วันพุธที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

12.07.2560 Pha That Luang, Vientiane, Laos. พระธาตุหลวง หรือ พระเจดีย์โลกะจุฬามณี นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)

Pha That Luang, Vientiane, Laos.

พระธาตุหลวง หรือ พระเจดีย์โลกะจุฬามณี  นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)


Pha That Luang, Vientiane, Laos.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล 
จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/458/laos/vientiane/pha-that-luang


Pha That Luang (built 1566, reconstructed 1930)

Pha That Luang (The Great Stupa or Sacred Reliquary) is the most significant Laotian religious and national monument. It is situated on a hill about three miles north east of the center of Vientiane.
Legend dates its founding from 3rd century BC Asokan missionaries who erected a shrine here to enclose a breastbone of the Buddha. The earliest physical remains of a religious structure on this site, however, seem to date from a Khmer monastery around the 12th century.
In the mid-16th century King Setthathirat moved his capital from Luang Prabang to Vientiane and ordered construction of That Luang. Work began in 1566. Covered in gold leaf, it repeatedly was plundered by Burmese, Siamese and Chinese. A Siamese invasion of 1828 led to massive destruction of the capital and virtual abandonment of That Luang. The present structure is a French-directed reconstruction from the 1930s—made to replace an earlier botched French reconstruction of 1900—and is based on the detailed drawings from the late 1860s by the talented French architect and explorer Louis Delaporte.
There three levels, each conveying a reflection of part of the Buddhist doctrine. The first level is 68 x 69 m (223 x 226 ft); the second is 48 meters (157 ft) along each side; the third level is 30 meters (98 ft) along each side. From ground to pinniacle, the thaat measures 45 meters (147.6 ft). The encircling cloister walls are almsot almost 85 meters (279 ft) along each side and contain a large number of Lao and Khmer sculptures.
Text by Robert D. Fiala.

Location

The approximate location of the site is 17.976646' N, 102.636459' E (WGS 84 map datum).

 01.Pha That Luang, Vientiane, Laos.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
พระธาตุหลวง หรือ พระเจดีย์โลกะจุฬามณี  นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)


02.Pha That Luang, Vientiane, Laos.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
พระธาตุหลวง หรือ พระเจดีย์โลกะจุฬามณี  นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)


03.Pha That Luang, Vientiane, Laos.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
พระธาตุหลวง หรือ พระเจดีย์โลกะจุฬามณี  นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)


04.Pha That Luang, Vientiane, Laos.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
พระธาตุหลวง หรือ พระเจดีย์โลกะจุฬามณี  นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)


05.Pha That Luang, Vientiane, Laos.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
พระธาตุหลวง หรือ พระเจดีย์โลกะจุฬามณี  นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)


06.Pha That Luang, Vientiane, Laos.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
พระธาตุหลวง หรือ พระเจดีย์โลกะจุฬามณี  นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)


07.Pha That Luang, Vientiane, Laos.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
พระธาตุหลวง หรือ พระเจดีย์โลกะจุฬามณี  นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)


08.Pha That Luang, Vientiane, Laos.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
พระธาตุหลวง หรือ พระเจดีย์โลกะจุฬามณี  นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)


09.Pha That Luang, Vientiane, Laos.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
พระธาตุหลวง หรือ พระเจดีย์โลกะจุฬามณี  นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)


10.Pha That Luang, Vientiane, Laos.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
พระธาตุหลวง หรือ พระเจดีย์โลกะจุฬามณี  นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)


11.Pha That Luang, Vientiane, Laos.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
พระธาตุหลวง หรือ พระเจดีย์โลกะจุฬามณี  นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)


12.Pha That Luang, Vientiane, Laos.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
พระธาตุหลวง หรือ พระเจดีย์โลกะจุฬามณี  นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)


13.Pha That Luang, Vientiane, Laos.Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
พระธาตุหลวง หรือ พระเจดีย์โลกะจุฬามณี  นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)


พระธาตุหลวง หรือ พระเจดีย์โลกะจุฬามณี  นครหลวงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. (สปป.ลาว)
Pha That Luang, Vientiane, Laos.

Photo Gallery. Asian Historical Architecture.

