป่าแก้ว แต่อย่างเดียว
อย่างไรก็ดี เนื่องจาก วัดเจ้าพระยาไทย หรือ วัดป่าแก้ว เป็นพระอารามหลวงมีพระเจ้าแผ่นดินเจ้านายเข้าทรงผนวช และเป็นที่ประกอบการพระราชพิธีบางอย่าง รวมทั้งใหญ่โตกว้างขวาง ชาวบ้านจึงได้เรียกกันว่า “วัดใหญ่” มาแต่แรกสร้าง
เมื่อสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงกระทำยุทธหัตถีได้ชัยชนะพระมหาอุปราชาแห่งพม่าแล้ว ได้ทรงมีพระราชศรัทธาบูรณะปฏิสังขรณ์วัดใหญ่ขึ้นเป็นงานใหญ่ พร้อมทั้งได้ทรงสร้างพระเจดีย์ชัยมงคลเป็นเครื่องเฉลิมพระเกียรติอีกด้วย
ตอบลบชัยชนะในสงครามยุทธหัตถีในครั้งนั้น เป็นชัยชนะครั้งสำคัญที่สุด นับตั้งแต่ สมเด็จพระนเรศวรได้ทรงประกาศอิสรภาพของชาติไทยที่เมืองแครง เมื่อปีวอก พุทธศักราช ๒๑๒๗ หลังจากที่ประเทศไทยต้องตกอยู่ใต้อำนาจของชาติอื่นมาเป็นเวลาถึง ๑๕ ปี
จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างอนุสรณ์แห่งชัยชนะครั้งนี้ขึ้นสองแห่งเป็นพระสถูปเจดีย์ตรงที่ทรงยุทธหัตถีกับ พระมหาอุปราชา แห่งหนึ่ง และทรงสร้างพระมหาสถูปคือ พระเจดีย์ชัยมงคลขึ้นที่ วัดป่าแก้ว เป็นเหตุสำคัญ
นอกจากนั้นก็ยังมีเหตุอื่น อีกด้วย สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้ทรงพระนิพนธ์ไว้ในหนังสือพระราชประวัติสมเด็จพระนเรศวร ว่า
“ยังมีของ โบราณอยู่บางสิ่งซึ่งชวนให้เห็นว่า เมื่อสมเด็จพระวันรัตทูลขอโทษข้าราชการแล้ว ได้ทูลแนะนำ สมเด็จพระนเรศวร ให้เฉลิมพระเกียรติที่มีชัยครั้งนั้นด้วยทรงบำเพ็ญกุศลกรรม และคงยกเรื่องประวัติพระเจ้าทุษฐคามมินีมหาราชอันมีในคัมภีร์มหาวงศ์ พงศาวดารลังกาทวีปมาทูลถวายเป็นตัวอย่าง ในเรื่องนั้นว่า
"เมื่อปี พ.ศ. ๒๓๘ พวกทมิฬมิจฉาทิฎฐิยกกองทัพข้ามมาจากชมพูทวีป มาตีได้เกาะลังกาแล้วครอบครองบ้านเมืองอยู่หลายปี ทุษฐคามนีกุมาร ราชโอรสของ พระเจ้ากากะวรรณดิศ ซึ่งเป็นกษัตริย์สิงหฬพระพุทธศาสนาหนีไปอยู่บนเขา พยายามรวบรวมรี้พลยกไปตีเอาบ้านเมืองคืน ได้รบเอา พระยาเอฬาระทมิฬ ซึ่งครองเมืองลังกา ถึงชนช้างกันตัวต่อตัวที่ชานเมืองอนุราธธานี
ทุษฐคามินีกุมาร มีชัยชนะฆ่า พระยาเอฬาระทมิฬ ตายกับคอช้าง ได้เมืองลังกาคืนจากพวกมิจฉาทิฏฐิ มีพระเกียรติเป็นมหาราชสืบมาในพงศาวดาร เมื่อ พระเจ้าทุษฐคามนี ทำยุทธหัตถมีชัยครั้งนั้น โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเจดีย์ขึ้น ไว้เป็นอนุสรณ์ตรงที่ชนช้างกับ พระยาเอฬาระทมิฬ องค์หนึ่ง แล้วให้สร้างพระมหาสถูปอันมีนามว่า “มริจิวัตรเจดีย์” ขึ้นที่เมืองอนุราธบุรีอีกองค์หนึ่ง เฉลิมพระเกียรติปรากฏสืบมากว่าพันปี"
