วันพฤหัสบดีที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

14.07.2560 Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. วัดบรมพุทธาราม ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand.

วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/980/thailand/ayutthaya/wat-borom-phuttharam



Wat Borom Phuttharam (วัดบรมพุทธาราม) (1689)

Wat Borom Phuttharam (also called Wat Borom Buddharam) is situated on the southeast side of Ayutthaya on the grounds of the present-day Rajabhat University. The temple was constructed in 1689 during the reign of King Phet Racha and underwent a major renovation during the reign of King Borommakot. The wat is was often referred to as the Wat of 'Glazed Tiles' due to the yellow-colored roof tiles cast by a specialist named Muen Chantaraj. However, these are no longer evident as none of the roofs have survived.
During the renovation by King Bormommakot three pairs of door panels covered with mother-of-pearl inlay were created for the ubosot. All of these survive but are located at various sites such as the Bangkok National Museum, the Temple of the Emerald Buddha (in Bangkok), and Wat Benchamabophit (the Marble Temple).

Location

The approximate location of the site is 14.347713' N, 100.561340' E (WGS 84 map datum).

 01.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

02.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


03.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


04.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


05.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


06.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


07.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


08.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


09.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


10.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


11.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


12.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


13.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


14.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


15.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

16.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

17.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

18.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

19.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

20.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

21.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

22.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

23.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

24.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

25.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

26.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

27.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

28.Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


Wat Borom Phuttharam, Ayutthaya, Thailand.

Photo Gallery. Asian Historical Architecture.

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/980/thailand/ayutthaya/wat-borom-phuttharam


----------------------------------------------------------


ภาพ วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

จาก https://th.foursquare.com/-wat-borom-phuttharam



 1.วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

 2.วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 3.วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 4.วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 5.วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 6.วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 7.วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 8.วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


9.วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


ขอบคุณสำหรับท่านเจ้าของภาพ วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
ครับ.

----------------------------------------------------

จาก http://www.weloveayutthaya.com/?ContentID=ContentID-120216153432167

วัดบรมพุทธาราม นิวาสถานเดิมสมเด็จพระเพทราชา

วัดบรมพุทธาราม จ.พระนครศรีอยุธยา หรือ วัดกระเบื้องเคลือบ เป็นวัดเก่าที่ สมเด็จพระเพทราชา โปรด ฯ ให้สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2226 เมื่อครั้งยังรับราชการกรมช้าง ในบริเวณย่านป่าตอง อันเป็นนิวาสเดิมก่อนที่พระองค์จะขึ้นครองราชย์ โดยวัดได้มีฐานะเป็นพระอารามหลวงในเวลาต่อมา อีกทั้งยังเป็นที่จำพรรษาของพระราชาคณะ

ศาสนสถานที่สร้างขึ้นนั้น โปรด ฯ ให้หมื่นจันทรา ช่างเคลือบกระเบื้องสี มุงหลังคาด้วยกระเบื้องเคลือบสีเหลือง ทั้งพระอุโบสถ พระวิหาร ศาลาการเปรียญ ซึ่งแตกต่างจากวัดอื่น อันเป็นที่มาของนามวัด 

ต่อมารัชสมัยสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ เมื่อปี พ.ศ. 2295 โปรดฯ ให้บูรณะปฏิสังขรณ์วัด และโปรดให้ทำบานประตูประดับมุกสำหรับพระอุโบสถ ซึ่งบานประตูดังกล่าวปัจจุบันอยู่ ณ หอมณเฑียรธรรม วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) คู่หนึ่ง วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามคู่หนึ่ง ส่วนอีกคู่หนึ่งได้ถูกลักลอบตัดไปทำตู้หนังสือและติดตามคืนมาได้ ปัจจุบันได้เก็บรักษา ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร 

1.วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 2.วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