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล 
จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/458/laos/vientiane/pha-that-luang

---------------------------------------------------------------------------------------

จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Pha_That_Luang


Pha That Luang

From Wikipedia, the free encyclopedia

Pha That Luang (LaoທາດຫຼວງIPA: [tʰâːt lwǎːŋ] 'Great Stupa') is a gold-covered large Buddhist stupa in the centre of VientianeLaos.[1] Since its initial establishment, suggested to be in the 3rd century, the stupa has undergone several reconstructions as recently as the 1930s due to foreign invasions of the area. It is generally regarded as the most important national monument in Laos and a national symbol.



1.That Luang


History.
2.Pha That Luang and its place in Vientiane

The Pha That Luang according to the Lao people was originally built as a Hindu temple in the 3rd century. Buddhist missionaries from the Mauryan Empire are believed to have been sent by the Emperor Ashoka, including Bury Chan or Praya Chanthabury Pasithisak and five Arahata monks who brought a holy relic (believed to be the breastbone) of Lord Buddha to the stupa.[2] It was rebuilt in the 13th century as a Khmer temple which fell into ruin.
In the mid-16th century, King Setthathirat relocated his capital from Luang Prabang to Vientiane and ordered construction of Pha That Luang in 1566.[3] It was rebuilt about 4 km from the centre of Vientiane at the end of Pha That Luang Road and named Pha That Luang.[2] The bases had a length of 69 metres each and was 45 metres high, and was surrounded by 30 small Stupas.[2]
In 1641, a Dutch envoy of the Dutch East India Company, Gerrit van Wuysoff, visited Vientiane and was received by King Sourigna Vongsa at the temple, where he was, reportedly, received in a magnificent ceremony. He wrote that he was particularly impressed by the "enormous pyramid and the top was covered with gold leaf weighing about a thousand pounds".[4] However, the stupa was repeatedly plundered by the Burmese, Siamese and Chinese.[3]
The Pha That Luang was destroyed by the Thai invasion in 1828, which left it heavily damaged and abandoned. It was not until 1900 that the French restored to its original design based on the detailed drawings from 1867 by the French architect and explorer Louis Delaporte.[3] However the first attempt to restore it was unsuccessful and it had to be redesigned and then reconstructed in the 1930s.[3] During the Franco-Thai War, Pha That Luang was heavily damaged during a Thai air raid. After the end of World War II, the Pha That Luang was reconstructed.



 3.King Jayavarman VII of the Khmer Empire.


Architecture.

The architecture of the building includes many references to Lao culture and identity, and so has become a symbol of Lao nationalism. The stupa today consists of three levels, each conveying a reflection of part of the Buddhist doctrine. The first level is 223 feet (67 metres) by 226 feet (68 metres), the second is 157 feet (47 metres) along each side and the third level is 98 feet (29 metres) along each side.[3] From ground to pinnacle, the Pha That Luang is 147.6 feet (44 metres) high.

The area around Pha That Luang is now gated, to keep traffic out. Previously visitors could drive around the whole complex. The encircling walls are roughly 279 feet (85 metres) long on each side and contain a large number of Lao and Khmer sculptures including one of Jayavarman VII.

 4.Naga Pagoda west Pha That Luang, Vientiane, Laos in October 2006


 5.Pha That Luang stupa



6.That Luang stupa of night

7.Thatluang Festival (2010)

 8.Thatluang Festival (2010)

 9.The national symbol of Laos at sunset

10.That Luang
 11.View of the stupa inside the temple


12.The naga inside the temple

-------------------------------------------------------------------------


จาก https://th.wikipedia.org/wiki/พระธาตุหลวง


พระธาตุหลวง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

พระธาตุหลวง
Pha That Luang 02.jpg
พระธาตุหลวง
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อพระธาตุหลวง
ที่ตั้งทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เวียงจันทน์ ประเทศลาว
ประเภทโบราณสถานคู่ประเทศลาว
นิกายเถรวาท
- ประดิษฐานพระอุรังธาตุ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
เวลาทำการ8.00-17.00
จุดสนใจสักการะพระราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช
กิจกรรมนมัสการพระธาตุหลวง ปูชนียสถานศักดิ์สิทธิ์ คู่กับพระธาตุพนม
พระธาตุหลวง หรือ พระเจดีย์โลกะจุฬามณี (ลาวທາດຫລວງ หรือ ลาวພຣະທາດຫລວງ) นับเป็นปูชนียสถานอันสำคัญยิ่งแห่งเวียงจันทน์ และเป็นศูนย์รวมใจของประชาชนชาวลาวทั่วประเทศ ตามตำนานกล่าวว่าพระธาตุหลวงมีประวัติการก่อสร้างนับพันปีเช่นเดียวกันพระธาตุพนมในประเทศไทย และปรากฏความเกี่ยวพันกับประวัติศาสตร์ของดินแดนทางฝั่งขวาแม่น้ำโขงอย่างแยกไม่ออก สถานที่นี้ถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์สำคัญอย่างของประเทศลาว ดังปรากฏว่าตราแผ่นดินของลาวที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนี้มีรูปพระธาตุหลวงเป็นภาพประธานในดวงตรา