สมเด็จพระ นเรศวร ทรงพระราชดำริเห็นชอบด้วย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระสถูปเป็นอนุสรณ์ไว้ในทุ่งหนองสาหร่าย ตรงที่ทรงทำยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชาองค์หนึ่ง แล้วทรงสร้างพระมหาสถูปขึ้นไว้ที่วัดป่าแก้ว ขนานนามว่า “ชัยมงคลเจดีย์” อีกองค์หนึ่ง (คือพระเจดีย์พระองค์ใหญ่ที่อยู่ทางฝ่ายตะวันออกทางรถไฟ แลเห็นเมื่อก่อนเข้าเขตพระนครศรีอยุธยา)”
นอกจากนั้น ยังมีอีกเหตุหนึ่งซึ่งคงจะเป็นเครื่องชักจูงพระราชหฤทัย ให้ทรงสร้างพระมหาสถูปนี้อยู่ไม่น้อย เมื่อพุทธศักราช ๒๑๑๒ พระเจ้าหงสาวดีบุเรงนอง ตีได้กรุงศรีอยุธยาในรัชกาล สมเด็จพระมหินทราธิราช ครั้งนั้นไทยได้รับความเสียหายแสนสาหัส ข้อความในพระราชพงศาวดารแสดงให้เห็นความอัปยศนี้อยู่เป็นอย่างดียิ่ง
ตอบลบในชัยชนะ ครั้งนั้น พระเจ้าหงสาวดีบุเรงนอง ได้ให้สร้างพระเจดีย์ใหญ่แบบมอญขึ้น ไว้เป็นอนุสรณ์ที่วัดซึ่ง สมเด็จพระราเมศวรสร้างไว้นอกพระนครทางด้านเหนือ และให้เรียกพระเจดีย์นั้นว่า “ภูเขาทอง” เป็นเหตุให้ชาวบ้านเรียกวัดนั้นว่า “วัดภูเขาทอง”
ต่อมาพระเจดีย์ภูเขาทองนั้น นอกจากจะเป็นอนุสรณ์แห่งชัยชนะของพระเจ้าหงสาวดีบุเรงนองแล้ว ยังเป็นเครื่องเตือนใจคนไทยทั้งปวง ให้ระลึกถึงความอัปยศอดสูในครั้งนั้นอีกด้วย
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระมหาสถูปชัยมงคลที่วัดพระยาไทย มีขนาดสูงกว่าพระเจดีย์ภูเขาทอง ทั้งนี้เพื่อจะได้เป็นเครื่องล้างความอัปยศอดสูของชาติไทย และเป็นเครื่องให้เกิดกำลังใจแก่คนไทยทั้งชาติอีกด้วย นับว่าเป็นพระบรมราโชบายอันลึกซึ้ง และมีประโยชน์ต่อชาติไทยจนตราบทุกวันนี้
พระเจดีย์ชัยมงคล จึงนับเป็นปูชนียวัตถุอันสำคัญยิ่งอย่างหนึ่งของชาติไทย เพราะเป็นนิมิตรหมายของเอกราชของชาติ เป็นเครื่องเตือนใจให้ระลึกถึงความกล้าหาญเสียสละ ที่สมเด็จพระมหาวีรราชเจ้าและวีรบุรุษของชาวไทยได้มีมาในอดีต อันเป็นผลตกทอดมาถึงคนไทยทุกคนในปัจจุบันนี้ในวิถีแห่งชีวิตทุกทาง นอกจากนั้นยังเป็นเครื่องหมายแห่งชาวไทยทั้งมวล ที่ได้ร่วมมือกันกอบกู้เอกราชของชาติและธำรงไว้ซึ่งเอกราชนั้นตลอดมา เป็นสิ่งเตือนใจให้คนรุ่นหลังได้ทำกิจการงานทั้งปวงตามหน้าที่ของแต่ละบุคคล โดยสุจริตและความพากเพียร เพื่อให้ชาติไทยนั้นได้อยู่ได้โดยเสรีและเป็นปกติสุข
พระเจดีย์ ชัยมงคลนี้ยังเป็นสัญลักษณ์ แห่งการอภัยทานของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช อันเนื่องมาจากธรรมอันประเสริฐแห่งพระพุทธศาสนา ซึ่งได้มีอิทธิพลเหนือชีวิตและความเป็นอยู่ของคนไทยมาแต่โบราณกาล จนเป็นวิสัยในจิตใจทั้งปวงถึงทุกวันนี้
