Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล
จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/40/cambodia/preah-vihear-province/preah-vihear
Preah Vihear
Preah Vihear is an ancient Khmer temple that straddles a large cliff along the present day border between Thailand and Cambodia. Sovereignty over the temple had been disputed for many years until 1962, when the International Court of Justice ruled that it belonged to Cambodia. However, due to civil war that engulfed Cambodia in the following year, the temple was not open to visitors until 1992, and only briefly. In 1998, the temple was open from the Thai side of the border, and presently it is possible to approach from both Cambodia and Thailand.
The political situation of the temple area has made scholarship difficult until recently. It is known that the temple is dedicated to the god Shiva and was built during the reign of Suryavarman I (1002-50) with continued construction during the reign of his successor, Suryavarman II (1113-50).
In Thailand, the temple is known as Prasat Khao Phra Wiharn.
Location
The approximate location of the site is 14.390997' N, 104.679916' E (WGS 84 map datum).
01.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
02.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
03.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
04.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
05.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
06.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
07.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
08.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
09.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
10.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
11.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
12.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
13.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
14.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
15.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
16.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
17.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
18.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
19.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
20.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
21.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
22.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
23.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
24.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
25.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
26.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
27.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
28.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
29.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
30.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
31.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
32.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
33.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
34.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
35.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
36.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
37.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
38.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
39.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
40.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
41.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
42.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
43.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
44.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
45.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
46.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
47.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
48.Preah Vihear, Preah Vihear Province, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพระวิหาร จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.
-------------------------------------------------------------------------
https://en.wikipedia.org/wiki/Preah_Vihear_Temple
Preah Vihear Temple
From Wikipedia, the free encyclopedia
Preah Vihear Temple (Khmer: ប្រាសាទព្រះវិហារ Prasat Preah Vihea) is an ancient Hindu temple built during the period of the Khmer Empire, that is situated atop a 525-metre (1,722 ft) cliff in the Dângrêk Mountains, in the Preah Vihearprovince, Cambodia. In 1962, following a lengthy dispute between Thailand and Cambodia over ownership, the International Court of Justice (ICJ) in The Hague ruled that the temple is in Cambodia.[1]
Affording a view for many kilometers across a plain, Prasat Preah Vihear has the most spectacular setting of all the temples built during the six-centuries-long Khmer Empire. As a key edifice of the empire's spiritual life, it was supported and modified by successive kings and so bears elements of several architectural styles. Preah Vihear is unusual among Khmer temples in being constructed along a long north-south axis, rather than having the conventional rectangular plan with orientation toward the east. The temple gives its name to Cambodia's Preah Vihear province, in which it is now located, as well as the Khao Phra Wihan National Park which borders it in Thailand's Sisaket province and through which the temple is most easily accessible. On July 7, 2008, Preah Vihear was listed as a UNESCO World Heritage Site.
01.Preah Vihear Temple
Nomenclture.
Prasat Preah Vihear is the compound of words Prasat, Preah and Vihear. Prasat (ប្រាសាទ) mean "castle", sometimes "temple"; in Sanskrit प्रासाद. Preah (ព្រះ) mean "sacred". "Vihear" (វិហារ) mean "shrine" (the central structure of the temple). The word Vihear could be related to the Sanskrit word Vihara (विहार) which means "abode."
Prasat (ប្រាសាទ) in Sanskrit means ("castle", sometimes "temple"; in Sanskrit प्रासाद), and in Khmer: "phnom" (ភ្នំ) means mountain. Cambodians occasionally refer to it as "Phnom Preah Vihear" (ភ្នំព្រះវិហារ). The word "Preah" (ព្រះ) means "sacred", and the word "Vihear" (វិហារ) means "shrine" (the central structure of the temple).
The three versions of the name carry significant political and national connotations (see below: New dispute over ownership).
02.Preah Vihear Temple is located in Cambodia
Location
The temple was built at the top of Pey Tadi, a steep cliff in the Dângrêk Mountain range which are the natural border between Thailand and Cambodia.
The Temple was listed by Thailand as being in Bhumsrol village of Bueng Malu sub-district (now merged with Sao Thong Chai sub-district), in Kantharalak district of the Sisaket Province of eastern Thailand. It is 110 km from the Mueang Sisaket District, the center of Sisaket Province.
The Temple was also listed by Cambodia as being in Svay Chrum Village, Kan Tout Commune, in Choam Khsant District of Preah Vihear province of northern Cambodia. The temple is 140 km from Angkor Wat and 625 km from Phnom Penh.
In 1962 the ICJ ruled that only the temple building belonged to Cambodia, while the direct way to access the temple is from Thailand.[4]
03.
Location in Cambodia
| |
Name | |
---|---|
Proper name | Prasat Preah Vihear |
Geography | |
Coordinates | 14°23′24″N 104°40′48″ECoordinates: 14°23′24″N 104°40′48″E |
Country | Cambodia |
Province | Preah Vihear |
District | Choam Khsant |
Culture | |
Primary deity | Shiva |
Architecture | |
Architectural styles | Khmer (Banteay Srei style and others) |
History and governance | |
Date built | 11th–12th centuries AD |
Creator | Suryavarman I and Suryavarman II |
04.Rough map of Cambodia and Thailand, showing the location of the temple being exactly at the border line of Thailand and Cambodia
Construction of the first temple on the site began in the early 9th century; both then and in the following centuries it was dedicated to the Hindu god Shiva in his manifestations as the mountain gods Sikharesvara and Bhadresvara. The earliest surviving parts of the temple, however, date from the Koh Ker period in the early 10th century, when the empire's capital was at the city of that name. Today, elements of the Banteay Srei style of the late 10th century can be seen, but most of the temple was constructed during the reigns of the Khmer kings Suryavarman I[5]:136[6]:96–97 (1006–1050) and Suryavarman II (1113–1150). An inscription found at the temple provides a detailed account of Suryavarman II studying sacred rituals, celebrating religious festivals and making gifts, including white parasols, golden bowls and elephants, to his spiritual advisor, the aged Brahmin Divakarapandita. The Brahmin himself took an interest in the temple, according to the inscription, donating to it a golden statue of a dancing Shiva known as Nataraja.[citation needed] In the wake of the decline of Hinduism in the region the site was converted to use by Buddhists.
05.Entrance to the temple structure
The site.
The temple complex runs 800 m (2,600 ft) along a north-south axis facing the plains to the north, from which it is now cut off by the international border. It consists essentially of a causeway and steps rising up the hill towards the sanctuary, which sits on the clifftop at the southern end of the complex (120 m or 390 ft above the northern end of the complex, 525 m or 1,722 ft above the Cambodian plain and 625 m or 2,051 ft above sea level). Although this structure is very different from the temple mountainsfound at Angkor, it serves the same purpose as a stylised representation of Mount Meru, the home of the gods.
The approach to the sanctuary is punctuated by five gopuras (these are conventionally numbered from the sanctuary outwards, so gopura five is the first to be reached by visitors). Each of the gopuras before the courtyards is reached by a set of steps, and so marks a change in height which increases their impact. The gopuras also block a visitor's view of the next part of the temple until they pass through the gateway, making it impossible to see the complex as a whole from any one point.
The fifth gopura, in the Koh Ker style, retains traces of the red paint with which it was once decorated, although the tiled roof has now disappeared. The fourth gopura is later, from the Khleang/Baphuon periods, and has on its southern outer pediment, "one of the masterpieces of Preah Vihear" (Freeman, p. 162) : a depiction of the Churning of the Sea of Milk. The third is the largest, and is also flanked by two halls. The sanctuary is reached via two successive courtyards, in the outer of which are two libraries.
06.Plan of Prasat Preah Vihear
Modern history and ownership dispute.
In modern times, Prasat Preah Vihear was rediscovered by the outside world and became subject of an emotional dispute between Thailand and the newly independent Cambodia.
In 1904, Siam and the French colonial authorities ruling Cambodia formed a joint commission to demarcate their mutual border to largely follow the watershed line of the Dângrêk mountain range, which placed nearly all of Preah Vihear temple on Thailand's side. In 1907, after survey work, French officers drew up a map to show the border’s location. However, the resulting topographic map, which was sent to Siamese authorities and used in the 1962 (ICJ) ruling, showed the line deviating slightly from the watershed without explanation in the Preah Vihear area, placing all of the temple on the Cambodian side.
Following the withdrawal of French troops from Cambodia in 1954, Thai forces occupied the temple to enforce their claim. Cambodia protested and in 1959 asked the International Court of Justice to rule that the temple and the surrounding land lay in Cambodian territory. The case became a volatile political issue in both countries. Diplomatic relations were severed, and threats of force were voiced by both governments.
The court proceedings focused not on questions of cultural heritage or on which state was the successor to the Khmer Empire, but rather on Siam's supposed long-time acceptance of the 1907 map.