ตำนานการสร้างพระธาตุหลวง[แก้ไขต้นฉบับ]

ตามตำนานอุรังคนิทานได้กล่าวไว้ว่า พระธาตุหลวงสร้างขึ้นคราวเดียวกับการสร้างเมืองนครเวียงจันทน์ หลังจากก่อสร้างพระธาตุพนมแล้ว ผู้สร้างคือ บุรีจันอ้วยล้วย หรือ พระเจ้าจันทบุรีประสิทธิศักดิ์ เจ้าเหนือหัวผู้ครองนครเวียงจันทน์พระองค์แรก พร้อมกับพระอรหันต์ 5 องค์ เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุส่วนหัวเหน่า 27 พระองค์ ซึ่งได้อัญเชิญมาจากเมืองราชคฤห์ ประเทศอินเดีย โดยก่อเป็นอุโมงค์หินคร่อมไว้ อุโมงค์นั้นกว้างด้านละ 5 วา ผนังหนา 2 วา และสูงได้ 4 วา 3 ศอก เมื่อได้ทำการบรรจุพระบรมสารีริกธาตุแล้ว พระเจ้าจันทบุรี จึงได้มีพระราชดำรัสให้เสนาอำมาตย์สร้างวิหารขึ้นในเมืองจันทบุรีหรือนครเวียงจันทน์ 5 หลัง เพื่อให้เป็นที่อยู่จำพรรษาของ พระอรหันต์ทั้ง 5 องค์นั้นด้วย ตามตำนานดังกล่าวระบุศักราชการสร้างว่าอยู่ในช่วง พ.ศ. 238
ในระยะต่อมาแม้ว่าชื่อของเวียงจันทน์จะไม่ได้ปรากฏในหนังสือประวัติศาสตร์ใดเลย แต่อย่างไรก็ดี นครเวียงจันทน์ก็ยังคงเป็นเมืองสำคัญอยู่ตลอดมา ดังปรากฏการอ้างถึงชื่อเมืองเวียงจันทน์ในหลักศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง และในพงศาวดาวลาวฉบับต่างๆ ก็ระบุด้วยว่านับตั้งแต่พระเจ้าฟ้างุ้มเสวยราชสมบัติที่เมืองหลวงพระบางแล้ว ก็ได้มีการส่งเชื้อพระวงศ์และขุนนางสำคัญมาปกครองเมืองนี้โดยตลอด จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2109 หลังจาก พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช วีรกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ของอาณาจักรล้านช้าง ได้ทรงย้ายราชธานีเมืองเชียงทองหลวงพระบาง ลงมายังนครเวียงจันทน์ได้ 6 ปีแล้ว พระองค์จึงได้มีพระบรมราชโองการให้สร้างองค์พระธาตุหลวงขึ้นมาใหม่ ในเขตพระราชอุทยานทางด้านทิศตะวันออกของกรุงเวียงจันทน์ โดยสร้างครอบพระธาตุองค์เก่าที่มีมาแต่โบราณกาล เมื่อสร้างพระธาตุหลวงเสร็จแล้ว จึงทรงขนานนามพระธาตุนี้ว่า "พระธาตุเจดีย์โลกจุฬามณี” หรือ “พระธาตุใหญ่” (แต่คนส่วนมากมักเรียกว่า “พระธาตุหลวง”) และมีพระราชโองการให้อุทิศข้าพระธาตุจำนวน 35 ครอบครัว อยู่เฝ้ารักษาพระธาตุนี้ พร้อมทั้งที่ดินสำหรับให้ครอบครัวของข้าพระธาตุทำกิน

ลักษณะองค์พระธาตุ[แก้ไขต้นฉบับ]

