วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/987/thailand/ayutthaya/wat-maheyong
Wat Maheyong (วัดมเหยงคณ์) (1438 onward)
Wat Maheyong stands northeast of Ayutthaya city island. It was built during the reign of King Borommarachathirat II in 1438 and subsequently remodeled by King Thai Sa in 1709. The Royal Chronicles of Ayutthaya record the king's interest in the site, noting:
"The Monastery of the Mound being dilapidated and in ruins, the King thereupon manifested His holy compassion by speaking over the heads and over the pates and commanding that the primary grand chief head marshal to have it restored and then to have a holy residence established beside the monastery. His Majesty went went out in holy royal procession to reside [there], sometimes for one month some times for two months, and sometimes for three months at a time."
The king's interest in the site was strong enough that he visited often over a three year period until the restoration was complete. However, the restored monastery survived only for about sixty years as it was decimated during the Burmese sack of Ayutthaya in 1767.
A curious feature is the sixty meter long corridor connecting the east facade of the ubosot (ordination hall) with the east entrance. The importance of the temple in the Ayutthayan era is evident in the detail lavished on the principle chedi to the west of the ubosot. The chedi's base is surrounded with statues of the front quarters of elephants in a manner reminiscent of Sukhothai temples of the previous dynasty such as Wat Chang Lom in Si Satchanalai.
The temple stands just 270 meters north northwest of Wat Chang. Between the two temples is the ruin of the pavilion that King Thai Sa likely used to oversee the renovations. A number of temples were built in the vicinity as this area comprises one of the dryer areas of land near Ayutthaya city island.
The temple is mentioned at least three times in the Royal Chronicles of Ayutthaya. The first reference is to the foundation of the temple in 1424 during the first year of King Borommarachathirat II's rule. The second reference concerns an attack near the monastery by the king of the 'Hongsawadi' (the Burmese) lead by Maha Uparat. The defenders, lead by Caophraya Maha Sena were successful in repelling the first attack, but were unable to stop Maha Uparat's men from crossing through a canal near Wat Maheyong. Although the Burmese prevailed, they were apparently forced to goad their men into attacking by threatening them with decapitation, and a number of the invaders drowned in their crossing of the canal.
The final reference is to an episode in 1568-69 during another war with the Burmese when the commander of the enemy forces encamped at Wat Maheyong while his allies attacked the city from all sides. The city eventually fell in September 1569 after a nine month siege. The Ayutthayan King, Mahinthrathirat, was made to present himself before the King of the Burmese at Wat Maheyong. He and his family were later led to Pegu in captivity. Although Portuguese traders were active in the city at the time, unfortunately no Portuguese chronicles survive to narrate their version of events.
Plan View
Drawn by Timothy M Ciccone following Fine Arts Department, and notes/photographs taken on site.
Location
The approximate location of the site is 14.363779' N, 100.594940' E (WGS 84 map datum).
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
02.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
03.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
04.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
05.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
06.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
07.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
08.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
09.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
10.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
11.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
12.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
13.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
14.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
15.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
16.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
17.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
18.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
19.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
20.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
21.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
22.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
23.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
24.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
25.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
26.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
27.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
28.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
29.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
30.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
31.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
32.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
33.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
34.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
35.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
36.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
37.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
38.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
39.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
40.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
41.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
42.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
43.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
44.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
45.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
46.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
47.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
48.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
49.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
50.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
51.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
52.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
53.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
54.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
55.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
56.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
57.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
58.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
59.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
60.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
61.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
62.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
63.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.Wat Maheyong, Ayutthaya, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/987/thailand/ayutthaya/wat-maheyong
--------------------------------------------------------------------------
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Wat_Maheyong
-ฐานของเจดีย์ที่มีรูปช้างประดับรายรอบ วัดมเหยงคณ์-
-สภาพชำรุดภาพของรูปปั้นช้างและส่วนยอดของเจดีย์ที่ทลายลงมา-
-ภาพสภาพภายในอุโบสถวัดมเหยงคณ์ปัจจุบัน-
-เจดีย์เก่าแก่และพระพุทธรูปบริเวณนอกกำแพงวัด-
-สถานที่ฝึกวิปัสสนาวัดมเหยงคณ์-
01.วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Wat_Maheyong
Wat Maheyong
From Wikipedia, the free encyclopedia
Wat Maheyong is a Buddhist temple in Ayutthaya, Thailand. It was originally built in 1438, during the reign of King Borommarachathirat II, and restored in 1711 by King Thai Sa.[1]
The major buildings in this temple[1] [2] are its chedi (stupa) and ubosot (ordination hall). The chedi's platform is supported by 80 sculpted elephants, and its ubosot is currently under worship.