07.Drawing of temple structures
Arguing in The Hague for Cambodia was former U.S. Secretary of State Dean Acheson, while Thailand’s legal team included a former British attorney general, Sir Frank Soskice. Cambodia contended the map showing the temple as being on Cambodian soil was the authoritative document. Thailand argued that the map was invalid and that it was not an official document of the border commission, and that it clearly violated the commission’s working principle that the border would follow the watershed line, which would place most of the temple in Thailand. If Thailand had not protested the map earlier, the Thai side said, it was because Thai authorities had had actual possession of the temple for some period of time, due to the great difficulty of scaling the steep hillside from the Cambodian side, or simply had not understood that the map was wrong.
On 15 June 1962, the court ruled 9 to 3 that the temple belonged to Cambodia and, by a vote of 7 to 5, that Thailand must return any antiquities such as sculptures that it had removed from the temple. In its decision, the court noted that in over the five decades after the map was drawn, the Siamese/Thai authorities had not objected in various international forums to its depiction of the temple’s location. Nor did they object when a French colonial official received the Siamese scholar and government figure Prince Damrong at the temple in 1930 (possibly before the Thais realised the map was wrong). Thailand had accepted and benefited from other parts of the border treaty, the court ruled. With these and other acts, it said, Thailand had accepted the map and therefore Cambodia was the owner of the temple.
Arguing in The Hague for Cambodia was former U.S. Secretary of State Dean Acheson, while Thailand’s legal team included a former British attorney general, Sir Frank Soskice. Cambodia contended the map showing the temple as being on Cambodian soil was the authoritative document. Thailand argued that the map was invalid and that it was not an official document of the border commission, and that it clearly violated the commission’s working principle that the border would follow the watershed line, which would place most of the temple in Thailand. If Thailand had not protested the map earlier, the Thai side said, it was because Thai authorities had had actual possession of the temple for some period of time, due to the great difficulty of scaling the steep hillside from the Cambodian side, or simply had not understood that the map was wrong.
On 15 June 1962, the court ruled 9 to 3 that the temple belonged to Cambodia and, by a vote of 7 to 5, that Thailand must return any antiquities such as sculptures that it had removed from the temple. In its decision, the court noted that in over the five decades after the map was drawn, the Siamese/Thai authorities had not objected in various international forums to its depiction of the temple’s location. Nor did they object when a French colonial official received the Siamese scholar and government figure Prince Damrong at the temple in 1930 (possibly before the Thais realised the map was wrong). Thailand had accepted and benefited from other parts of the border treaty, the court ruled. With these and other acts, it said, Thailand had accepted the map and therefore Cambodia was the owner of the temple.
08.Illustration of temple structures
Australian judge Sir Percy Spender wrote a scathing dissent for the minority on the court, however, pointing out that the French government had never mentioned Thai "acquiescence" or acceptance at any time, not even when Thailand stationed military observers at the temple in 1949. On the contrary, France always insisted that their map was correct and the temple was located on their side of the natural watershed (which it clearly is not). Thailand had modified its own maps, which in Spender's opinion was sufficient without having to protest to France. Spender said:
Thailand reacted angrily. It announced it would boycott meetings of the Southeast Asia Treaty Organization, with Thai officials saying this step was to protest a U.S. bias toward Cambodia in the dispute. As evidence, Thai officials cited the pro-Cambodia vote of an American judge on the court and Acheson’s role as Cambodia’s advocate; the U.S. government replied that Acheson was merely acting as a private attorney, engaged by Cambodia. Mass demonstrations were staged in Thailand protesting the ruling.
Thailand eventually backed down and agreed to turn the site over to Cambodia. Rather than lower the Thai national flag that had been flying at the temple, Thai soldiers dug up and removed the pole with it still flying.[9] The pole was erected at nearby Mor I Daeng cliff, where it is still in use. In January 1963, Cambodia formally took possession of the site in a ceremony attended by around 1,000 people, many of whom had made the arduous climb up the cliff from the Cambodian side. Prince Sihanouk, Cambodia’s leader, walked up the cliff in less than an hour, then made offerings to Buddhist monks. He made a gesture of conciliation in the ceremony, announcing that all Thais would be able to visit the temple without visas, and that Thailand was free to keep any antiquities it may have taken away from the site.
Temple structures in 2003
Civil war[edit]
Civil war began in Cambodia in 1970; the temple's location high atop a cliff served to make it readily defensible militarily. Soldiers loyal to the Lon Nol government in Phnom Penh continued to hold it long after the plain below fell to communist forces. Tourists were able to visit from the Thai side during the war.
Even though the Khmer Rouge captured Phnom Penh in April 1975, the Khmer National Armed Forces soldiers at Preah Vihear continued to hold out after the collapse of the Khmer Republic government. The Khmer Rouge made several unsuccessful attempts to capture the temple, then finally succeeded on May 22, 1975 by shelling the cliff, scaling it and routing the defenders, Thai officials reported at the time. The defenders simply stepped across the border and surrendered to Thai authorities.[11]It was said to be the last place in Cambodia to fall to the Khmer Rouge.
Full-scale war began again in Cambodia in December 1978 when the Vietnamese army invaded to overthrow the Khmer Rouge. Khmer Rouge troops retreated to border areas. In January, the Vietnamese reportedly attacked Khmer Rouge troops holed up in the temple, but there were no reports of damage to it. Large numbers of Cambodian refugees entered Thailand after the invasion. Guerrilla warfare continued in Cambodia through the 1980s and well into the 1990s, hampering access to Preah Vihear. The temple opened briefly to the public in 1992, only to be re-occupied the following year by Khmer Rouge fighters. In December 1998, the temple was the scene of negotiations by which several hundred Khmer Rouge soldiers, said to be the guerrilla movement's last significant force, agreed to surrender to the Phnom Penh government.[12]
The temple opened again to visitors from the Thai side at the end of 1998; Cambodia completed the construction of a long-awaited access road up the cliff in 2003.
Expulsion of Cambodian refugees[edit]
On June 12, 1979, the government of General Kriangsak Chomanan, who had come to power in Thailand by a military coup, informed foreign embassies in Bangkokthat it was going to expel a large number of Cambodian refugees. He would allow the governments of the United States, France, and Australia to select 1,200 of the refugees to resettle in their countries. Lionel Rosenblatt, Refugee Coordinator of the American Embassy, Yvette Pierpaoli, a French businesswoman in Bangkok, and representatives of the Australian and French governments rushed to the border to select the refugees that night. In three frantic hours the foreigners picked out 1,200 refugees for resettlement from among the thousands being held by Thai soldiers behind barbed wire in a Buddhist temple at Wat Ko Refugee Camp and loaded them on buses to go to Bangkok. The remaining refugees were then loaded on buses and sent away, their destination unknown.
It later became known that Cambodian refugees had been collected from many locations and sent to Preah Vihear. An American Embassy official stood beneath a tree along a dirt road leading to the temple, counted the buses, and estimated that about 42,000 Cambodians were taken to Preah Vihear.[13]
Preah Vihear is situated at the top of a 2,000 foot high escarpment overlooking the Cambodian plains far below. The refugees were unloaded from the buses and pushed down the steep escarpment. “There was no path to follow,” one said. “The way that we had to go down was only a cliff. Some people hid on top of the mountain and survived. Others were shot or pushed over the cliff. Most of the people began to climb down using vines as ropes. They tied their children on their backs and strapped them across their chests. As the people climbed down, the soldiers threw big rocks over the cliff.”[14]
At the foot of the cliffs were minefields, placed by the Khmer Rouge during their rule in Cambodia. The refugees followed a narrow path, the safe route indicated by the bodies of those who had set off land mines. They used the bodies as stepping stones to cross the three miles of mined land to reach the Vietnamese soldiers, occupiers of Cambodia, on the other side. The United Nations High Commissioner for Refugees later estimated that as many as 3,000 Cambodians had died in the push-back and another 7,000 were unaccounted for. General Kriangsak's objective in this brutal operation apparently was to demonstrate to the international community that his government would not bear alone the burden of hundreds of thousands of Cambodian refugees. If so, it worked. For the next dozen years the UN and Western countries would pay for the upkeep of Cambodian refugees in Thailand, resettling thousands in other countries, and devising means by which Cambodians could return safely to their own country.[15]
Lintel showing Shiva fighting Arjuna, gopura three
Preah Vihear as a World Heritage Site
On July 8, 2008, the World Heritage Committee decided to add Prasat Preah Vihear, along with 26 other sites, to the World Heritage Site list, despite several protests from Thailand, since the map implied Cambodian ownership of disputed land next to the temple.
As the process of Heritage-listing began, Cambodia announced its intention to apply for World Heritage inscription by UNESCO. Thailand protested that it should be a joint-effort and UNESCO deferred debate at its 2007 meeting.
Following this, both Cambodia and Thailand were in full agreement that Preah Vihear Temple had "Outstanding Universal Value" and should be inscribed on the World Heritage List as soon as possible. The two nations agreed that Cambodia should propose the site for formal inscription on the World Heritage List at the 32nd session of the World Heritage Committee in 2008 with the active support of Thailand. This led to a redrawing of the map of the area for proposed inscription, leaving only the temple and its immediate environs.
However, Thailand's political opposition launched an attack on this revised plan (see Modern History and Ownership Dispute), claiming the inclusion of Preah Vihear could nevertheless "consume" the overlapping disputed area near the temple. In response to the political pressure at home, the Thai government withdrew its formal support for the listing of Preah Vihear Temple as a World Heritage site.