รูปของพระธาตุหลวงนี้ ได้ปรากฏเป็นภาพประธานในตราแผ่นดินของลาวนับตั้งแต่ พ.ศ. 2534 เป็นต้นมา
องค์พระธาตุมีความสูง 45 เมตร รูปลักษณะคล้ายดอกบัวตูม อันหมายถึงสัญลักษณ์คำสอนของพระพุทธเจ้า มีพระธาตุเล็กอยู่บนพระธาตุใหญ่ชั้นที่สอง รองทั้งสี่ด้าน มี 30 องค์เรียกวา “สัมมติงสบารมี” อยู่ในธาตุองค์เล็กทั้ง 30 องค์นี้ ผู้สร้างได้นำเอาทองคำมาหล่อเป็นรูปพระธาตุเล็ก ๆ 30 องค์ แต่ละองค์หนัก 4 บาท และเอาทองคำมาตีเป็นแผ่น รุปลักษณะเหมือนใบลาน เรียกว่า “ลานคำ” 30 แผ่น แต่ละแผ่นยาวศอกกำมือ (คือวัดศอก โดยกำมือไว้ ไม่วัดจากปลายมือ กำมือแล้วยื่นนิ้วก้อยออกมา วัดที่สุยปลายนิ้วก้อยเท่านั้น) แล้วเขียนคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าลงในใบลานคำทุกใบว่า “เย ธัมมา เหตุปปัพพะวา เตสัง เหตุง ตะถาคโต เตสัญจะ โย นิโรโธ จะ เอวัง วาที มะหาสะมะโณ” แปลว่า “ธรรมทั้งหลายเหล่าใด มีเหตุเป็นแดนเกิด พระตถาคตเจ้า ตรัสเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และเพราะเหตุเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติตรัสเช่นนี้” แล้วเอาทองคำและใบลานลงไว้ในพื้นธาตุเล็ก ทั้ง 30 องค์ การที่ได้สร้างพระธาตุขนาดเล็กนี้ขึ้นมา มีความหมายว่า “ผู้ที่จะได้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น จะต้องได้สร้างคุณงามความดีไว้ให้ถึง 30 ประการ มีทานบารมี เป็นต้น จนถึงอุเบกขา ปรมัตถบารมีเป็นปริโยสาน
รูปชั้นล่างสุดเป็นฐานพระธาตุ 4 เหลี่ยม ทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตกยาวด้านละ 69 เมตร ส่วนทางทิศเหนือและทางทิศใต้ยาวด้านและ 68 เมตร ด้านล่างมีใบเสมารอบ 4 ด้าน มีทั้งหมด 323 ใบ มีหอไหว้ทั้ง 4 ด้าน มีบันไดขึ้นหอไหว้ทุกหอ
ที่หอไหว้ทิศตะวันออก ชั้นบนขึ้นไป มีธาตุเล็กองค์หนึ่งที่มีลวดลายสวยงาม และได้สร้างหอครอบไว้อีกชั้นหนอ หอที่สร้างครอบมีลวดลายวิจิตรสวยงามเช่นเดียวกัน ธาตุเล็กนี้เรียกว่า "พระธาตุศรีธรรมทายโลก" ด้านที่สอง ถัดจากหอไหว้ขึ้นไป แต่ละด้านยาว 48 เมตร มีกลีบดอกบัวล้อมรอบ ทั้งหมดมีจำนวน 120 กลีบ ภายในกลีบดอกบัวทำด้วยกระดูกงู (เส้นลวดเป็นขอบล้อมทั้ง 4 ด้าน) แล้วตั้งใบเสมาบนกระดูกงูนั้น ใบเสมาในชั้นนี้ จำนวน 228 ใบ ตรงกลางใบเสมาทุกใบเป็นโพรง (ไม่ทะลุ) สำหรับใส่พระพิมพ์ใบละองค์ บนชั้นนี้มีประตูโขงตรงกับทางขึ้นหอไหว้ทั้ง 4 ด้านพอเข้าไปที่ประตูโขงนั้นก็จะพบพระธาตุบารมีที่กล่าวแล้ว และธาตุบารมีก็มีชื่อเรียกทุกองค์ คือเริ่มแต่ทานบารมี ทานอุปบารมีในจนครบ ทั้ง 30 องค์
ชั้นที่สามสร้างขึ้นถัดจากพระธาตุองค์เล็ก 30 องค์นั้น ขึ้นไปบนชั้นนี้จะเห็นว่า มีความกว้าง ด้านละ 30 เมตร พื้นด้านที่สามนี้ มีรูปลักษณะเป็นหลังเต่า หรือโอคว่ำ (ขันตักน้ำคว่ำ) อยู่บนชั้นหลังเต่า เป็นฐานของยอดพระธาตุ มีรูปเป็นสี่เหลียมล้อมรอบด้วยกลีบดอกบัวใหญ่ ซึ่งมีปลายกลีบเริ่มบานออก ถัดจากดอกบัวไปจึงมีรูปรัดเอว เหนือจากที่รัดเอวไปจะเป็นฐานจอมธาตุ ฐานนี้จะเป็นรูปสี่เหลี่ยมเหวอ (บาน) ขึ้นด้านบนนิดหน่อย ต่อจากฐานนี้ คนโบราณเรียกว่า “ดวงปี” ดังมีอยู่ในคำกลอนว่า “เจดีย์ดิ้ว ดวงปีพ้นพุ่ง” อยู่บนดวงปี จึงเป็นสเวตฉัตรเป็นยอดพระธาตุที่สูงสุด” อยู่รอบฐานพระธาตุ ก็ได้สร้างบริเวณล้อมรอบติดกันทั้ง 4 ด้าน มีประตูเข้าทั้ง 4 ด้าน ประตูอยู่ระหว่างกลาง บริเวณแต่ละด้านพอดี บริเวณยาวด้านละ 91 เมตร 75 เซนติเมตร
นอกบริเวณทางทิศเหนือ และทางทิศใต้ มีวัดสำหรับพระภิกษุสามเณรอยู่อาศัย เรียกว่า “วัดธาตุหลวงเหนือและวัดธาตุหลวงใต้”

