วันอังคารที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

18.07.2560 Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/983/thailand/ayutthaya/wat-thammikarat



Wat Thammikarat (วัดธรรมิกราช) (age unknown)

Wat Thammikarat (also called Wat Dhamikaraj) is a large temple located immediately to the east of the site of the Royal Palace of Ayutthaya. Its proximity and size testify to its importance in the Ayutthayan period, but it is not known precisely when the temple was founded. Local legends suggest that it may predate the founding of Ayutthaya itself in the 14th century; if so, its present buildings are almost certainly an early Ayutthayan-period reconstruction. Some evidence of antiquity includes a large bronze Buddhist head discovered here which was fashioned in a style "dating back to the second generation of U Thong art" (Ayutthaya: A World Heritage, p. 106). Another antique feature are the lion figures (singh) encircling the principal chedi that are quite similar to Khmer motifs seen at Angkor, a city which reached its zenith several hundred years before Ayutthaya's founding.
The Royal Chronicles of Ayutthaya mention Wat Thammikarat in passing at least once. It was here that the rebellious Prince Si Sin was placed in a sort of house arrest during the rule of King Cakkraphat (mid-16th century). When he was of an age to become a monk, the King of Ayutthaya called for him, but it was found that he had escaped three days prior. The king ordered the official Cho Phraya Maha Sena to search for him. Although he was later found, the rebellious prince was able to gather a number of followers and stormed the royal palace, forcing the king to flee for his life by barge. However, the rebellion soon faltered and Si Sin was killed by a firearm. His followers were put to death, and the "king ordered executions in great numbers" (Royal Chronicles of Ayutthaya, p. 42).
Although Wat Thammikarat was substantially damaged during the Burmese sack of the city in 1767, enough of the temple survives to testify to its grandeur. For example, its enormous viharn, now roofless, was built of sufficient quality that most of its walls and a fair number of internal columns remain standing.

Location

The approximate location of the site is 14.359015' N, 100.561813' E (WGS 84 map datum).


 01.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 02.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 03.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 04.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 05.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 06.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 07.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 08.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 09.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 10.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 11.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 12.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 13.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 14.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 15.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 16.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 17.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 18.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 19.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 20.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 21.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 22.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 23.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 24.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 25.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 26.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 27.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 28.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 29.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 30.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 31.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


32.Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

Wat Thammikarat, Ayutthaya, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/983/thailand/ayutthaya/wat-thammikarat

----------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://th.wikipedia.org/wiki/วัดธรรมิกราช


วัดธรรมิกราช


จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วัดธรรมิกราช
Place WatDharmikraj Ubosoths.jpg
วิหารเก้าห้อง วัดธรรมิกราช
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อวัดธรรมิกราช
ที่ตั้งติดกับพระราชวังโบราณ และวัดพระศรีสรรเพชญ์
พระประธานวิหารเก้าห้อง
โบราณสถาน
เวลาทำการเปิดทุกวัน เวลา 08.30-16.30
จุดสนใจวิหารเก้าห้องภายในวัดธรรมิกราช
    
วัดธรรมิกราช เดิมชื่อ วัดมุขราช ตั้งอยู่ใน อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ติดกับพระราชวังโบราณ และวัดพระศรีสรรเพชญ์ ปัจจุบันยังเป็นวัดที่มีพระภิกษุสงฆ์จำพรรษาและปฏิบัติธรรมอยู่ โดยมีพระครูสมุห์ธรรมภณเป็นเจ้าอาวาส

ประวัติ[แก้]