พระเจดีย์ ชัยมงคล ซึ่ง สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงสร้างขึ้นที่วัดใหญ่ชัยมงคลเพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งการที่ได้ทรงทำยุทธหัตถี ได้ชัยชนะแก่สมเด็จพระมหาอุปราชาแห่งพม่า เมื่อ พ.ศ. ๒๑๓๕ นั้น ประมาณว่ามีความสูงจากพื้นดินราว ๑ เส้น ๑๐ วาและชาวบ้านได้นำเอาชื่อวัดกับนามพระเจดีย์มาประกอบกันเรียกขานกันต่อมาว่า “วัดใหญ่ชัยมงคล” จนกระทั่งทุกวันนี้
เกี่ยวกับเรื่อง “วัดป่าแก้ว” นี้ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้ทรงพระนิพนธ์คำอธิบายไว้ในพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา ได้ประทานข้อวินิจฉัยที่น่าสนใจไว้ ขอคัดมาเล่าสู่กันอ่านดังต่อไปนี้
ตอบลบเมื่อ สมเด็จพระนเรศวร ทรงทำยุทธหัตถีมีชัยชนะ เสด็จกลับถึงพระนครแล้ว ทรงพระพิโรธแม่ทัพนายกอง มีรับสั่งให้ปรึกษาโทษที่โดยเสด็จไปไม่ทัน ละแต่พระคชาธารสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทั้งสองพระองค์ให้เข้าไปอยู่ในท่ามกลาง ศึก จะมีโทษฉันใดลูกขุนปรึกษาโทษประหารชีวิต แต่ สมเด็จพระวันรัตน ถวายพระพรขอโทษไว้ได้
“ในพระราชพงศาวดาร ว่า สมเด็จพระวันรัตนวัดป่าแก้วถวายพระพรขอพระราชทานอภัยโทษข้าราชการไว้ ควรจะอธิบายเรื่องวัดป่าแก้วไว้ตรงนี้สักหน่อย
ในคำอธิบายของข้าพเจ้าในตอนแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ กล่าวถึงเรื่องนิกายพระสงฆ์ที่เข้ามาสู่ประเทศนี้ มีเนื้อความปรากฏถึงเรื่องนิกายพระสงฆ์ซึ่งเรียกว่า คณะป่าแก้ว เพราะเหตุที่แปลงมาในสำนัก พระวันรัตนมหาเถร ในเมืองลังกา
จึงเอานามวันรัตนนั้นมาแปลเป็นภาษาไทย เรียกชื่อนิกายสงฆ์ว่าคณะป่าแก้ว พระราชาคณะที่เป็นสังฆนายกของนิกายป่าแก้ว หรือที่เรียกว่า คณะใต้ จึงมีพระราชทินนามในสมณศักดิ์ว่า สมเด็จพระวันรัตน
แต่ที่อยู่วัดป่าแก้วนั้น ทำให้เข้าใจผิดอยู่ แม้ในหนังสือพระราชพงศาวดารว่าสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ทรงสร้างวัดป่าแก้ว ที่จริงวัดนั้นเป็นวัดแก้วฟ้า วัดที่ชื่อป่าแก้วไม่มีในกรุงศรีอยุธยา
ปรากฏว่าได้ค้นหาวัดป่าแก้วกันมาแต่ในรัชกาลที่ ๔ จนเมื่อ พระยาโบราณราชธานินทร์ เป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่าก็ได้ค้นหาวัดป่าแก้วอีก เคยพาข้าพเจ้าไปบุกรุกช่วยหาหลายหนก็ไม่พบ
เรื่องวัดป่าแก้วในกรุงเก่าเป็นที่ฉงนสนเท่ห์อยู่มาก ความคิดเพิ่งมาปรากฏแก่ข้าพเจ้าเมื่อไปเห็นหนังสือเก่าๆ ที่เมืองนครศรีธรรมราชและเมืองพัทลุง
ในหนังสือเหล่านั้น ใช้คำคณะป่าแก้ว ติดเขาท้ายชื่อวัดทุกแห่ง ดังว่า วัดเขียนคณะป่าแก้ว วัดจะทิงคณะป่าแก้ว ดังนี้เป็นต้น ต้องกันกับชื่อวัดที่เคยเห็นในหนังสือพงศาวดารเหนือ ที่เรียกวัดทางเมืองสุโขทัยวัด ๑ ว่า วัดไตรภูมิ (คณะ) ป่าแก้ว