ศาสนสถานและโบราณวัตถุภายในวัดบรมพุทธาราม ประกอบด้วย พระอุโบสถ อันเป็นประธานของวัด ตั้งอยู่บนฐานแอ่นโค้งแบบเรือสำเภา ซึ่งเป็นศิลปะอยุธยาตอนปลาย มีมุขโถงด้านหน้าและหลังของพระอุโบสถ ด้านหน้ามีประตู 3 ช่อง ด้านหลังมีช่องประตู 2 ช่อง ด้านข้างมีช่องหน้า ที่ประดับด้วยบันแถลง ภายในประดิษฐานพระพุธรูปหินทรายถือปูน ปางมารวิชัยเป็นประธาน 
พระวิหาร ตั้งอยู่ด้านข้างพระอุโบสถ ปรากฏเฉพาะส่วนของฐานและผนัง 
ปรางค์เจดีย์ ตั้งอยู่ด้านหน้าพระอุโบสถ เป็นปรางค์ย่อมุมไม้ยี่สิบแปด ฐานล่างประดับลายแข้งสิงห์ ส่วนบนมีซุ้มเรือนธาตุทั้งสี่ด้าน 

 3.วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


เจดีย์ย่อมุม ตั้งอยู่ด้านหน้าปรางค์เจดีย์ ฐานล่างย่อมุมไม้สิบสอง ด้านหน้ามีบันไดทางขึ้น ส่วนบนเป็นฐานเจดีย์ ที่ประดับด้วยลวดบัวและลายแข้งสิงห์ โดยส่วนยอดได้ทลายลงไป
    พระอุโบสถ เป็นประธานของวัด ล้อมรอบด้วยกำแพงแก้ว เหนือช่องหน้าต่างประดับด้วยซุ้มบันแถลง มีมุขโถงทั้งด้านหน้าและหลังพระอุโบสถ  ประตูยอดปราสาท ซึ่งเป็นประตูกลางประตูซุ้มบันแถลง ที่อยู่ด้านข้างทั้งสอง พระวิหาร มีมุขทั้งด้านหน้าและด้านหลัง

4.วัดบรมพุทธาราม  ตำบล ประตูชัย อำเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


ปัจจุบันวัดบรมพุทธาราม ตั้งอยู่ตำบลประตูชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยาในเขตของสถาบันราชภัฏพระนครศรีอยุธยา บนพื้นที่กึ่งกลางค่อนไปทางทิศใต้ของเกาะเมือง ริมถนนศรีสรรเพชญ์ (ถนนมหารัฐยาหรือถนนป่าตอง) ฟากตะวันออก ใกล้ประตูชัยซึ่งเป็นประตูใหญ่บนแนวกำแพงเมืองด้านใต้.

------------------------------ 

1 ความคิดเห็น:

  1. ขอบคุณข้อมูลจาก https://watboran.wordpress.com/category/วัดบรมพุทธาราม

    วัดบรมพุทธาราม

    ประวัติ

    วัดบรมพุทธาราม ตั้งอยู่ในสถาบันราชภัฏพระนครศรีอยุธยาทางด้านทิศตะวันตก
    เป็นวัดที่สมเด็จพระเพทราชากษัตริย์อยุธยาองค์ที่ 28 แห่งราชวงค์บ้านพลูหลวง
    โปรดให้สร้างขึ้นในบริเวณย่านป่าตองอันเป็นนิวาสสถาน(บ้าน)เดิม
    วัดนี้เคยเป็นพระอารามหลวงครั้งกรุงศรีอยุธยา และพระอุโบสถ วิหารการเปรียญ
    มุงหลังคาด้วยกระเบื้องเคลือบแปลกประหลาดกว่าวัดอื่น จึงเรียกกันเป็นสามัญว่า
    “วัดกระเบื้องเคลือบ”

    การมุงหลังคากระเบื้องเคลือบสีเหลืองแกมเขียวนี้ ในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
    ได้โปรดให้มุงหลังคา พระที่นั่งดุสิตสวรรค์ธัญญมหาปราสาทในวังนารายณ์ราชนิเวศน์
    และวิหารกลางในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดลพบุรี เมื่อพระเพทราชารับราชการ
    เป็นเจ้ากรมช้าง ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช อยู่ที่วังนารายณ์ราชนิเวศน์
    คงเห็นหลังคากระเบื้องเคลือบสีเหลืองสวยงามดี จึงได้ให้มุงหลังคากระเบื้องเคลือบ
    ที่วัดบรมพุทธารามนี้บ้าง