เมื่อพระเจ้าสายน้ำผึ้ง สร้างวัดพนัญเชิงนั้น พระราชโอรส คือพระเจ้าธรรมิกราช โปรดให้สร้างวัดนี้ขึ้นที่บริเวณเมืองเก่าชื่อเมืองอโยธยาศรีรามเทพนคร ทางหน้าประตูด้านทิศเหนือคือ พระเจดีย์สิงห์ล้อม ๕๒ ตัวที่แตกต่างไปจากเจดีย์ทั่วไป นับเป็นพระเจดีย์สิงห์แห่งเดียวในพระนครศรีอยุธยา ก่อนสร้างกรุงศรีอยุธยา ในสมัยต่อมา พระมหากษัตริยได้ทรงบูรณะมาโดยตลอด โดยสังเกตจากร่องรอยการซ่อม และพื้นที่ของวัดที่อยู่ทางทิศตะวันออกของพระนครฯ ตามคติโบราณถือว่าเป็นทิศมงคล ในสมัยสมเด็จพระไตรโลกนาถทรงธรรม (พ.ศ. ๒๑๕๓) ทรงบูรณะวัด และสร้างพระวิหารหลวง เพื่อฟังธรรมในวันธรรมสวนะ (วันพระ) สำหรับพระวิหารพระพุทธไสยยาสน์ (พระนอน) นั้น พระราชมเหสีของพระองค์มีพระราชธิดาประชวร ทรงอธิษฐานไว้เมื่อพระราชธิดาหายแล้วจึงสร้างพระวิหารถวาย น้ำพระพุทธมนต์ในพระวิหารนี้กล่าวกันว่ามี ความศักดิ์สิทธิ์มากมีประชาชนมาอธิษฐาน ขอไปใช้ตามความปรารถนาจำนวนมาก
พระราชพงศาวดารว่าเมื่อสิ้นรัชกาลพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เจ้าสามกรมต่างรวบรวมผู้คนเพื่อจะชิงราชสมบัติ พระธรรมโคดมวัดธรรมิกราช และพระราชาคณะวัดกุฏีดาว วัดพุทไธสวรรย์ วัดรามรามาวาส ไปเทศน์โปรดให้เจ้าทั้งสามกรมให้สามัคคีกันและให้กระทำสัตย์สาบาล
ก่อนเสียกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าอุทุมพรผนวชที่วัดนี้พร้อมด้วยมหาดเล็กชื่อนายหง โดยตั้งพระทัยว่าถ้าบ้านเมืองเกิดศึกจะออกไปช่วยรบ ต่อมาเมื่อทัพข้าศึกยกมาถึงตำบลภูเขาทอง นายหงลาสิกขาก่อนออกรบและแตกพ่ายไปเข้ากับพระยาตาก (สิน) เมื่อกู้อิสรภาพแล้วต่อมาได้รับพระราชทานเป็นพระยาเพชรพิชัยจนต่อสมัย กรุงรัตนโกสินทร์ บุตรของพระยาเพชรพิชัยที่รับราชการต่อมาก็เป็นพระยาเพชรพิชัยสืบมา จนสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่๕) ภริยาพระยาเพชรพิชัยตามเสด็จมาที่วัดเกิดศรัทธาจึงบูรณะวัดขึ้น ในสมัยที่พระครูธรรมิกาจารคุณ (ฟัก) เป็นเจ้าอาวาส โดยบูรณะพระอุโบสถและพระวิหารใหม่และจะขอพระราชทานเป็นพระอารามหลวง แต่ยังไม่เสร็จเรียบร้อยดีสวรรคตก่อน มีสถานที่ตั้งเครื่องรับเสด็จและบ่อน้ำโบราณศักดิ์สิทธิ์ของวัด ประมาณปี๒๔๘๔ พระอุโบสถเดิมพระประธานเป็นศิลปสมัยรัตนโกสินทร์เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นปิดทอง ผนังด้านตะวันออกเขียนเป็นภาพพุทธประวัติโดยนายช่างแข ก่อนจะทรุดตัวลง หลังคาได้ทรุดลงมาก่อนทางวัดได้มุงสังกระสีไว้ ยังไม่ทันบูรณะผนังพระอุโบสถก็ทรุดพังลง ทางวัดเตรียมการจะบูรณะ แต่ทางกรมศิลปากรได้เข้ามาซ่อมแทน เดิมเขตกฎีสงฆ์ที่เป็นเขตสังฆาวาสนั้นอยู่หลังพระอุโบสถติดกับศาลพระเจ้าธรรมิกราช สมัยที่นายปรีดีพนมยงค์สร้างวัดพนมยงค์นั้น เริ่มทำการบูรณะพระวิหารมงคลบพิตรแล้วจะนำช่างชุดเดียวกันมาบูรณะ วัดธรรมิกราชต่อ แต่มีเหตุการณ์ทางการเมืองเกิดขึ้น ต่อมาสมัยจอมพลแปลกพิบูลสงคราม เป็นนายก ฯ ได้มาสร้างกำแพงวัดปูพื้นพระวิหารพระนอนและกุฏิสงฆ์ ยังไม่แล้วเสร็จก็เกิดเหตุทางการเมืองขึ้นอีกจนกรมศิลปากรเข้ามาดำเนินการต่อ
เศียรพระพุทธรูปหล่อสำฤทธิ์เป็นศิลปะสมัยอู่ทอง เดิมอยู่ในวิหารหลวงมีความศักดิ์สิทธิ์มาก กล่าวว่าผู้ใดเป็นคดีความกันมาสาบานต่อหน้าพระพักตร์คนผิดต้องตายหรือมีอันเป็นไปทุกคนเป็นที่กล่าวขานกันมาก สมัยที่พระยาโบราณราชธานินทร์ เป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่า จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ในพระราชวังจันทรเกษม ได้นำเศียรพระพุทธรูปนี้ไป ต่อมากรมศิลปากรจึงนำไปไว้ที่พิพิธภัณฑ์เจ้าสามพระยา ความศักดิ์สิทธิ์จึงคลายไป