ข้าพเจ้านึกว่า วัดป่าแก้วในกรุงเก่าบางทีจะมีชื่ออื่นและเรียกคำป่าแก้วเข้าข้างท้าย อย่างเมืองสุโขทัยและเมืองนครศรีธรรมราช วัดในกรุงเก่าที่เป็นพระอารามหลวงใหญ่โตมีอยู่วัด ๑ ซึ่งเดี๋ยวนี้เรียกกันว่าวัดใหญ่ ครั้งกรุงเก่าเรียกกันว่าเจ้าพญาไทย วัดนี้ไม่มีชื่อในทำเนียบสมณศักดิ์ครั้งกรุงเก่า ในทำเนียบนั้นว่า สมเด็จพระวันรัตนอยู่วัดป่าแก้ว
เมื่อวัดป่าแก้วหาไม่พบ ข้าพเจ้าจึงคิดว่าจะเป็นวัดเจ้าพาไทยหรือวัดใหญ่นี้เอง เพราะคำว่า “ไทย” เป็นศัพท์เก่า แปลว่า “พระ” ใช้ในหนังสือไตรภุมิพระร่วงและหนังสือสวดมาลัยมีอยู่เป็นพยาน ถ้าเจ้าไทยแปลว่า “พระ” เจ้าพญาไทยก็แปลว่า “สังฆราชา” วัดเจ้าพญาไทยแปลว่า “เป็นที่อยู่ของสังฆราช”
ทำเนียบสมณศักดิ์ครั้งกรุงเก่าว่าพระสังฆราชมี ๒ องค์ คือ สมเด็จพระอริยวงศ์อยู่วัดมหาธาตุ ยังปรากฏอยู่ สมเด็จพระวันรัตนเป็นสังฆราชอีกองค์ ๑ ว่าอยู่วัดป่าแก้ว
เมื่อวัดสังฆราชยังมีชื่ออีกวัด ๑ คือ วัดเจ้าพญาไทย ก็เห็นว่าคือวัดเจ้าพญาไทยนี้เอง เป็นวัดที่สมเด็จพระวันรัตนอยู่ จะเรียกว่าวัดสังฆราชคณะป่าแก้ว เมื่อเรียกสั้นลง จึงคงแต่คำว่า “วัดป่าแก้ว” เป็นชื่อหนึ่งของวัดเจ้าพระยาไทย
ความคิดเห็นของข้าพเจ้านี้ เมื่อมาอ่านตรวจหนังสือพระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขานี้โดยถ้วนถี่ ได้ความว่า กรมหลวงธิราชวงศาสนิท ท่านทรงคิดเห็น และลงยุติเสียแล้วแต่ในรัชกาลที่ ๔
ด้วยความตอนรบพม่า เมื่อแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าสุริยาตรมรินทร์ มีแห่ง ๑ ในพระราชพงศาวดารฉบับพิมพ์ ๒ เล่มว่า
พระยากำแพงเพ็ชร (คือ พระเจ้ากรุงธนบุรี) กับพระยาเพชรบุรี ยกกองทัพออกไปตั้งที่วัดใหญ่ ดังนี้จึงควรยุติได้ว่าที่ในพระราชพงศาวดารว่า สมเด็จพระวันรัตนอยู่วัดป่าแก้วนั้น คืออยู่วัดเจ้าพญาไทย ที่เรียกทุกวันนี้ว่า “วัดใหญ่” มีพระเจดีย์สูง อยู่ริมทางรถไฟข้างตะวันออก เมื่อก่อนจะเข้ากรุงเก่านั่นเอง”
พระนิพนธ์คำอธิบายฉบับพระราชพงศาวดารฉบับ พระราชหัตถเลขา ที่ยกมากล่าวข้างต้นนี้ ค้านข้อความในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาที่นับว่าสำคัญอยู่ตอนหนึ่ง คือที่พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาว่าสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงสร้างวัดป่าแก้วนั้น ที่แท้จริง วัดนั้นเป็น “วัดแก้วฟ้า” หาใช่ป่าแก้วไม่ พระวินิจฉัยของสมเด็จฯ น่าจะเป็นไปได้มาก เพราะสงฆ์คณะป่าแก้วนี้เพิ่งมามีในสมัย สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ฉะนั้น สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ จึงไม่ได้สร้างวัดป่าแก้วแน่นอน แต่จะเป็นใครสร้าง และสร้างมาตั้งแต่เมื่อไรนั้น เป็นเรื่องที่จะต้องค้นคว้ากันต่อไป