Cambodia continued with the application for World Heritage status and, despite official Thai protests, on July 7, 2008, Preah Vihear Temple was inscribed on the list of World Heritage sites.
The renewed national boundary dispute since 2008 has been a reminder that despite the World Heritage ideals of conservation for all humanity, operating a World Heritage site often requires use of national authority at odds with the local cultures and natural diversity of the landscape. Prior to the listing, Cambodia considered Preah Vihear to be part of a Protected Landscape (IUCN category V), defined as "Nationally significant natural and semi-natural landscapes which must be maintained to provide opportunities for recreation." However, Category V is generally defined as "Land, with coast and seas as appropriate, where the interaction of people and nature over time has produced an area of distinct character with significant aesthetic, cultural and/or ecological value, and often with high biological diversity. Safeguarding the integrity of this traditional interaction is vital to the protection, maintenance and evolution of such an area."
A luxury tour that takes travellers camping on temple sites, crossing the border into Thailand issues a warning to travellers on the possibility of a 're-routing'[17] of the itinerary.
During the People's Alliance for Democracy's seizure of Suvarnabhumi Airport, future Thai Foreign Minister Kasit Piromya reportedly called Cambodian Prime Minister in a 2008 television interview "crazy" and a "nak leng" (commonly translated as "gangster").
In 1994, Thailand held a World Heritage proposal conference in Srisaket in which local cultural traditions were considered along with monuments such as Preah Vihear that stimulate more nationalistic sentiments. The use of passes in the Dongrak Mountains reportedly tied together cultural communities and practices divided by a militarized (and imperfectly demarcated) modern border line. A Mon-Khmer ethnic minority, the Kui or Suay (the ethnonyms have multiple spellings), used the passes to hunt and capture elephants in the forests below the Dongrak cliff edge, including the Kulen area which is now a Cambodian wildlife sanctuary. Kui in Cambodia were skilled ironsmiths using ore from Phnom Dek.[19]
While elephant hunting in the vicinity of Preah Vihear was touched upon in the International Court of Justice proceedings, the World Heritage plans overlook local culture and species protection to facilitate national revenues from tourism. One international law professor has urged that practicality calls for laying aside exclusive sovereignty in favor of an "international peace park."[20] A scholarly article concurs in concluding: "Since Thailand and Cambodia have brought only blood and bitterness to this place, it might be desirable to preserve it from both. It could be given back to nature and the indigenous peoples, to be managed cooperatively between the two governments in equal partnership with local communities, as a transborder Protected Landscape-Anthropological Reserve (IUCN category V and old category VII)."[21] Given the massing troops in 2008, perhaps such a transborder reserve would create not only a demilitarized buffer zone in which any future demarcation can be amicably undertaken, but a recognition of the added ecological and cultural aspects of an area which both Cambodia and Thailand may still save from the destructive and exploitative impacts of rapid development so often suffered in other ASEAN countries.
The temple is located on a hill, oriented along a north-south axis and facing the plains to the north in what is now Thailand.
Disputes over ownership since 2008[edit]
The conflict between Cambodia and Thailand over land adjoining the site has led to periodic outbreaks of violence.
A military clash occurred in October 2008.[22] In April 2009, 66 stones at the temple allegedly were damaged by Thai soldiers firing across the border.[23] In February 2010, the Cambodian government filed a formal letter of complaint with Google Maps for depicting the natural watershed as the international border instead of the line shown on the 1907 French map used by the International Court of Justice in 1962.[24]
In February 2011, when Thai officials were in Cambodia negotiating the dispute, Thai and Cambodian troops clashed, resulting in injuries and deaths on both sides.[25]Artillery bombardment in the area occurred during the conflict. The Cambodian government has claimed that damage occurred to the temple.[26] However, a UNESCOmission to the site to determine the extent of the damage indicates that the destruction is a result of both Cambodian and Thai gunfire.[27][28]
Since February 4, both sides have used artillery against each other, and both blame the other for starting the violence.[29] On February 5, Cambodia had formally complained in a letter to the U.N. "The recent Thai military actions violate the 1991 Paris Peace Accord, U.N. Charter and a 1962 judgment from the International Court of Justice", the letter claims.[30] On February 6, the Cambodian government claimed that the temple had been damaged. Cambodia's military commander said: "A wing of our Preah Vihear temple has collapsed as a direct result of the Thai artillery bombardment".[31] However, Thai sources spoke only of minor damage, claiming that Cambodian soldiers had fired from within the temple.[32]
ASEAN, to which both states belong, has offered to mediate over the issue. However, Thailand has insisted that bilateral discussions could better solve the issue.[29]On February 5, the rightwing People's Alliance for Democracy called for the resignation of Prime Minister Abhisit Vejjajiva for "failing to defend the nation's sovereignty".[29]