References[edit]
- ^ ab "History of Ayutthaya". Retrieved 11 September 2014.
- ^ "Wat Maheyong". Retrieved 13 September 2014.
--------------------------------------------------------------------
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก https://watboran.wordpress.com/category/วัดมเหยงคณ์
วัดมเหยงคณ์
22012007
วัดมเหยงคณ์ ในปัจจุบันเป็นอารามหลวงฝ่ายวิปัสสนาธุระ ที่เคยรุ่งเรืองสำคัญยิ่งมา
ในอดีตสมัยอยุธยา ถึงแม้ปัจจุบันเป็นวัดร้าง สภาพโบราณสถาน โบราณวัตถุที่ยังเหลืออยู่
หักพังเสียหายไปมาก แต่พอมีเค้าพอเป็นหลักฐานบ่งบอกถึงศิลปการก่อสร้างอันประณีต
งดงามมโหฬาร และระดับความสำคัญของพระอารามแห่งนี้ได้เป็นอย่างดี
ในอดีตสมัยอยุธยา ถึงแม้ปัจจุบันเป็นวัดร้าง สภาพโบราณสถาน โบราณวัตถุที่ยังเหลืออยู่
หักพังเสียหายไปมาก แต่พอมีเค้าพอเป็นหลักฐานบ่งบอกถึงศิลปการก่อสร้างอันประณีต
งดงามมโหฬาร และระดับความสำคัญของพระอารามแห่งนี้ได้เป็นอย่างดี
ประวัติ
วัดมเหยงคณ์ สร้างขึ้นในแผ่นดินสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ (เจ้าสามพระยา)
เมื่อ พ.ศ. ๑๙๘๑ หลักฐานสำคัญที่สอดคล้องกับสมัยการสร้างคือ ลักษณะทาง
ศิลปกรรมของเจดีย์ทรงระฆังที่มีรูปช้างรอบฐาน ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับแบบอย่างในเจดีย์
ช้างล้อมในศิลปะสุโขทัย
วัดมเหยงคณ์ สร้างขึ้นในแผ่นดินสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ (เจ้าสามพระยา)
เมื่อ พ.ศ. ๑๙๘๑ หลักฐานสำคัญที่สอดคล้องกับสมัยการสร้างคือ ลักษณะทาง
ศิลปกรรมของเจดีย์ทรงระฆังที่มีรูปช้างรอบฐาน ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับแบบอย่างในเจดีย์
ช้างล้อมในศิลปะสุโขทัย
พ.ศ. ๒๒๕๒ ในแผ่นดินของพระเจ้าท้ายสระ มีการปฎิสังขรณ์ครั้งใหญ่ที่วัดนี้ พระองค์
เสด็จมาทอดพระเนตรการนั้นเนืองๆ รวมทั้งโปรดมาประทับสำราญพระราชหฤทัย เช่น
ทรงเบ็ดในหน้าน้ำ เข้าใจกันว่าซากตำหนักสองชั้นซึ่งอยู่ด้านใต้นอกกำแพงวัด อาจสร้าง
ขึ้นมาสำหรับเป็นที่ประทับ
เสด็จมาทอดพระเนตรการนั้นเนืองๆ รวมทั้งโปรดมาประทับสำราญพระราชหฤทัย เช่น
ทรงเบ็ดในหน้าน้ำ เข้าใจกันว่าซากตำหนักสองชั้นซึ่งอยู่ด้านใต้นอกกำแพงวัด อาจสร้าง
ขึ้นมาสำหรับเป็นที่ประทับ
-ฐานของเจดีย์ที่มีรูปช้างประดับรายรอบ วัดมเหยงคณ์-
-สภาพชำรุดภาพของรูปปั้นช้างและส่วนยอดของเจดีย์ที่ทลายลงมา-
-ภาพสภาพภายในอุโบสถวัดมเหยงคณ์ปัจจุบัน-
-เจดีย์เก่าแก่และพระพุทธรูปบริเวณนอกกำแพงวัด-
-สถานที่ฝึกวิปัสสนาวัดมเหยงคณ์-
การเดินทาง
ถ้าเดินมาจากถนนสายเอเชีย แยกเข้าสู่ถนนโรจนะเพื่อมุ่งเข้าเกาะเมือง
พอมาถึงเจดีย์วัดสามปลื้มเลี้ยวขวาอ้อมวงเวียนมาตามถนนระยะทางประมาณ 1.5กิโลเมตร