ตอบลบหลังจากที่วัดป่าแก้วได้ร้างลงเป็นเวลาร่วม ๒๐๐ ปี พระภิกษุฉลวย สุธมฺโม ได้นำพระภิกษุ สามเณร และแม่ชีจำนวนหนึ่งมาปฏิบัติธรรม ณ ที่แห่งนี้ จนกระทั่งท่านต้องการจาริกไปปฏิบัติธรรมยังที่อื่น จึงได้อาราธนา พระครูภาวนาพิริยคุณ ( เปลื้อง วิสฏฺโฐ ) เจ้าอาวาสวัดยม อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ให้มาสานต่อการบูรณปฏิสังขรณ์ และดูแลพระชี
ตอบลบเมื่อ พระครูภาวนาพิริยคุณ ( ต่อมาได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระครูภาวนารังสี ) เข้าบูรณะวัดใหญ่ชัยมงคล จนได้รับการยกฐานะจากวัดร้างเป็นวัดที่มีพระภิกษุจำพรรษาเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ นั้น พระเจดีย์มีสภาพทรุดโทรมมาก เป็นเพราะการถูกทำลายเมื่อคราวเสียกรุง พ.ศ. ๒๓๑๐ ประการหนึ่ง เป็นเพราะคนไทยกันเอง ขุดคุ้ยทำลายเพื่อหาของมีค่าเป็นประโยชน์ส่วนตัวประการหนึ่ง
และอีกประการหนึ่งพระเจดีย์มีอายุถึง ๔๐๐ ปี จึงชำรุดทรุดโทรมจนเหลือกำลังของวัดที่จะเข้าแก้ไขให้คงอยู่ต่อไป เนื่องจากพระเจดีย์นั้นมีลักษณะคล้ายจะล้มครืนลงไม่วันใดก็วันหนึ่ง เมื่อฝนตกพายุพัดจะมีเสียงลั่นเป็นที่น่าวิตกยิ่ง
พระครูภาวนารังสี จึงได้ทำหนังสือแจ้งไปยัง ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งก่อนที่จะสายเกินไป
ปรากฏว่าอีกไม่นานต่อมากรมศิลปากรได้รับงบประมาณบูรณะปฏิสังขรณ์ซ่อมแซมพระ เจดีย์ชัยมงคล และบริเวณวัดใหญ่ชัยมงคล เฉพาะในเขตพุทธาวาส ๒๐ ล้านบาทเศษ กรมศิลปากรได้สั่งช่างเข้าดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ จนงานได้แล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๕
สิ่งก่อสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา ที่วัดใหญ่ชัยมงคล ได้ร่วมกับหลาย ๆ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทำการบูรณปฏิสังขรณ์ นอกจากพระเจดีย์ชัยมงคลแล้ว ยังมีอีกหลาย ๆ สิ่งที่น่าสนใจศึกษา
ตอบลบทางด้านทิศตะวันออกของพระเจดีย์ชัยมงคลทรงสร้างพระอุโบสถหลังใหญ่ยังมีซากให้เห็นอยู่จนทุกวันนี้ ได้แก่ ด้านเหนือพระอุโบสถปัจจุบัน มีผนังพระอุโบสถเดิม ก่อด้วยอิฐถือปูนหนาประมาณ ๔๐ ซม. เหลือซากให้เห็นอยู่ค่อนข้างสมบูรณ์แต่ก็ซวนเซเต็มที อาศัยความหนาจึงทรงตัวอยู่ได้ ผนังด้านทิศใต้เหลือซากผนังด้านหน้าและด้านหลังพระอุโบสถเพียงเล็กน้อยนอกนั้นกลายเป็นอิฐหักกากปูนทับถมกันอยู่ ซึ่งทางวัดได้ขนย้ายไปถมที่ลุ่มหมดแล้ว ตัวพระอุโบสถที่เห็นในปัจจุบันเป็นพระอุโบสถที่กรมศิลปากรออกแบบ แล้วทางวัดสร้างซ้อนไว้ในซากพระอุโบสถหลังเดิม