ประเพณีนมัสการพระธาตุหลวง[แก้ไขต้นฉบับ]

ประเพณีบุญนมัสการพระธาตุหลวงนี้ ได้ทำสืบต่อกันมาตั้งแต่โบราณกาล โดยมีพระมหากษัตริย์องค์เป็นประมุขของชาติทรงเป็นประทาน จึงนับว่าบุญนมัสการพระธาตุหลวงนี้เป็นบุญของหลวง ในวัน ขึ้น 13 ค่ำ เดือน 12 ตอนบ่ายประชาชนทุกภาคส่วน มารวมกันที่ วัดศรีสัตนาค เพื่อแห่ปราสาทผึ้ง และต้นกัลปพกฤษ์ ไปทอดถวายที่วัดศรีเมืองตอนค่ำมีงานมหรสมโภชน์ตลอดทั้งคืน วันขึ้น 14 ค่ำ เดือน 12 ตอนเช้า ทำพิธีดื่มน้ำพระพิพัธสัจจาอยู่สิมวัดองตื้อ ผู้ที่เข้ารับน้ำสาบาน มีตั้งแต่ระดับหัวหน้าขึ้นไป ถึงคณะรัฐมนตรีของประเทศลาว ตอนบ่าย 2 โมง ประชาชนทุกภาคส่วนตั้งขบวนแห่ปราสาทผึ้ง และต้นกัลปพฤกษ์ ออกไปธาตุหลวง เวลาบ่าย 3 โมง ประมุขรัฐ และเจ้านาย ทั้งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ออกไปสู่พระธาตุหลวง เพื่อเป็นเกียรติแห่ปราสาทผึ้งเดินรอบบริเวณพระธาตุหลวงร่วมกับประชาชนที่มาจากทั่วสารทิศ เมื่อเวียนครบ 3 รอบแล้วก็ทำพิธีถวาย ถึงเวลากลางคืนก็มีงานมหรสพสมโภช วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ตอนเช้ามีการทำบุญตักบาตรในบริเวณพระธาตุ แล้วฟังพระธรรมเทศนา 1 กัณฑ์ ตอนกลางคืนมีงานฉลองเป็นวันสุดท้าย วันแรม 1 ค่ำ เดือน 12 เสร็จงานจากพระธาตุหลวงแล้ว ก็มีการแห่ปราสาทผึ้งมาถวายที่วัดองค์ตื้อ และวัดอินแปง อีกจึงจะถืองานนมัสการพระธาตุหลวงเสร็จสิ้นสมบูรณ์[ต้องการอ้างอิง]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้ไขต้นฉบับ]

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น