An UNESCO World Heritage convention held in Paris in June 2011 determined to accept Cambodia's management proposal for the temple. As a consequence, Thailand withdrew from the event, with the Thai representative explaining, "We withdraw to say we do not accept any decision from this meeting."[33]
Following a February 2011 request from Cambodia for Thai military forces to be ordered out of the area, judges of the International Court of Justice (ICJ) by a vote of 11–5 ordered that both countries immediately withdraw their military forces, and further imposed restrictions on their police forces. The court said this order would not prejudice any final ruling on where the border in the area between Thailand and Cambodia should fall.[34] Abhisit Vejjajiva said that Thai soldiers would not pull out from the disputed area until the military of both countries agree on the mutual withdrawal. "[I]t depends on the two sides to come together and talk," he said, suggesting that an existing joint border committee would be the appropriate place to plan a coordinated pullback.[35] The ICJ ruled on 11 November 2013 that the land adjacent to the temple on the east and west (south being previously agreed as Cambodian, north as Thai) belongs to Cambodia and that any Thai security forces still in that area should leave.[36][37]
Access
From Cambodia, the temple can be approached either by Tbeng Meanchey in Preah Vihear province or from Siem Reap in Siem Reap province via Anlong Veng. Although the highway is paved when it leaves Siem Reap, both roads are (occasionally) graded gravel once they begin to approach the Dangrek escarpment.
As of 2015, it is not possible to access Preah Vihear from Thailand.
See also[edit]
-----------------------------------------------------------------------------------------
จาก https://th.wikipedia.org/wiki/ปราสาทพระวิหาร
ปราสาทพระวิหาร
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ปราสาทพระวิหาร * | |
---|---|
ปราสาทพระวิหารมองจากด้านบน
| |
ประเทศ | จังหวัดพระวิหาร ประเทศกัมพูชา |
ประเภท | มรดกทางวัฒนธรรม |
เกณฑ์พิจารณา | (i) |
ประวัติการขึ้นทะเบียน | |
ขึ้นทะเบียน | 2551 (คณะกรรมการสมัยที่ 32) |
ปราสาทพระวิหาร (เขมร: ប្រាសាទព្រះវិហារ บฺราสาทพฺระวิหาร; อังกฤษ: Temple of Preah Vihear[1]) เป็นปราสาทหินตามแบบศาสนาฮินดูที่ตั้งอยู่บริเวณเทือกเขาพนมดงรัก (เขมร: ភ្នំដងរែក ภฺนํฎงแรก; "ภูเขาไม้คาน"[2]) สูงจากระดับทะเลปานกลาง 657 เมตร ที่ตั้งของศาสนสถานแห่งนี้รู้จักกันในนาม เขาพระวิหาร (เขมร: ភ្នំព្រះវិហារ ภฺนํพฺระวิหาร)[3] อยู่ใกล้อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งเคยเป็นทางขึ้นสู่ปราสาทที่สะดวกที่สุด[4]
ปราสาทพระวิหารมีสถาปัตยกรรมแบบเขมร สร้างตามแนวเหนือใต้ซึ่งผิดแปลกไปจากปราสาทขอมส่วนใหญ่ ไทยและกัมพูชามีประวัติพิพาทเหนือตัวปราสาทเป็นเวลานานแล้ว ใน พ.ศ. 2505 ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศพิพากษาให้กัมพูชามีอธิปไตยเหนือปราสาท (ดู คดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505) และวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกในประเทศกัมพูชา[5]
เนื้อหา
[ซ่อน]ชื่อ[แก้]
ปราสาทแห่งนี้มีชื่อเรียกเก่าสุดว่า "ภวาลัย" ตามรายงานของกรมวิชาการ และมีชื่ออื่น ได้แก่ "ศรีศิขรีศวร", "วีราศรม", และ "ตปัสวีนทราศรม"[6]
นามของปราสาทพระวิหารตามที่ปรากฏในศิลาจารึก คือ "ศีรศิขเรศวร" (ស្រីសិខៈ រិ ស្វារៈ)[7] ประกอบด้วย "ศีร" (ศรี หรือสิริ, เป็นคำนำหน้า) กับ "ศิขเรศวร" มาจาก "ศิขร" (ภูเขา) และ "อิศวร" (ผู้เป็นใหญ่ หรือหมายถึง พระอิศวร) แปลได้ว่า ผู้เป็นใหญ่หรือพระอิศวรแห่งภูเขา
เมื่อ พ.ศ. 2442 พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ ได้เสด็จไปยังปราสาทแห่งนี้ และทรงขนานนามว่า "ปราสาทพรหมวิหาร" ซึ่งต่อมาเรียกกันทั่วไปว่า "ปราสาทพระวิหาร"[8]
บางครั้ง ชาวกัมพูชาเรียกปราสาทว่า "พนมพระวิหาร" (ភ្នំព្រះវិហារ) ขณะที่ชาวไทยมักเรียกว่า "เขาพระวิหาร" และนับแต่ประมาณ พ.ศ. 2551 เป็นต้นมา มีการละคำว่า "เขา" ไว้ในชื่อเพื่อแสดงถึงความแตกต่างระหว่างตัวปราสาทและเนินเขาที่ตั้งปราสาท
ที่ประดิษฐาน[แก้]
ปราสาทพระวิหารประดิษฐานอยู่บนผาเป้ยตาดีของเทือกเขาพนมดงรัก ซึ่งเป็นเส้นเขตแดนระหว่างไทยกับกัมพูชา ณ ละติจูดที่ 104 องศาตะวันออก 41 ลิปดา[9] ในอดีต ผาเป้ยตาดีอยู่ในเขตหมู่บ้านภูมิซร็อล ตำบลเสาธงชัย (เดิมขึ้นกับ ตำบลบึงมะลู) อำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ห่างจากอำเภอเมืองศรีสะเกษ 110 กิโลเมตร ทั้งนี้ ปราสาทตั้งอยู่ห่างจากปราสาทนครวัดในเมืองพระนคร ไป 140 กิโลเมตร และห่างจากกรุงพนมเปญไป 320 กิโลมตร
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศไม่เคยชี้ขาดว่าเขตแดนไทย-กัมพูชาดังกล่าวมีเส้นอยู่ตรงจุดใด ศาลฯ ชี้ขาดเพียงว่า กัมพูชามีอธิปไตยทางดินแดนเหนือปราสาทพระวิหาร แต่ก็มีชาวไทยบางคนเข้าใจว่า ศาลฯ ชี้ขาดแต่ตัวปราสาทเท่านั้น ไม่รวมถึงอาณาบริเวณอันเป็นที่ประดิษฐานปราสาทแต่อย่างใด[10]
การเยี่ยมชม[แก้]
ในอดีตการเยี่ยมชมปราสาทพระวิหารจะใช้ทางขึ้นจากฝั่งไทย โดยทางการไทยและทางการกัมพูชามีรายได้จากการท่องเที่ยวร่วมกัน แต่ปัจจุบันมีความตรึงเครียดระหว่างแนวชายแดนประชาชนทั่วไปจึงไม่สามารถขึ้นไปชมประสาทจากทางประเทศไทยได้อีก กัมพูชาได้สร้างถนนคอนกรีตยาว 3 กิโลเมตรไต่เขาขึ้นไปยังปราสาทพระวิหารสำเร็จแล้ว และเป็นทางที่ประชาชนทั่วไปใช้ขึ้นไปชมปราสาทได้ในปัจจุบันผ่านทางประเทศกัมพูชา[11]
สถาปัตยกรรม[แก้]
ปราสาทพระวิหารมีลักษณะเป็นแบบศิลปะบันทายศรี ลักษณะบางส่วนคล้ายคลึงกับพระวิหารของปราสาทนครวัด รูปรอยแกะสลักบนปราสาทสันนิษฐานได้ว่าเป็นศาสนสถานของศาสนาฮินดูลัทธิไศวนิกาย มีพระศิวะเป็นเทพสูงสุดของศาสนา เชื่อกันว่าสร้างขึ้นเพื่อถวายพระศิวะที่ทรงประทับบนยอดเขาไกรลาส ซึ่งเป็นยอดเขาสูงสุดของเขาพระสุเมรุ ศูนย์กลางจักรวาลปราสาทพระวิหารจึงสร้างบนหน้าผาเป้ยตาดี ทำให้ปราสาทแห่งนี้เปรียบเหมือนการค่อย ๆ ก้าวไปสู่ที่ประทับของพระศิวะ ซึ่งแทนด้วย "ยอดเป้ยตาดี"[12] หากมองจากข้างล่างผาจะเห็นตัวปราสาทเหมือนวิมานสวรรค์ลอยอยู่บนฟากฟ้า[10] โดยมีแผ่นดินเขมรต่ำ (ขแมร์กรอม) ประหนึ่งมหาสมุทรรองรับอยู่เบื้องล่าง[12] ตัวปราสาทประกอบด้วยสถาปัตยกรรมต่าง ๆ มากมาย ได้แก่ ปราสาทประธาน ระเบียงคด โคปุระ อาคารรูปกากบาท วิหาร บรรณาลัย และบันไดนาคพร้อมทางเดิน[3]