ก็จะถึงทางเข้าวัดมเหยงคณ์ ท่านจะมองเห็นผนังอุโบสถก่อด้วยอิฐสีแดงตระหง่าน
ถ้าเดินมาจากถนนสายเอเชีย แยกเข้าสู่ถนนโรจนะเพื่อมุ่งเข้าเกาะเมือง
พอมาถึงเจดีย์วัดสามปลื้มเลี้ยวขวาอ้อมวงเวียนมาตามถนนระยะทางประมาณ 1.5กิโลเมตร
ก็จะถึงทางเข้าวัดมเหยงคณ์ ท่านจะมองเห็นผนังอุโบสถก่อด้วยอิฐสีแดงตระหง่าน
ความเห็น : Leave a Comment »
หมวดหมู่ : ๐๘.วัดมเหยงคณ์
------------------------------------------------------------------------
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.watmaheyong.org/index.php/th/mhy-about/32-about-past
ประวัติวัดมเหยงคณ์ในอดีต
วัดมเหยงคณ์ เดิมเป็นพระอารามหลวงฝ่ายวิปัสสนาธุระ ที่เคยสำคัญยิ่งมาในอดีตสมัยอยุธยา โดยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒(เจ้าสามพระยา) ทรงสร้างขึ้น และได้รับการปฏิสังขรณ์หลายครั้งในหลายสมัย แต่ได้กลายเป็นวัดร้าง เข้าใจว่านับตั้งแต่เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ ในปี พ.ศ. ๒๓๑๐ รวมเวลาร่วงเลยมา ๒๐๐ กว่าปี ปัจจุบันเป็นวัดร้างที่สภาพโบราณสถานและโบราณวัตถุที่ยังเหลืออยู่ได้ปรักหักพังไปมาก แต่ก็พอมีเค้าเป็นหลักฐานบ่งบอกถึงศิลปะการก่อสร้างอันประณีตงดงามมโหฬารและระดับความสำคัญของพระอารามแห่งนี้ได้เป็นอย่างดี
แนวคิดทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเกี่ยวกับการสร้างวัดมเหยงคณ์ ได้แตกออกเป็น ๒ แนวทางคือ
-ตามพงศาวดารเหนือได้บันทึกไว้ว่า พระนางกัลยาณี มเหสีของพระเจ้าธรรมราชา (พ.ศ. ๑๘๔๔-๑๘๕๓) กษัตริย์องค์ที่ ๘ ของอโยธยาเป็นผู้สร้างวัดมเหยงคณ์ ซึ่งแสดงว่าวัดมเหยงคณ์สร้างในสมัยอโยธยาก่อนตั้งกรุงศรีอยุธยาอย่างน้อย ๔๐ ปี
-ส่วนพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา กล่าวว่าศักราช ๗๘๖ มะโรงศก (พ.ศ.๑๙๖๗) สมเด็จพระบรมราชาธิราชเจ้า(เจ้าสามพระยา)กษัตริย์กรุงศรีอยุธยาเป็นผู้สร้างวัดมเหยงคณ์ขณะที่พงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติกล่าวว่าศักราช ๘๐๐ มะเมียศก (พ.ศ.๑๙๘๑) สมเด็จบรมราชาธิราชเจ้า (เจ้าสามพระยา) เป็นผู้สร้างวัดมเหยงคณ์
มีการวิเคราะห์กันว่าวัดมเหยงคณ์นั้นถูกสร้างขึ้นตั้งแต่ครั้งอโยธยา แต่ชำรุดทรุดโทรมเมื่อเวลาผ่านไปกว่า ๑๐๐ ปี ถึงสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชทรงเห็นว่าเป็นวัดเก่าแก่ จึงบูรณะและสร้างเพิ่มเติมให้ใหญ่โตจากโครงสร้างเดิมที่มีอยู่แล้ว
02.วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