------------------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://donmueangairportthai.com/th/popular-destinations/1716/wat-thammikarat-phra-nakhon-si-ayutthaya

 01.พระเจดีย์สิงห์ล้อม ๕๒ ตัว. 
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


 02.วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.


03.พระเจดีย์สิงห์ล้อม ๕๒ ตัว
วัดธรรมิกราช (เดิมชื่อ วัดมุขราช) อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

------------------------------------------------------------------------
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://watboran.wordpress.com/category/วัดธรรมิกราช

วัดธรรมิกราช

22012007
วัดธรรมิกราช อยู่บริเวณใกล้เคียงกับพระราชวังโบราณ นักท่องเที่ยวสามารถสังเกตุ
จะมีป้ายตามข้างถนนจะบอกทาง ปัจจุบันวัดธรรมิกราชยังเป็นวัดที่พระสงฆ์ประจำอยู่
และทางทิศเหนือของวัดธรรมิกราชปัจจุบัน มีวิหารพระนอนที่มีผู้นิยมศรัทธา
มานมัสการอยู่สม่ำเสมอ
ประวัติ
วัดธรรมิกราช ตั้งอยู่ด้านหน้าพระราชวังหลวง
ในพงศาวดารเหนือกล่าวว่า พระยาธรรมิกราชโอรสของพระเจ้าสายน้ำผึ้งเป็นผู้สร้าง
จึงสันนิษฐานว่าคงสร้างขึ้นก่อนที่จะสถาปนากรุงศรีอยุธยา เดิมชื่อวัดมุขราช
ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อตามผู้สร้างเป็นวัดธรรมิกราช
หลักฐานของโบราณสถาณของวัดแสดงว่าได้รับการบูรณะมาแล้ว
อย่างน้อยหนึ่งครั้งในสมัยอยุธยาตอนปลาย ในคราวเสียกรุงครั้งสุดท้าย
หลักฐานด้านเอกสารระบุว่าวัดนี้ถูกไฟไหม้เสียหาย
จุดน่าสนใจ
เจดีย์ทรงกลมที่มีปูนปั้นรูปสิงห์ล้อม
ความโดดเด่นเมื่อแรกเห็นวัดนี้ คือ เจดีย์ทรงกลมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ คือมีปูนปั้น
รูปสิงห์ล้อมรอบไว้อย่างงามสง่าและหาชมได้ยากในเมืองไทย ในอยุธยามีประติมากรรม
สิงห์ปูนปั้นอีกแห่งหนึ่งที่วัดแม่นางปลื้มตั้งอยู่ริมคลองเมือง (แม่น้ำลพบุรีเดิม) ตรงข้ามกับ
ตลาดหัวรอ ในตำบลหัวรอ เพราะโดยทั่วไปอย่างสุโขทัย ศรีสัชนาลัย กำแพงเพชร ก็มี
แต่วัดช้างล้อมในกรุงศรีอยุธยาก็มีเจดีย์ช้างล้อม ที่วัดมเหยงค์ และวัดแม่นางปลื้ม
(ที่เชียงใหม่ ซึ่งเป็นศิลปะล้านนาที่ได้รับอิทธิพลจากพม่า ก็มีหลายวัดที่มีรูปสิงห์เฝ้าเจดีย์
ทว่าส่วนใหญ่ปั้นไว้ 4 ตัว สำหรับ 4 ทิศ) แต่วัดธรรมิกราชมีสิงห์ล้อมรอบนับได้ 20 ตัว
ซึ่งแม้จะหักพังไปตามกาลเวลาอันเนิ่นนานมาถึง 900 ปี แต่ก็ยังหลงเหลือที่สมบูรณ์อีกหลาย