ปราสาทพระวิหารมีลักษณะแผนผังที่ใช้แกนเป็นหลัก โดยจัดวางผังหันไปทางทิศเหนือ ซึ่งแตกต่างจากปราสาทอื่น ๆ ซึ่งตามปกติมักจะหันหน้าไปทางทิศตะวันออก อันเนื่องจากภูมิศาสตร์เป็นเครื่องกำหนดแล้ว ก็น่าจะเกิดจากปัจจัยอื่นบางประการที่แสดงถึงความสัมพันธ์กับดินแดนเขมรสูงในอดีต ตัวปราสาทประธานเป็นจุดศูนย์กลางล้อมรอบด้วยระเบียงคดทั้งสี่ด้าน ปราศจากบรรณาลัยขนาบเบื้องหน้า การวางผังที่กำหนดตำแหน่งอาคารมีความสมบูรณ์ลงตัวตั้งแต่แรกเริ่มของการก่อสร้าง โดยไม่มีการแก้ไขต่อเติมบริเวณลานชั้นในภายหลัง วัสดุตัวปราสาทสร้างด้วยหินทรายและหินดาน โดยเทคนิคการก่อสร้างทำโดยนำก้อนศิลาทรายซึ่งตัดเป็นแท่งสี่เหลี่ยมขนาดไล่เลี่ยกันวางซ้อนกันขึ้นไปตามรูปผังที่กำหนดไว้ โดยอาศัยน้ำหนักของแท่งศิลาทรายแต่ละก้อนกดทับกันเพียงอย่างเดียว มีส่วนยึดจะใช้เมื่อจำเป็นเท่านั้น[2]
ลักษณะสำคัญ[แก้]
ปราสาทพระวิหารมีความยาว 800 เมตรตามแนวเหนือใต้ และส่วนใหญ่เป็นทางเข้ายาว และบันไดสูงถึงยอดเขา จนถึงส่วนปราสาทประธาน ซึ่งอยู่ที่ยอดเขาทางใต้สุดของปราสาท (สูง 120 เมตรจากปลายตอนเหนือสุดของปราสาท 525 เมตรจากพื้นราบของกัมพูชา และ 657 เมตรจากระดับน้ำทะเล[14]) แต่โครงสร้างปราสาทแห่งนี้ก็ยังแตกต่างอย่างมากจากสถาปัตยกรรมปราสาทหินของหินโดยทั่วไปที่พบในพระนคร เพื่อจำลองเขาพระสุเมรุ อันเป็นที่ประทับของเทพเจ้าตามคติความเชื่อของฮินดู
ปราสาทพระวิหารประกอบด้วยทางเดินและอาคารเรียงกัน ลานหินต่างระดับมีทั้งหมด 4 ระดับ ทางเข้าสู่ปราสาทประธานนั้น มีโคปุระ (ซุ้มประตู[13]) คั่นอยู่ 5 ชั้น (นับจากชั้นในออกมา ดังนั้นโคปุระชั้นที่ 5 จึงเป็นส่วนที่ผู้เข้าชมจะพบเป็นส่วนแรก) เป็นกลุ่มอาคารรูปกากบาท ซึ่งกรมศิลปากรเรียกว่า "มนเทียร"[15] ชั้นที่สำคัญ คือ โคปุระชั้นที่ 3 และ 4[16] โคปุระแต่ละชั้นก่อนถึงลานด้านหน้า จะผ่านบันไดหลายขั้น โคปุระแต่ละชั้นจึงเปลี่ยนระดับความสูงทีละช่วง นอกจากนี้โคปะรุยังบังมิให้ผู้ชมเห็นส่วนถัดไปของปราสาท จนกว่าจะผ่านทะลุแต่ละช่วงไปแล้ว
บันไดหน้า[แก้]
บันไดด้านหน้าเป็นทางเดินขึ้นลงขนาดใหญ่อยู่ทางทิศเหนือของตัวปราสาท ลาดตามไหล่เขา ช่วงแรกเป็นบันไดหิน กว้าง 8 เมตร ยาว 75.50 เมตร จำนวน 162 ขั้น บางชั้นสกัดหินลงไปในพื้นหินของภูเขา สองข้างบันไดมีฐานสี่เหลี่ยมตั้งเป็นกระพัก (กระพักแปลว่า ไหล่เขาเป็นชั้นพอพักได้[13]) ขนาดใหญ่เรียงรายขึ้นไป ใช้สำหรับตั้งรูปสิงห์นั่ง ช่วงที่ 2 กว้าง 4 เมตร ยาว 27 เมตร มี 54 ขั้น มีฐานกระพักกว้าง 2.5 เมตร 7 คู่ มีรูปสิงห์นั่งตั้งอยู่ บันไดหน้าแบ่งออกเป็นสองช่วง โดยที่ตัวบันไดช่วงที่สองแคบกว่าช่วงแรก มีฐานสี่เหลี่ยมและสิงห์นั่งขนาดเล็กกว่าช่วงแรก[17]หลังจากที่ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศพิพากษาให้ปราสาทพระวิหารตกอยู่ในอธิปไตยของกัมพูชา นักศึกษาไทยได้ประท้วงคำตัดสินของศาลฯ และปิดทางขึ้นปราสาทที่อยู่ในเขตแดนไทย ทำให้ชาวกัมพูชาที่ต้องการขึ้นปราสาท จะต้องขึ้นทางช่องเขาแคบ ๆ สูงชันที่เรียกกันว่า "ช่องบันไดหัก"[10]
ลานนาคราช[แก้]
ลานนาคราชหรือสะพานนาค อยู่ทางทิศใต้สุดบันไดหินด้านหน้า ปูด้วยแผ่นหินเรียบ มีขนาดกว้าง 7 เมตร ยาว 31.80 เมตร ขอบลานสร้างเป็นฐานเตี้ย ๆ บนฐานมี นาคราช 7 เศียร จำนวน 2 ตัว แผ่พังพานหันหน้าไปทางทิศเหนือ ลำตัวอยู่บนฐานทั้งสอง ทอดไปทางทิศใต้ ส่วนหางของนาคราชชูขึ้นเล็กน้อย นาคราชทั้งสองตัวมีลักษณะคล้ายงูตามธรรมชาติ เป็นลักษณะของนาคราชในศิลปะขอม แบบปาปวน มีบันไดทางขึ้นโคปุระ ชั้นที่ 5 บันไดกว้าง 7 เมตร สูง 11.50 เมตร สองข้างบันไดมีฐานสี่เหลี่ยมตั้งรูปสิงห์[18]
โคปุระ ชั้นที่ 1[แก้]
โคปุระชั้นที่ 1 ตั้งอยู่บนไหล่เขา มุมทั้งสี่ด้านของลานก่อเป็นขั้นบันไดมิให้พัง[19] สร้างเป็นศาลาจตุรมุข รูปทรงกากบาทไม่มีฝาผนังกั้น มีแต่บันไดและซุ้มประตูทั้ง 4 ทิศ สร้างอยู่บนฐานบัวสี่เหลี่ยมย่อมุม ฐานสูง 1.8 เมตร บันไดหน้าประตูซุ้มทั้ง 4 ทิศตั้งรูปสิงห์นั่ง เสาโคปุระสูง 3.5 เมตร เป็นศิลปะแบบเกาะแกร์ ยังมีร่องรอยสีแดงที่เคยประดับตกแต่งตัวปราสาทเอาไว้ หลังคามุงด้วยกระเบื้องดินเผาแบบ "กาบู" ปัจจุบันเหลือปั้นลมและประตูซุ้มที่ยังสมบรณ์อยู่เพียงด้านตะวันออกด้านเดียว หน้าจั่วจำหลักเป็นรูปเทพนั่งชันเขาเหนือเศียรเกียรติมุข หน้าบันเป็นรูปนาคราช 5 เศียร ข้างละ 1 ตัว หางไปประสานกันบนยอด[20]
บันไดทางขึ้นโคปุระ ชั้นที่ 1 อยู่ทางทิศเหนือ เป็นบันไดหินมีลักษณะค่อนข้างชัน สูง 5 ขั้น ประมาณ 2 เมตร ทางทิศตะวันออกของโคปุระชั้นที่ 1 มีเส้นทางขึ้นคล้ายบันไดหน้าแต่ค่อนข้างชัน และชำรุดหลายตอน ยาว 340 เมตรถึงไหล่เขา เป็นเส้นทางขึ้น-ลง ไปสู่ที่ราบประเทศกัมพูชา เรียกว่า "ช่องบันไดหัก" หรือ "ถนนบันไดหัก" ก่อนถึงโคปุระ ชั้นที่ 2 มีสระน้ำตั้งอยู่ทางตะวันออกสระหนึ่ง ชื่อว่า "สระทรง"[20]
สระสรง[แก้]
สระสรงอยู่ทางด้านทิศตะวันออกของทางดำเนินจากโคปุระ ชั้นที่ 1 ไปโคปุระ ชั้นที่ 2 ห่างออกไป 12.40 เมตร จะพบสระน้ำรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีขนาดกว้าง 16.80 เมตร ยาว 37.80 เมตร กรุด้วยท่อนหินเป็นชั้น ๆ มีลักษณะเป็นขั้นบันไดปากผายก้นสอบ
โคปุระ ชั้นที่ 2[แก้]
โคปุระ ชั้นที่ 2 สร้างอยู่บนไหล่เขา มีเขื่อนหินกันพังตามริมไหล่เขา เป็นลานหินกว้างประมาณ 7 เมตร สองข้างจะมีเสานางเรียง ตั้งอยู่ ทั้งสองด้าน แต่ก็มีปรักหักพังไปมาก โคปุระชั้นที่ 2 สร้างเป็นศาลาจตุรมุข มีกำแพงด้านทิศใต้เพียงด้านเดียว ยาว 39 เมตรจากตะวันออกไปตะวันตก กว้าง 29.5 เมตรจากเหนือไปใต้
เป็นศิลปะสมัยหลังโคปุระ ชั้นที่ 1 คือ แคลง/บาปวน มุขหน้าแบ่งเป็น 2 คูหา ริมซุ้มประตูด้านนอกตั้งรูปสิงห์ มุขตะวันออกและตะวันตกแบ่งเป็น 3 คูหาริมซุ้มประตูด้านนอกตั้งรูปสิงห์ ห้องใหญ่แบ่งเป็น 5 คูหา มุขใต้แบ่งเป็น 2 คูหาหน้าบันเป็นภาพของการกวนเกษียณสมุทร ถือเป็น "หนึ่งในผลงานชิ้นเอกอุของปราสาทพระวิหาร"[21] ทับหลังเป็นภาพของพระนารายณ์บรรทมสินธุ์อยู่เหนืออนันตนาคราช
จากซุ้มประตูด้านใต้มีบันไดทางไปโคปุระชั้นที่ 3 ยาว 148 เมตร กว้าง 11 เมตร คู่ไปกับขอบถนน เป็นคันหินถมดินให้น้ำไหลห่างไปจากโคปุระ ชั้นที่ 3 ทางตะวันออกมีสระรับน้ำ 2 สระ[22]
โคปุระ ชั้นที่ 3[แก้]
โคปุระชั้นที่ 3 นั้นมีขนาดใหญ่สุด สมบูรณ์ที่สุด และขนาบด้วยห้องสองห้อง ตัวปราสาทประธานนั้นสามารถผ่านเข้าไปทางลานด้านหน้า บันไดกว้าง 3.6 เมตร สูง 6 เมตร สองข้างมีฐานตั้งรูปสิงห์นั่ง 5 กระพัก