ทางด้านทิศตะวันตกของพระเจดีย์ชัยมงคล มีวิหารหลวง ที่เรียกว่า “ศาลาดิน” ซึ่งยังเหลือซากตอนฐานล่วงไว้ให้เห็น เข้าใจว่า คงเป็นสถานที่สำหรับพระเจ้าแผ่นดินบำเพ็ญพระราชกุศล
ติดกับศาลาดินด้านใต้ยังมี “เกย” สำหรับเจ้านายใช้เป็นที่เสด็จขึ้นลงยานพาหนะ
วิหารหลวงอีกหลังหนึ่งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพระอุโบสถ ติดกับกำแพงวัดซึ่งเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์นั้น เข้าใจว่า เดิมน่าจะสร้างขึ้นเป็นทำนอง พระที่นั่งทรงธรรม มากกว่าจะเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป เพราะภายในไม่ปรากฏว่ามีฐานชุกชีสำหรับตั้งพระพุทธรูป
นอกจากนี้ยังมี “มุขเด็จ” แบบมุขเด็จของพระมหาปราสาท ยื่นออกไปทางทิศใต้สำหรับเสด็จออก ให้ประชาชนเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทอีกด้วย
“วัดเจ้าพระยาไท-ชัยมงคล หรือวัดป่าแก้ว มากลายเป็นวัดร้าง เมื่อพุทธศักราช ๒๓๐๙ พม่าข้าศึกยกพลมาประชิดพระนครศรีอยุธยา สมเด็จพระที่นั่งสุริยาตรมรินทร์โปรดเกล้าฯ ให้ยกทัพเรือออกจากพระนครไปตั้งอยู่ที่วัดป่าแก้ว ทัพเรือไทยเสียทีข้าศึกจับพระยาเพชรบุรีได้ฆ่าเสียแล้วก็แตกกลับมา
พม่ายึดเอาวัดเจ้าพญาไทเป็นฐานปฏิบัติการ วัดใหญ่เจ้าพญาไทชัยมงคล หรือวัดป่าแก้วก็ถึงกาลวิปโยค...ฉิบหายลงด้วยน้ำมือข้าศึกผู้มีรากฐาน อุปนิสัยใจคอมาจากโจรป่าด้วยประการฉะนี้”
ปัจจุบันวัดใหญ่ชัยมงคล หรือวัดเจ้าพญาไทชัยมงคล หรือวัดป่าแก้วเหลือแต่ซาก....
สิ่งเหล่านี้เองที่เหลืออยู่ให้เราศึกษา แต่ว่าอิฐทุกก้อน ปูนทุกชิ้นแม้จะแหลกราญอยู่กับพื้นดินก็ยังมีความรู้สึกท้าทายผู้ไปพบเห็น ที่แหล่งนี้ และเป็นที่ประกาศชัยชนะอันบันลือเกียรติของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชให้ปรากฏไป ตราบกัลป์ปาวสาน"
(ฉันทิชย์ กระแสสินธุ์)
หากเปรียบวัดใหญ่ชัยมงคลเป็นคนสักคนหนึ่งแล้ว ช่วงแรก ที่หลวงปู่ฉลวย สุธมฺโม และ หลวงปู่พระครูภาวนารังสี ได้บุกบั่น ฝ่าฟัน ต่อสู้ จนวัดได้เป็นวัด คงจะเปรียบได้กับ เด็กทารกแรกเกิด ที่ต้องประคับประคอง ดูแลกันอย่างดี
ตอบลบจนปัจจุบัน ( พ.ศ. ๒๕๕๘ ) วัดใหญ่ชัยมงคล ที่ได้พระครูพิสุทธิ์บุญสาร ( แก่น ปุญฺญสมฺปนฺโน ) เป็นเจ้าอาวาส พระครูสิริชัยมงคล (พระมหาสำรอง ชยธมฺโม) และ พระมหาบรรณ์ ปญฺญาธโร เป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาส แม่ชีสมจิต ควรเลี้ยง เป็นหัวหน้าสำนักแม่ชี คงจะเปรียบได้กับคนหนุ่มที่มีกำลังวังชาดี มีความเข้มแข็งในทุก ๆ ด้าน เช่น