-ความโดดเด่นเมื่อแรกเห็นวัดนี้ คือ เจดีย์ทรงกลมที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ
คือมีปูนปั้นรูปสิงห์ล้อมรอบที่สวยงาม-
นักประวัติศาสตร์ลงความเห็นว่า กรุงศรีอยุธยาได้รับอิทธพลทางศิลปะการปั้นตัวสิงห์มาจากจีน
และขอม ซึ่งกำลังเกรียงไกรอยู่ในเวลานั้น (ราว พ.ศ. 1600) ตามคติความเชื่อของจีนและ
ขอมนั้น สิงห์หรือสิงโตเป็นสัญลักษณ์แห่งพลังอำนาจ และในตำนานของศาสนาพราหมณ์
หรือฮินดู (ซึ่งขอมนับถืออยู่ในขณะนั้น) เล่าว่าพระนารายณ์หรือวิษณุหนึ่งในเทพชั้นสูงของฮินดู
เคยอวตารเป็นสิงห์ ขณะเดียวกันตามลัทธิเทวราชาซึ่งไทยรับมาจากขอม ก็เชื่อว่า
พระมหากษัตริย์คือเทพวิษณุลงมาจุติบนโลกมนุษย์ จึงปรากฏว่าไทยเราใช้ตราครุฑ
เป็นสัญลักษณ์ของ”ข้าราชการ” (ผู้รับใช้พระราชา) มาจวบจนถึงปัจจุบัน ก็เพราะครุฑ
เป็นสัตว์พาหนะของพระวิษณุ
วิหารหลวง 
วัดธรรมิกราชมีวิหารขนาดใหญ่ ซึ่งเป็นวิหารหลวง โดยโครงสร้างของวิหารไม่ได้มีโครงเหล็ก
เป็นรากฐาน แต่มีความมั่นคงแข็งแรงมาก เพราะใช้ปูนเปลือกหอยและประสานด้วยน้ำตาลอ้อย
เคยเป็นที่ประดิษฐานพระประธาน ซึ่งเป็นพระพุทธรูปสำริดขนาดใหญ่ แต่ถูกพม่าเผาทำลาย
เหลือเพียงพระเศียร ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสามพระยา
พระพุทธรูปสำริดองค์นี้ยังถือเป็นเอกลักษณ์ของศิลปะอู่ทอง หรือศิลปะยุคก่อนกรุงศรีอยุธยา
คือพระพักตร์เป็นสี่เหลี่ยม แลดูเคร่งเครียด พระพักตร์ถมึงทึง จนชาวบ้านเรียกกันทั่วไปว่า
“หล่วงพ่อแก่”

-ซากตัววิหาร เสาขนาดใหญ่ที่ชำรุดลง-
การเดินทาง
วัดธรรมิกราชตั่งอยู่บริเวณหน้าพระราชวังโบราณ ริม ถนนอู่ทอง นักท่องเที่ยว
สามารถใช้เส้นทางเดียวกับเส้นทางวัดพระมงคลบพิตรหรือวัดพระศรีสรรเพชญ์
-----------------------------------

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น