    ปี พ.ศ. 2499กรมศิลปากรได้ทำการขุดแต่งโบราณสถานวัดบรมพุทธาราม
    ได้พบกระเบื้องเคลือบสีเหลืองรูปครุฑ รูปเทพพนม เคลือบสีเหลืองแกมเขียว
    เดิมคงติดประดับอยู่ที่พระเจดีย์ซุ้มประตูหน้าโบสถ์ ศิลปโบราณวัตถุสถาน
    ประกอบด้วยพระอุโบสถ ก่ออิฐถือปูน หันหน้าไปทางทิศเหนือ มีประตูด้านหน้า 3 ประตู
    ด้านหลัง 2 ประตู มีมุขหน้าหลังและมีซุ้มประตูปูนปั้นเป็นรูปพระจุฬามณี พระประธานเป็น
    พระพุทธรูปปูนปั้นก่ออิฐถือปูน

    ในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ มีหลักฐานว่าโปรดให้ซ่อมวัดนี้ครั้งหนึ่ง
    และโปรดให้ทำบานประตูประดับมุกติดประตูพระอุโบสถเพิ่มขึ้น ปัจจุบันบานมุกนี้
    ประดิษฐาน ณ หอพระมณเฑียรธรรม ในวัดพระศรีรัตนศาสดารามคู่หนึ่ง
    และที่วัดเบญจมบพิตรคู่หนึ่ง ส่วนอีกคู่หนึ่งมีผู้นำไปตัดทำเป็นตู้ใส่หนังสือ ซึ่งตู้ใบนี้
    สมเด็จเจ้าฟ้าฯกรมพระนครสวรรค์วรพินิต ทรงได้มาละประทานแก่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
    เป็นงานฝีมือประดับมุกยอดเยี่ยมทั้ง 3 คู่

    รอบนอกพระอุโบสถ มีซากฐานตั้งใบเสมา รวม 8 ใบ มีกำแพงรอบพระอุโบสถทั้งสี่ด้าน
    มีประตูกำแพงด้านละ 2 ประตูภายนอกกำแพงด้านหน้าอุโบสถ มีเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสอง
    เรียงอยู่ 2 องค์ มีซากวิหารรูปสี่เหสี่ยงผืนผ้าหันหน้าไปทางทิศเหนือ มีประตูใหญ่
    ด้านละ 1 ประตู ประตูข้างด้านใต้ 2 ประตู

    จิตรกรรม พบที่ บานแผละหน้าต่าง เป็นพื้นลายพุ่มข้าวบิณฑ์ บานแผละประตูหลัง
    ด้านขวาพระประธานมีภาพลางๆคล้ายบุคคลนั่งในปราสาท บานแผละ*ประตูหลังด้านซ้าย
    พระประธาน มีกรอบเส้นสินเทาและเส้นหลังคาปราสาท สีที่ใช้เท่าที่ปรากฏมีสีเขียว,สีดำ
    ลงเป็นพื้นพุ่มข้าวบิณฑ์ และลายกระหนกที่ล้อมรอบพุ่มข้าวบิณฑ์
    พุ่มข้าวบิณฑ์์แต่ละบานแผละ* มีลักษณะต่างกันบางแห่งเป็นลายพันธุ์พฤกษา
    บางแห่งเป็นลายกระหนก เขียนสีลงบนผนังปูนฉาบที่เรียบสีขาว เนื่องจากในปัจจุบันยัง
    ไม่มีหน่วยงานของกรมศิลปากรเข้าไปทำการอนุรักษ์ ภาพจิตรกรรมจึงถูกลบเลือนไป
    จนแทบจะไม่ปรากฏให้เห็นอีกแล้ว

    * หมายเหตุ บานแผละคือผนังตอนที่บานประตูหน้าต่างเมื่อเปิดเข้าไปแล้วแปะอยู่

    การเดินทาง
    หากเดินทางมาจากรุงเทพโดยใช้ถนนสายเอเชีย(ทางหลวงหมายเลข 32)เลี้ยวซ้าย
    ตรงสี่แยกเข้าอยุธยา ตรงเข้ามาผ่านสะพานนเศวร ไปตาม ถ.โรจนะจนสุดถนนแล้ว
    เลี้ยวซ้าย วัดบรมพุทธารามจะอยู่ทางซ้ายมือ

    Link อื่น ๆ
    แผนที่ท่องเที่ยวพระนครศรีอยุธยา
    แผนที่ตัวเมืองพระนครศรีอยุธยา


    ความเห็น : ปิดความเห็น บน วัดบรมพุทธาราม

    หมวดหมู่ : ๑๕.วัดบรมพุทธาราม

    ตอบลบ