ด้านการพัฒนาวัตถุ วัดใหญ่ชัยมงคล ได้รับการยกย่องให้เป็น วัดพัฒนาตัวอย่าง ในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ และต่อมายังได้รับการยกย่องอีกว่าเป็น วัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่น พ.ศ. ๒๕๔๗
ด้านการพัฒนาบุคคลากร วัดใหญ่ชัยมงคล ได้พัฒนาบุคคลากรพระภิกษุจนเป็นที่ยอมรับ เห็นได้ชัดจาก การที่พระภิกษุจากวัดใหญ่ชัยมงคล ได้รับการคัดเลือกให้ไปดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดต่าง ๆ ในเขต อำเภอพระนครศรีอยุธยา พร้อมกันถึง ๓ รูป ในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้แก่ วัดสมณโกฏฐาราม วัดเชิงท่า วัดอโยธยา และในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ อีก ๑ วัด คือวัดภูเขาทอง
ด้านการพัฒนาการศึกษาปริยัติธรรม วัดใหญ่ชัยมงคล มีการเรียนการสอนหลักสูตรพระปริยัติธรรมมากมาย ไม่ว่าจะเป็นหลักสูตรนักธรรม หลักสูตรธรรมศึกษา เป็นต้น
ด้านการพัฒนาจิตใจ วัดใหญ่ชัยมงคล รักษามาตรฐานการปฏิบัติธรรมตามแนวทางของหลวงปู่พระครูภาวนารังสี อดีตเจ้าอาวาส ที่เน้นในเรื่องของกิจวัตร และพระกรรมฐาน พร้อมทั้งเปิดกว้างให้ผู้ที่ใฝ่ในการปฏิบัติได้มาฝึกหัดขัดเกลาในขั้นเบื้องต้น จนที่สุด วัดใหญ่ชัยมงคลได้รับการคัดเลือกจากมหาเถรสมาคม ให้เป็นสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา แห่งที่ ๓
ในวันข้างหน้า ไม่มีใครอาจทราบได้ว่าวัดใหญ่ชัยมงคลจะเป็นอย่างไร แต่แน่นอนว่าทุกสิ่งอย่างที่เกิดขึ้นด้วยปัจจัยหลาย ๆ อย่างประกอบกันเข้าเกิดขึ้นแล้ว ย่อมมีวันรุ่งเรือง วันเสื่อม และวันสูญ วัดเจ้าพระยาไทย ในอดีตเคยรุ่งเรืองเป็นอันมาก แต่ก็ต้องเสื่อมสิ้นไปในที่สุด วัดใหญ่ชัยมงคล ก็คงไม่พ้นจากความจริงในข้อนี้ แต่ก่อนจะถึงวันนั้นอยากให้ทุกท่านมาร่วมกัน รับรู้ความยิ่งใหญ่ ของสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ที่ตลบอบอวลอยู่ทุกอณูของวัดใหญ่ชัยมงคล
หมายเหตุ : บทความร้อยละเก้าสิบเก้า คัดมาจาก หนังสือสมเด็จพระนเรศวรมหาราช วัดใหญ่ชัยมงคล, เพิ่มศักดิ์ วรรยางกูร เรียบเรียง, อัมรินทร์พรินติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), พิมพ์ครั้งที่ ๑, ๒๕๔๘, หน้า ๑๓๐-๑๓๗ อีกหนึ่งส่วนที่เหลือ อาตมภาพทำการปรับปรุงเล็กน้อยเพื่อให้เหมาะสมกับเว็บไซต์ และเขียนเพิ่มเติมในส่วน "วัดใหญ่ชัยมงคลในปัจจุบัน" ขออนุโมทนากับโยมอาจารย์เพิ่มศักดิ์ ที่ได้เขียนหนังสือเล่มนี้ขึ้น และได้ถวายให้ทางวัดได้ใช้ประโยชน์ มา ณ โอกาสนี้ ขออนุโมทนา - พระมหานัธนิติ สุมโน