วัดมเหยงคณ์ได้รับการบูรณะปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ ในสมัยกษัตริย์พระนามว่า พระภูมิมหาราช (พระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ) ในปีฉลูเอกศก (สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย พ.ศ.๒๒๕๒) วัดมเหยงคณ์ได้เจริญรุ่งเรืองอย่างมากในสมัยกรุงศรีอยุธยา และคงรุ่งเรืองตลอดมาจนถึงสมัยกรุงศรีอยุธยาแตกใน พ.ศ. ๒๓๑๐
03.วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
ภายในวัดมเหยงคณ์ มีพระอุโบสถ ตั้งอยู่บนฐานสูง ๒ ชั้นลดหลั่นกัน ขนาดพระอุโบสถกว้าง ๑๘ เมตร ยาว ๓๖ เมตร นับว่าเป็นพระอุโบสถที่ใหญ่ที่สุดในเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา หลังพระอุโบสถทางทิศตะวันตกพ้นเขตกำแพงแก้ว จะพบพระเจดีย์ฐานช้างล้อมซึ่งเป็นเจดีย์องค์ประธานของวัดมเหยงคณ์ ตั้งอยู่บนฐานทักษิณสี่เหลี่ยมจตุรัส กว้างยาวด้านละ ๓๒ เมตร มีกำแพงแก้วล้อมรอบ มีบันไดทางขึ้นทั้ง ๔ ทิศ ที่ฐานทักษิณมีรูปช้างปูนปั้นยืนประดับอยู่ตามซุ้มรอบฐานรวม ๘๐ เชือก องค์เจดีย์ประธานยอดเจดีย์หักตั้งแต่ใต้บัลลังก์ลงมา ฐานชั้นล่างของพระเจดีย์มีซุ้มพระพุทธรูปจตุรทิศยื่นออกมาเห็นชัดเจน
04.วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
ประวัติวัดมเหยงคณ์ในปัจจุบัน
หลังจากสิ้นกรุงศรีอยุธยาวัดมเหยงคณ์ถูกทอดทิ้งให้รกร้าง ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษา จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๕๒๗ พระครูเกษมธรรมทัต(ปัจจุบันเป็นพระภาวนาเขมคุณ วิ.) ได้จัดตั้งสำนักกรรมฐานขึ้นในบริเวณวัดมเหยงคณ์ โบราณสถานได้รับการดูแล ถากถางพันธุ์ไม้ต่างๆ ที่ขึ้นปกคลุมโบราณสถานไว้ ปรับบริเวณพื้นที่ในฝ่ายพุทธาวาสและสังฆาวาสให้ร่มรื่นและสงบเงียบจากสิ่งรบกวน กรมศิลปากรเองก็เข้ามาดำเนินการขุดแต่งและปฏิบัติงามตามโครงการบูรณะฟื้นฟูดินแดนกลุ่มอโยธยาทำให้สภาพของวัดมเหยงคณ์ ที่เปรียบเสมือนทองคำจมดินอยู่ ได้รับการขัดสีฉวีวรรณให้สุกปลั่ง ปรากฏแก่สายตาของผู้มาพบเห็นได้ชื่นชมและประจักษ์ในคุณค่าของสถาปัตยกรรมไทยในอารามแห่งนี้ได้เต็มที่
ปัจจุบันกรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนวัดมเหยงคณ์เป็นโบราณสถานของชาติ ตั้งแต่วันที่ ๘ มีนาคม พ.ศ.๒๔๘๔ กรมศิลปากรได้เข้าไปบูรณะ และเนื้อที่นอกเขตโบราณสถานได้จัดเป็นสำนักปฏิบัติกรรมฐาน โดยมีประชาชนเข้าไปรับการอบรมเป็นจนนวนมาก ทางวัดมเหยงคณ์ได้จัดให้มีกิจกรรมทางศาสนามากมาย ได้แก่
- จัดอบรมวิปัสนากรรมฐาน
- จัดอบรมปฏิบัติธรรมพิเศษ
- จัดบวชเนกขัมมภาวนาประจำเดือน
- จัดบวชถือศีล ๘ ประจำวัน
- จัดบวชพระสงฆ์ประจำเดือน และ พระสงฆ์จำพรรษา
ปฏิปทาของวัดมเหยงคณ์
- สร้างสถานที่ให้สัปปายะ เพื่อรองรับผู้ปฏิบัติธรรม
- ตั้งโรงเรียนสอนพระปริยัติธรรมเพื่อให้ความรู้ทั้ง พระสงฆ์ และ ประชาชนทั่วไป