- มนเทียรกลาง มุขเหนือหน้าบันเป็นรูปพระกฤษณะยกภูเขาโควรรธนะ ทับหลังเป็นรูปพระนารายณ์ 4 กรทรงครุฑ มุขตะวันออกและตะวันตกที่ผนังด้านเหนือมีซุ้มประตู 1 ซุ้มหน้าประตูมีรูปสิงห์นั่งตั้งอยู่ ห้องใหญ่มีหน้าต่างซีกเหนือ 6 ช่องซีกใต้ 2 ช่องมุขใต้หน้าบันเป็นรูปพระอิศวรบนหลังโคอุศุภราช
- ห้องขนาบ ทั้งซ้ายและขวาเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าตรงกลางเป็นลานแบ่งเป็น 4 ห้อง ห้องตามขวางด้านหน้ายาว 35.5 เมตร กว้าง 7 เมตรผนังด้านลานมีหน้าต่าง 5 ช่อง ห้องตามยาวซ้ายและขวายาว 15 เมตร กว้าง 6 เมตร ห้องตามขวางด้านหลังยาว 40 เมตร กว้าง 8.5 เมตร ยกฐานสูง 2.4 เมตร ผนังด้านใต้มีหน้าต่าง 5 ช่อง มุขหน้ามีหน้าต่างข้างละ 3 ช่อง เข้าใจว่าบรรณาลัยนี้สร้างเพิ่มเติมภายหลังมนเทียรกลาง ที่ลานหน้าด้านตะวันออกมีปรางค์ศิลา 1 องค์ กว้าง 4 เมตร สูง 6 เมตร
จากโคปุระชั้นที่ 3 มีบันได 7 ขั้นขึ้นไปสู่ถนนที่ยาว 34 เมตร มีเสานางเรียงปักรายข้างถนน ข้างละ 9 ต้น ถัดจากเสานางเรียงไปเป็นสะพานนาค 7 เศียร
โคปุระ ชั้นที่ 4[แก้]
- มนเทียรหน้า เป็นรูปกากบาท กว้าง 23 เมตร ยาว 23 เมตร มีมุขทั้ง 4 ทิศ ที่มุขเหนือและใต้มีช่องหน้าต่างมุขละ 2 ช่อง มุขตะวันออกและตกมีประตูหน้าหลังมุขละ 2 ประตู กับช่องหน้าต่างมุขละ 1 ช่อง ห้องใหญ่มีหน้าต่างที่ผนังด้านเหนือ 6 ช่อง ด้านใต้ 4 ช่อง ซุ้มประตูส่วนมากจะเป็นซากปรักหักพัง กรอบประตูห้องใหญ่มีจารึกอักษรขอมระบุบปีศักราชตกอยู่ในสมัยพระเจ้าสุรยวรมันที่ 1 ด้านหน้ามนเทียรมีบันไดตรงกับประตูซุ้มทั้ง 3 ประตูและมีชานต่อไปยังเฉลียงซ้ายและขวา
- เฉลียงซ้ายและขวา เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 6 เมตร ยาว 32 เมตร ผนังด้านนอกทึบ ด้านในเปิดมีเสาราย 10 ต้น ที่สนามด้านหน้ามีภาพจำหลักตกหล่นอยู่หลายชิ้น เช่น รูปกษัตริย์กำลังหลั่งน้ำทักษิโณฑกแก่พราหมณ์
- มนเทียรกลาง เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 9 เมตร ยาว 13 เมตร มีมุขหน้าขนาด 8 x 5 เมตรมีหน้าต่างข้างละช่อง ตัวมนเทียรมีหน้าต่างข้างละ 3 ช่องกลางห้องมีเสาราย 2 แถว ๆ ละ 4 ต้น
- บรรณาลัย (ห้องสมุด) ซ้ายและขวา อยู่ขนาบ 2 ข้างของมนเทียรกลาง กว้าง 6.5 เมตร ยาว 11 เมตร
โคปุระ ชั้นที่ 5[แก้]
- ระเบียงคด ด้านทิศเหนือยาว 22 เมตรกว้าง 5.5 เมตร มีผนังละ 3 ประตูที่ผนังด้านเหนือและใต้ด้านทิศตะวันออกและตก กว้าง 4 เมตร ยาว 52 เมตรผนังด้านนอกทำทึบ ผนังด้านในมีหน้าต่าง ข้างละ 20 ช่อง ด้านทิศใต้ ผนังด้านในมีหน้าต่าง 6 ช่อง ตรงกลางมีประตู
- ปรางค์ประธาน มีวิหารเชื่อมต่ออยู่ทางทิศเหนือ มีฐานย่อมุม 3 ชั้น ชั้นแรกอยู่เสมอพื้นราบ ชั้นที่ 2 สูง 75 เซนติเมตร ทุกที่ ๆ ตรงกับประตูมีบันได 5 ขั้น กว้าง 70 เซนติเมตร สูง 50 เซนติเมตร ตัวปรางค์ทรุดพังมาครึ่งองค์ เหลือเพียงราว 9 เมตร กว้าง 7 เมตร วิหารที่เชื่อมต่อ ฐานกว้าง 15 เมตร ยาว 17 เมตร สูง 1.5 เมตร มีประตูทั้ง 4 ทิศ บันไดตรงประตูทิศเหนือมี 3 ขั้น กว้าง 70 เซนติเมตร สูง 1.5 เมตร ประตูทิศใต้เชื่อมกับปรางค์ มีหน้าต่างด้านตะวันออกและตก ด้านละ 1 ช่อง กลางวิหารมีแท่งหินรูปสี่เหลี่ยม 1 แท่น
- มนเทียรตะวันออก กว้าง 16 เมตร ยาว 20.5 เมตรมีมุขด้านเหนือ, ใต้, ตะวันออกแต่ละมุขมีประตู 3 ประตู ภายในแบ่งเป็นห้อง ๆ
- มนเทียรตะวันตก กว้าง 18.5 เมตร ยาว 20.5 เมตรมีมุขด้านเหนือ, ใต้, ตะวันตกแต่ละมุขมีประตู 3 ประตู
เป้ยตาดี[แก้]
เป้ยตาดี มีเนื้อที่กว้าง 44 เมตร ยาว 50 เมตร "เป้ย" เป็นภาษาเขมร ซึ่งแปลว่า ชะง่อนผา หรือโพงผา ตามคำบอกเล่า ว่านานมาแล้วมีพระภิกษุชรารูปหนึ่งชื่อ "ดี" จาริกมาปลูกเพิงพำนักอยู่ที่นี่จนมรณภาพไป ชาวบ้านจึงเรียกลานหินนี้ว่า "เป้ยตาดี" ตรงยอดเป้ยตาดีสูงกว่าระดับน้ำทะเล 657 เมตร ถ้าวัดจากพื้นที่เชิงเขาพื้นราบฝั่งประเทศกัมพูชาสูงประมาณ 447 เมตร ตรงชะง่อนผาเป้ยตาดี จะมีรอยสักฝีพระหัตถ์ของ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ ว่า "๑๑๘-สรรพสิทธิ" แต่ก่อนมีธงไตรรงค์ของไทยอยู่ที่ บริเวณผาเป้ยตาดี ในปัจจุบันคงเหลือแต่ฐาน ส่วนรอยแกะสลักพระนามของกรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์นั้นปัจจุบันถูกกระเทาะทำลายไปแล้ว
ประวัติศาสตร์[แก้]
ภูมิหลังทางสังคม[แก้]
ปราสาทพระวิหารคือมรดกทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติ มิใช่ของประเทศหรือกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่ง เพราะมีความเกี่ยวข้องกับชนหลายเผ่าพันธุ์ และหลายคติความเชื่อ[23] ในอดีตนั้น เทือกเขาพนมดงรักเป็นสถานที่ติดต่อสัมพันธ์กันระหว่างที่ราบสูงโคราชกับที่ราบเขมรต่ำ การสถาปนาปราสาทพระวิหารเป็นแหล่งศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อของคนท้องถิ่นและผู้นับถือศาสนาฮินดูมีขึ้นในรัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 2[24]
ตามจารึกศิวะสักติ พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ทรงกำหนดหลายพื้นที่บริเวณเขาพระวิหารเป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภวาลัยแห่งเขาพระวิหาร เป็นเขตของเจ้าพื้นเมืองของตระกูลพระนางกัมพูชาลักษมี พระมเหสีของพระองค์ ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างศาสนสถานบนเขาพระวิหาร[25] ต่อมา พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 โปรดให้สถาปนาพระภัทเรศวรแห่งลิงคปุระไว้ ณ ยอดเขาพระวิหารด้วย อันเป็นการให้ความสำคัญแก่เขาพระวิหารในฐานะภูเขาศักดิ์สิทธิ์ที่สิงสถิตของบรรพบุรุษของชนชาติจามและขอม[26] นอกจากนี้ ยังทรงทำให้ปราสาทเป็นศูนย์กลางแห่งความเชื่อ พิธีกรรมเกี่ยวกับบรรพบุรุษ และประเพณีสักการบูชาอันพ้องกับเทศกาลของเกษตรกร ความนิยมในการประกอบพิธีกรรมที่ปราสาทพระวิหารนำไปสู่การขยายตัวของชุมชนใกล้เคียง[27] ตามจารึกกล่าวไว้ว่าพระองค์ส่ง "ทิวากรบัณฑิต" มาบวงสรวงพระศิวะทุกปี นอกจากนี้ยังมีชุมชนโดยรอบที่พระมหากษัตริย์ทรงอุทิศไว้ให้รับใช้เทวสถาน ชุมชนที่มีชื่อในจารึกอย่างเช่น กุรุเกษตร, พะนุรทะนง เป็นต้น[12] ต่อมาปราสาทพระวิหารได้กลายเป็นแหล่งจาริกแสวงบุญสำคัญในรัชสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ตาม"เอกสารประวัติกัมพุพงศ์ และองค์กรแห่งพระราชการ พร้อมทั้งพระประวัติของพระเจ้าแผ่นดินองค์อื่น"[28]
การก่อสร้าง[แก้]
ปราสาทพระวิหารประกอบด้วยหมู่เทวาลัยและปราสาทหินจำนวนมาก เทวาลัยหรือปราสาทหินแห่งแรกสร้างขึ้นเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 9 ซากปรักหักพังของเทวาลัยที่เหลืออยู่ มีอายุตั้งแต่สมัยเกาะแกร์ ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 10 ครั้นเมื่อนครหลวงของอาณาจักรขอมอยู่ใกล้ คือ ที่นครวัด นอกจากนี้ยังมีองค์ประกอบบางประการในรูปแบบศิลปะของปราสาทบันทายศรีตามหลักจารึกที่ค้บพบ 3 หลักคือ จารึกศิวะศักติ จารึกหมายเลข K380 และ K381 เชื่อว่าเริ่มก่อสร้างในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 (พ.ศ. 1432-1443) และเป็นรูปร่างเมื่อในสมัยพระเจ้ายโศวรมัน ซึ่งสถาปนาศรีศิขเรศวร ในปี พ.ศ. 1436[12] แต่โครงสร้างส่วนใหญ่ของปราสาทแห่งนี้สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 (มีพระนามจารึกที่กรอบประตูโคปุระชั้นที่ 2 ว่า "สูรยวรรมเทวะ" และปีที่สร้างแล้วเสร็จในสมัยของพระองค์ตามจารึกคือ พ.ศ. 1581[14]) และพระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 ในครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 11 และ 12 ตามลำดับ[12] ปราสาทพระวิหารสร้างด้วยศิลาทรายซึ่งสกัดจากบริเวณเทือกเขาพนมดงรักนี้ และวัสดุก่อสร้างอื่น ได้แก่ อิฐเผาและ "ไดทะมะป้วก" (ดินเหนียวคล้ายหิน)[29] ปัจจุบันปราสาทหลงเหลือแต่เพียงซากปรักหักพัง แต่ทว่ายังมีอาคารปราสาทเหลืออยู่อีกหลายแห่ง[10]
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร[แก้]
คดีความ พ.ศ. 2505[แก้]
ดูบทความหลักที่: คดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505
ผู้ค้นพบปราสาทพระวิหารในสมัยปัจจุบันคือ พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ พระราชโอรสองค์ที่ 11 ใน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงพบเมื่อปี พ.ศ. 2442 ขณะทรงได้รับแต่งตั้งให้เป็น ข้าหลวงต่างพระองค์ เสด็จไปรับราชการที่มณฑลลาวกาว (อิสาน) ในสมัยรัชกาลที่ 5 และได้ทรงจารึกปี ร.ศ. ที่พบเป็นเลขไทย ตามด้วยพระนามไว้ที่บริเวณชะง่อนผาเป้ยตาดี เป็นข้อความว่า "๑๑๘ สรรพสิทธิ"[30] ต่อมาเมื่อประเทศฝรั่งเศสเข้าครอบครองอินโดจีนได้ทำสนธิสัญญา พ.ศ. 2447 ในการปักปันเขตแดนกับราชอาณาจักรสยาม โดยมีความตามมาตรา 1 ของสนธิสัญญา ระบุให้ใช้สันปันน้ำเป็นเส้นแบ่งพรมแดน ซึ่งมีผลให้ปราสาทพระวิหารอยู่ในดินแดนไทย ต่อมาใน พ.ศ. 2451 ฝรั่งเศสได้จัดทำแผนที่ฝ่ายเดียว ส่งมอบให้สยาม 50 ชุด แต่ละชุดมี 11 แผ่นและมีแผ่นหนึ่งคือ "แผ่นดงรัก" ที่ครอบคลุมพื้นที่ปราสาทพระวิหาร และไม่ได้ใช้แนวสันปันน้ำเป็นเส้นแบ่งพรมแดน ทำให้ปราสาทพระวิหารในแผนที่อยู่ในดินแดนของกัมพูชา โดยที่รัฐบาลสยามในขณะนั้นไม่ได้รับรองหรือทักท้วงความถูกต้องของแผนที่ดังกล่าว[31]
ต่อมาในปี พ.ศ. 2483 ประเทศฝรั่งเศสแพ้สงครามต่อประเทศเยอรมนี ทำให้แสนยานุภาพทางทหารลดลง จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ได้ยื่นข้อเสนอเรียกร้องดินแดนที่เสียไปในสมัยรัชกาลที่ 5 คืนจากฝรั่งเศส ซึ่งฝรั่งเศสปฏิเสธและมีการเคลื่อนไหวทางทหาร ที่ทำให้เกิดสงครามพิพาทอินโดจีนระหว่างไทยกับฝรั่งเศสขึ้นในปี พ.ศ. 2484 ประเทศไทยได้รับชัยชนะในการรบตลอด 22 วัน กระทั่งประเทศญี่ปุ่นที่เป็นมหาอำนาจในขณะนั้นเสนอตัวเป็นตัวกลางไกล่เกลี่ย และฝรั่งเศสได้ตกลงคืนจังหวัดไชยบุรี จำปาศักดิ์ เสียมราฐ และพระตะบองให้กับไทย ตาม อนุสัญญาโตเกียว[32] ทำให้ปราสาทพระวิหารกลับมาอยู่ในดินแดนไทยอย่างสมบูรณ์ ต่อมาเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 รัฐบาลไทยประกาศเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่น ประกาศสงครามกับฝ่ายสัมพันธมิตร และต่อมาญี่ปุ่นเป็นฝ่ายแพ้สงคราม ประเทศไทยต้องรักษาสถานะตัวเองไม่ให้เป็นฝ่ายแพ้สงครามตามญี่ปุ่น และต้องการเข้าเป็นสมาชิกสหประชาชาติ จึงตกลงคืนดินแดน 4 จังหวัดให้ฝรั่งเศส ทำให้ปราสาทพระวิหารกลับไปอยู่บริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา ต่อมาในปี พ.ศ. 2497 ฝรั่งเศสแพ้สงครามต่อเวียดนามที่เดียนเบียนฟู ต้องถอนทหารออกจากอินโดจีน ประเทศกัมพูชาได้รับเอกราชตามสนธิสัญญาเจนีวา และไทยได้ส่งทหารเข้าไปรักษาการบริเวณปราสาทพระวิหารอีกครั้ง
ภายหลังกัมพูชาได้รับเอกราช เจ้านโรดมสีหนุ กษัตริย์กัมพูชาสละราชสมบัติเข้าสู่การเมือง ได้ดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรี และประกาศเรียกร้องให้ไทยคืนปราสาทพระวิหาร และไทยไม่ยอมรับ เจ้านโรดมประกาศตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกับไทย เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2501[14] และในปีต่อมา เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2502 เจ้านโรดมสีหนุได้ฟ้องร้องต่อ ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) หรือศาลโลก ให้ไทยคืนปราสาทพระวิหาร ฝ่ายไทยต่อสู้คดีโดยมี ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช กับคณะรวม 13 คน เป็นทนายฝ่ายไทย และฝ่ายกัมพูชามีนายดีน แอจิสัน เนติบัณฑิตแห่งศาลสูงสุด อดีตรัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐอเมริกา เป็นหัวหน้าคณะ กับพวกอีกรวม 9 คน[14]
กระทั่งวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2505 ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ได้ตัดสินให้ปราสาทพระวิหารเป็นของกัมพูชา ด้วยเสียง 9 ต่อ 3[33] และในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 หลังจากศาลโลกตัดสินแล้ว 20 วัน รัฐบาลไทยโดย ดร.ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้มีหนังสือไปยัง นายอูถั่น เลขาธิการสหประชาชาติ เพื่อประท้วงคำพิพากษาของศาลโลก และสงวนสิทธิที่ประเทศไทยจะเรียกร้องปราสาทพระวิหารกลับคืนในอนาคต ทั้งนี้คำตัดสินของศาลโลกนั้นเป็นที่สิ้นสุด ไม่มีการอุทธรณ์ การจะนำคดีกลับขึ้นมาพิจารณาใหม่นั้นสามารถทำได้ถ้ามีหลักฐานใหม่และต้องทำภายในสิบปี
หลังจากนั้นไม่นาน กัมพูชาเกิดสงครามกลางเมืองขึ้นภายในประเทศ ปราสาทหินแห่งนี้เปิดให้สาธารณชนเข้าชมเพียงช่วงสั้น ๆ ในปี พ.ศ. 2535 แต่ปีต่อมาก็ถูกเขมรแดงเข้าครอบครอง จากนั้นก็เปิดอีกครั้งจากฝั่งประเทศไทย เมื่อปลายปี พ.ศ. 2541
การขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกของประเทศกัมพูชา[แก้]
ดูบทความหลักที่: ความขัดแย้งไทย-กัมพูชา
เมื่อ 8 มีนาคม พ.ศ. 2548 กัมพูชาได้เสนอต่อองค์การยูเนสโกให้ขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกอย่างเป็นทางการ ปี พ.ศ. 2549 วันที่ 30 มกราคม ศูนย์มรดกโลกของยูเนสโกที่ปารีสขอให้กัมพูชายื่นเอกสารใหม่เกี่ยวกับเขตกันชนของปราสาท และมีคำแนะนำให้ร่วมมือกับฝ่ายไทย[12] พ.ศ. 2550 กัมพูชายื่นเอกสารขอขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารอีกครั้ง ขณะที่ไทยยื่นบันทึกช่วยจำต่อเอกอัครราชทูตกัมพูชาและเสนอขึ้นทะเบียนร่วม (transboundary property) แต่คณะกรรมการมรดกโลกสากลมีมติเลื่อนการขึ้นทะเบียนออกไป โดยให้ไทย-กัมพูชาร่วมมือกันอย่างใกล้ชิด และในวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 องค์การยูเนสโกประกาศขึ้นทะเบียนตามคำขอของกัมพูชาให้ตัวปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลก เฉพาะเพียงตัวปราสาทเท่านั้น โดยผ่านเกณฑ์การพิจารณาข้อ (i) เพียงข้อเดียว[34]
ในวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2551 กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยได้นำประเด็นนี้มาโจมตีเพื่อขับไล่นายนพดล ปัทมะ ให้ออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ[35][36][37] เหตุการณ์นี้พัฒนาไปสู่ความขัดแย้งระหว่างไทยและกัมพูชาในที่สุด
นับตั้งแต่วันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 ทั้งฝ่ายไทยและกัมพูชาได้ใช้ปืนใหญ่ยิงปะทะกัน ซึ่งต่างก็โทษอีกฝ่ายหนึ่งว่าเป็นฝ่ายเริ่มก่อน[38] วันที่ 5 กุมภาพันธ์ กัมพูชาได้ยื่นจดหมายถึงสหประชาชาติ ความว่า "พฤติการณ์ล่าสุดของทหารไทยได้ละเมิดข้อตกลงสันติภาพปารีส พ.ศ. 2534 กฎบัตรสหประชาชาติ และคำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ พ.ศ. 2505"[39]
การตีความคำพิพากษา[แก้]
ดูบทความหลักที่: กรณีการตีความคำพิพากษาคดีปราสาทพระวิหาร
เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2554 กัมพูชาได้ยื่นคำร้องต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศเพื่อขอให้ศาลตีความคำพิพากษาคดีปราสาทพระวิหาร พ.ศ. 2505 และในวันเดียวกัน ประเทศกัมพูชาได้ยื่นคำร้องต่อศาล ขอให้ศาลกำหนดวิธีการชั่วคราวเพื่อคุ้มครองสิทธิของตน[40] วันที่ 18 กรกฎาคม 2554 ศาลจึงสั่งกำหนดวิธีการชั่วคราวบางประการ
โบราณสถานและโบราณวัตถุที่สันนิษฐานว่าเกี่ยวเนื่อง[แก้]
โบราณสถานและโบราณวัตถุที่สันนิษฐานว่าเกี่ยวเนื่องกับปราสาทพระวิหาร มีดังนี้
- ภาพสลักบนหน้าผามออีแดง : เป็นภาพสลักนูนต่ำรูปเทพชายและหญิงในท่าเรียงกัน 3 องค์ และยังมีส่วนที่สลักไม่เสร็จ
- สถูปคู่ : เป็นสถูปคู่ 2 องค์ สร้างด้วยหินทราย เป็นแท่งสี่เหลี่ยม สูง 4.2 เมตร ยอดมน ข้างในมีโพรงบรรจุสิ่งของ
- สระตราว : สระน้ำขนาดใหญ่ คาดว่ามีสถานะเทียบเท่าบาราย (แหล่งเก็บน้ำในอารยธรรมขอม มักสร้างใกล้ปราสาทหิน) บริเวณใกล้เคียงพบร่องรอยการตัดหินเพื่อนำไปสร้างปราสาท[12]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ ชื่ออย่างเป็นทางการโดยยูเนสโก
- ↑ 2.02.1 ข้อมูลท่องเที่ยวและรูป ปราสาทพระวิหาร
- ↑ 3.03.1 เปิดตำนาน ปราสาทพระวิหาร บนเทือกเขาพนมดงเร็ก
- ↑ "Q&A: Thailand-Cambodia temple dispute". BBC. 2013-11-07. สืบค้นเมื่อ 2013-11-10.
- ↑ International Herald Tribune (อังกฤษ)
- ↑ ธิดา สาระยา. หน้า 46.
- ↑ โครงการเสวนาทางวิชาการ เรื่อง องค์ความรู้จากปราสาทพระวิหาร (สำนักโบราณคดี กรมศิลปากร)
- ↑ เขาพระวิหาร . กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ
- ↑ ธิดา สาระยา. หน้า 46.
- ↑ 10.010.1 10.2 10.3 บุญร่วม เทียมจันทร์, ไทยแพ้คดีเสียดินแดนให้เขมร, สำนักพิมพ์ อนิเมทกรุ๊ป จำกัด, 2550
- ↑ นิตยสารสารคดี ฉบับที่ 296 หน้า 154-169
- ↑ 12.012.1 12.2 12.3 12.4 12.5 12.6 นิตยสาร สารคดี ปีที่ 24 ฉบับที่ 282 สิงหาคม 2551
- ↑ 13.013.1 13.2 สู่...ปราสาทพระวิหาร-ไทย
- ↑ 14.014.1 14.2 14.3 ความเมืองเรื่องเขาพระวิหาร, ประหยัด ศ.นาคะนาท และ จำรัส ดวงธิสาร
- ↑ ธิดา สาระยา. หน้า 69.
- ↑ ธิดา สาระยา. หน้า 71.
- ↑ ธิดา สาระยา. หน้า 75.
- ↑ ธิดา สาระยา. หน้า 77.
- ↑ ธิดา สาระยา. หน้า 77.
- ↑ 20.020.1 ธิดา สาระยา. หน้า 81.
- ↑ ISBN 978-0-8348-0450-0 Freeman, Michael (1996). A Guide to Khmer Temples in Thailand and Laos. Weatherhill. P.162
- ↑ ธิดา สาระยา. หน้า 87.
- ↑ ธิดา สาระยา. หน้า 18-19.
- ↑ ธิดา สาระยา. หน้า 34.
- ↑ ธิดา สาระยา. หน้า 36.
- ↑ ธิดา สาระยา. หน้า 37-38.
- ↑ ธิดา สาระยา. หน้า 39-40.
- ↑ ธิดา สาระยา. หน้า 41-42.
- ↑ ธิดา สาระยา. หน้า 49.
- ↑ คดีเขาพระวิหาร เดลินิวส์
- ↑ "since there was no reaction on the part of the Siamese authorities, either then or for many years, they must be held to have acquiesced." "The Siamese Government and later the Thai Government had raised no query about the Annex I map prior to its negotiations with Cambodia in Bangkok in 1958." Judgment of 15 June 1962 on Temple of Preah Vihear (Cambodia v. Thailand), International Court of Justice
- ↑ หมวดวิชาที่ 2 การทหารวิชาการสงคราม http://www.officer.rtaf.mi.th
- ↑ คำพิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (อังกฤษ)
- ↑ สมุดปกขาวชี้แจงการขึ้นทะเบียนปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลก
- ↑ The Nation, PAD begins rallying in front of MFA building to protest Preah Vihear Temple map, June 18, 2008.
- ↑ Saritdet Marukatat, The Bangkok Post, This land is my land! June 18, 2008.
- ↑ ผู้จัดการออนไลน์, พันธมิตรฯ ทั่ว ปท.บุกกรุง!ฮือขับไล่“นพดล”ย่ำยีหัวใจไทย!! 18 มิถุนายน 2551
- ↑ "Shells fly around the temple". The Economist. February 7, 2011. สืบค้นเมื่อ February 7, 2011.
- ↑ Thailand, Cambodia trade shots, charges over ancient temple, CNN สืบค้นเมื่อวันที่ February 8, 2011
- ↑ INTERNATIONAL COURT OF JUSTICE, Cambodia files an Application requesting interpretation of the Judgment rendered by the Court on 15 June 1962 in the case concerning the Temple of Preah Vihear (Cambodia v. Thailand) and also asks for the urgent indication of provisional measures, 2 May 2011
บรรณานุกรม[แก้]
- ธิดา สาระยา. (2552). ปราสาท (เขา) พระวิหาร. สำนักพิมพ์เมืองโบราณ. ISBN 978-974-7385-26-7.
ดูเพิ่ม[แก้]
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: Prasat Preah Vihear |
- ภาษาไทย
- ข้อมูลสังเขปปราสาทพระวิหาร โดยกระทรวงการต่างประเทศ
- ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, ปราสาทพระวิหาร - กรณีศึกษาการเมืองกับลัทธิชาตินิยม - มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง, 20 มิถุนายน 2551. และ ฉบับแก้ไขข้อมูลเพิ่มเติมจากผู้เขียน, 4 กรกฎาคม 2551
- praviharn.net ภาคีเครือข่ายติดตามสถานการณ์กรณีปราสาทพระวิหาร
- การเสียดินแดนอันเกี่ยวเนื่องกับปราสาทพระวิหาร สื่อรณรงค์เพื่อยุติการเสียดินแดนครั้งที่ ๑๕
- ปราสาทพระวิหาร โดย ศาสตราจารย์ ดร.สมปอง สุจริตกุล เงื่อนปมคดีปราสาทพระวิหาร ผู้อยู่ในคณะทนายฝ่ายไทย คดีพระวิหาร พ.ศ. ๒๕๐๕
- ภาษาอังกฤษ
- Preah-Vihear.com - Preah Vihear Temple and the Thai's Misunderstanding of the World Court Judgment of 15 June 1962
- Case Concerning the Temple of Preah Vihear - International Court of Justice
- New World Heritage Sites (including Preah Vihear temple)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น