- เป็นศูนย์กลางการเผยแพร่พุทธศาสนาในชุมชน
- จัดบวชเนกขัมมภาวนา อบรมจริยธรรม การปฏิบัติธรรม แก่ประชาชนทั่วไป
- ช่วยอนุรักษ์โบราณสถาน และศิลปะของไทยสมัยโบราณ
05.วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
06.วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
-----------------------------------------------------------------------
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.dhammathai.org/watthai/central/watmahaeyong.php
1.วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
2.เจดีย์รายทรงลังกา
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
3.พระอุโบสถ
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
4.เจดีย์ช้างล้อม
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
--------------------------------------------------------------
ขอบคุณ ภาพและข้อมูล จาก http://www.dhammathai.org/watthai/central/watmahaeyong.php
1.วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
วัดมเหยงคณ์
|
วัดราษฏร์ - สำนักปฏิบัติธรรม บวชเนกขัมม
|
วัดมเหยงคณ์ เดิมเป็นพระอารามหลวง และกลายเป็นวัดร้างไปภายหลังกรุงศรีอยุธยาแตกเมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ วัดนี้ตั้งอยู่ ณ หมู่ที่ ๕ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่นอกเขตเมืองมาทางทิศตะวันออก ถ้าเดินมาจากถนนสายเอเชีย แยกเข้าสู่ถนนโรจนะเพื่อมุ่งเข้าเกาะเมือง พอมาถึงเจดีย์วัดสามปลื้มเลี้ยวขวาอ้อมวงเวียนมาตามถนนระยะทางประมาณ ๑.๕ กิโลเมตร ก็จะถึงทางเข้าวัดมเหยงคณ์ ท่านจะมองเห็นผนังอุโบสถก่อด้วยอิฐสีแดงตระหง่านแต่ไกล
ประวัติความเป็นมาของวัด มเหยงคณ์น่าสนใจ เพราะเป็นเครื่องชี้ถึงความเจริญด้านจิตใจ ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการก่อสร้าง ทะนุบำรุงพระอารามแห่งนี้สืบต่อกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี
ปัจจุบันนี้กรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนใดมเหยงคณ์เป็นโบราณวัตถุ โบราณสถานของชาติ ตั้งแต่วันที่ ๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๘๔
ประวัติความเป็นมาของวัด มเหยงคณ์น่าสนใจ เพราะเป็นเครื่องชี้ถึงความเจริญด้านจิตใจ ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการก่อสร้าง ทะนุบำรุงพระอารามแห่งนี้สืบต่อกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี
ปัจจุบันนี้กรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนใดมเหยงคณ์เป็นโบราณวัตถุ โบราณสถานของชาติ ตั้งแต่วันที่ ๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๘๔
ใครสร้างวัดมเหยงคณ์
พงศาวดารเหนือได้จดไว้ว่า พระเจ้าธรรมราชา กษัตริย์องค์ที่ ๘ ของอโยธยา มีมเหสี ชื่อ พระนางกัลยาณี และพระนางเป็นผู้สร้างวัดมเหยงคณ์
พระเจ้าธรรมราชา (พ.ศ. ๑๘๔๔ - ๑๘๕๓) เป็นพระราชบุตรเขยองค์แรกของพระเจ้าสุวรรณราชา พระองค์ทรงสร้างวัดกุฏีดาว ส่วนพระนางกัลยาณี พระอัครมเหสีทรงสร้างวัดมเหยงคณ์
ถ้าเชื่อพงศาวดารเหนือ ก็แสดงว่าวัดมเหยงคณ์สร้างในสมัยอยุธยา ก่อนตั้งกรุงศรีอยุธยาอย่างน้อย ๔๐ ปี
น. ณ ปากน้ำ นักโบราณคดีได้เขียนเล่าไว้ตอนเดินทางมาสำรวจวัดเก่าแก่ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาว่า
"ได้ตรวจสอบวัดมเหยงคณ์กับวัดกุฎีดาว พบว่าโครงสร้างชั้นในพระเจดีย์ระบบการก่ออิฐแบบอิงลิชบอนด์ แสดงว่า เป็นวัดที่สร้างขึ้นพร้อมกันก่อนสมัยอยุธยา "
"ได้ตรวจสอบวัดมเหยงคณ์กับวัดกุฎีดาว พบว่าโครงสร้างชั้นในพระเจดีย์ระบบการก่ออิฐแบบอิงลิชบอนด์ แสดงว่า เป็นวัดที่สร้างขึ้นพร้อมกันก่อนสมัยอยุธยา "
ทำไมจึงชื่อว่า มเหยงคณ์
ถ้าจะดูตามแนวภาษาศาสตร์ความหมายของชื่อ มเหยงคณ์ มาจากศัพท์บาลีว่า มหิยังคณ์ แปลว่า ภูเขา หรือ เนินดิน พิจารณาภูมิประเทศของวัดมเหยงคณ์ก็เห็นว่าเข้าเค้า เพราะวัดมเหยงตณ์ โดยเฉพาะส่วนพุทธาวาสตั้งอยู่บนเนินสูง
นอกจากนั้น ชื่อ มเหยงคณ์ ยังเป็นชื่อสถานที่และพระธาตุสำคัญแห่งหนึ่งของประเทศ ศรีลังกา เรียกว่า มหิยังคณ์เจดีย์ ด้วย
ประเด็นที่สาม เจดีย์ประธานของวัดมเหยงคณ์ ก็สร้างเป็นเจดีย์ทรงระฆังมีช้างล้อมรอบองค์เจดีย์ ๘๐ เชือก เจดีย์แบบนี้น่าจะได้มาจากเจดีย์ชัยของพระเจ้าทุษฐาคามินีมหาราชในลังกาทวีป ช้างที่ล้อมรอบเจดีย์ คงเนื่องมาจากช้างฤณฑลราชพาหนะของพระเจ้าทุษฐาคามินีมหาราช ผู้ที่ชนะสงคราม และได้บำรุงศาสนาพุทธให้เจริญรุ่งเรืองในลังกา
ปัจจุบัน ในประเทศไทย มีชื่อวัด มเหยงคณ์ รวม ๔ วัด ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยาคือ ตำบลหันตรา ๑ , อำเภอนครหลวง ๑ , ที่จังหวัดสุพรรณบุรีอีก ๑ แห่ง, และจังหวัดนครศรีธรรมราชอีก ๑ ล้วนแต่เป็นวัดสำคัญทั้ง ๔ แห่ง
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
3.พระอุโบสถ
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
4.เจดีย์ช้างล้อม
วัดมเหยงคณ์ ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
--------------------------------------------------------------
ข้อมูลวัด
ตอบลบวัดมเหยงคณ์
ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา พระนครศรีอยุธยา ๑๓๐๐๐
โทร.๐๓๕ ๒๔๒๘๙๒, ๐๓๕ ๒๔๔๓๓๕
ความสำคัญ : สำนักปฏิบัติธรรม บวชเนกขัมม
สังกัดคณะสงฆ์ : มหานิกาย
เว็บไซต์ : www.mahaeyong.org
เสียงธรรมเทศนา : พระครูเกษมธรรมทัต (สุรศักดิ์ เขมรํสี) เจ้าอาวาส