วันจันทร์ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

11.07.2560 Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia. ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.

Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.


ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.

Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล 
จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/1126/cambodia/preah-vihear-province/preah-khan-kompong-svay


Preah Khan Kompong Svay (late 10th-late 12th centuries) (ព្រះខ័ននៅកំពង់ស្វាយ)

Preah Khan Kompong Svay is an enormous temple complex located about 100 kilometers due east of Angkor (about 170 kilometers by modern road). The name of the temple is a modern designation referring to the former name of the province (Kompong Svay) to distinguish it from the better-known Preah Khan temple in Angkor. Covering about twenty-five square kilometers, Preah Khan Kompong Svay is the largest Khmer-era monument ever constructed. Unfortunately, its remote location and high quality of workmanship have made it a frequent target for thieves, vandals, and even foreign museums, who systematically stripped the temple of much of its heritage as late as the 1990s and early 2000's.
The chronology of the site is not well established as only two sets of inscriptions have ever been located. The first is found in one of the four laterite towers at the northeast corner of the second enclosure. Unfortunately it is of no value to the archaeologist as it was deliberately defaced soon after it was carved. The second inscription, though incomplete, is more helpful. Located in the aptly named "inscription temple" to the south of the causeway leading to the central area of the temple, the inscription was written sometime during the reign of Suryavarman I, probably sometime after his conquest of Angkor around the year 1010. The incomplete inscription contains a long series of verses praising the Hindu god Shiva, followed by a shorter section praising the power of the Buddha, concluding with a stanza honoring Suryavarman I. Although both Hindu and Buddhist elements are commonly found in Angkorean architecture, it is unusual to find them together in the same document. Suryavarman I is known to have been a devotee of Shiva, explaining the deity's presence at the beginning of the document. However, the inclusion of the Buddha in the same document is something of a mystery. 
According to the historian Claude Jacques, the Buddha may have been included in the inscription in order to placate the local inhabitants known as the Kuoy. These people, who were Mahayana Buddhists, held a monopoly on iron production. These "masters of iron and fire", as he calls them, provided a crucial service to the Angkorean kings. Iron production was essential to the Angkorean state--it provided not just weapons of war, but also agricultural tools as well as construction elements such as metal ties that were a critical element of temple construction. 
The Kuoy practiced a type of ironmongery known as the "Catalan Method", as the process is also found throughout the ancient world. The technique involved using a charcoal furnace to attain temperatures in the range of 800-1000 degrees Celsius. Although the technique yielded only about 100 to 200 kilograms of pig iron at a time, it was sufficiently scalable that the Kuoy became a crucial client of the Angkorean state. The relationship appears to have been mutually beneficial, as the area around Preah Khan is littered with several centuries worth of debris from the smelting process. Most of the Kuoy iron was obtained from a nearby site called Phnom Dek, which even today is thought to be the richest source of iron ore in all of Cambodia.
By the time Suryavarman established the "Inscription Temple" the city of Preah Khan had already existed for several decades, or possibly much longer. The focal point of the iron production at the site was probably located around the baray (reservoir) now known as Beng Sre, located north of the temple's third enclosure. One of the oldest monuments at Preah Khan is the small sandstone shrine called Prasat Beng Sre located at the southeast corner of the reservoir. It is constructed in the Ta Keo style which flourished during the reign of King Jayavarman V. 
Substantial expansion of the site probably took place during the first half of the 12th century. The temple's so-called third enclosure, a four meter high laterite wall, dates from this period. Running 1090 meters east-west, and 650 meters north-south, the wall is comparable in scale to similar constructions at Angkor WatBeng Mealea, and Phimai (in present-day Thailand). The rectangular area framed by the walls was probably populated for the most part by residents who lived in dwellings made of perishable materials. As these were long ago reclaimed by the forest, the stonework of Preah Khan appears to rise from the middle of the jungle, when in reality it once stood at the center of a sprawling city.
The city likely reached its greatest extent during the long reign of Jayavarman VII, Angkor's most prolific builder. According to historian Helen Ibbitson Jessup, the site may have served as the de facto headquarters of Jayavaraman VII's forces from 1177-82 as he prepared to retake Angkor from Cham rule. Even if that was not the case, the massive construction program sustained by Jayavarman VII during his rule would have required sustained output of ironwork, making the Preah Khan "factories" indispensable to the kingdom's prosperity. The handprint of Jayavarman VII is most strongly felt at nearby Prasat Preah Stung, a small temple located east of Preah Khan. Its central tower is carved in the likeness of four faces gazing toward the cardinal directions, an architectural motif unique to Jayavarman VII's reign (see also Bayon temple). The innermost enclosure of Preah Khan also features decorative motifs and structural features contemporary with Jayavarman VII's rule, suggesting that he was responsible for considerable remodeling of the core areas of the temple.
The decline of Preah Khan as an urban center probably took place gradually, as the military potential of the ironworks at the site were a significant incentive to maintain the city. Evidence for continued occupation of the city into the second half of the 13th century is to be found in the design of the small reservoirs and the long stone causeway that stand to the east of the temple's innermost enclosure. The design of this area is similar to those found at Phimai and Phnom Rung (in present-day Thailand) which are believed to be 13th century additions.
The isolation of the site proved an effective deterrent against looting and theft as late as the mid-20th century. When French investigators explored the site in the 1930s they found a considerable array of statuary, some of which was carted off to to museums in Paris. The ruins of the temple, though heavily damaged by natural forces, remained cut off from organized looting until as late as the 1980s, when uniformed military personnel could be found dismantling portions of the temple to obtain prized elements such as the carved apsara figures. According to the Cambodia Daily newspaper, wholesale looting ended around the year 2000 when guards hired the Ministry of Culture began protecting the site, and local education campaigns by the government and NGOs worked with villagers to promote awareness of the temple as a protected cultural property and magnet of sustainable tourism. Despite these efforts, the temple's distance from Siem Reap and other major cities have prevented it from becoming a major tourist destination in its own right.

Central (1st) Enclosure




Drawn by Timothy M Ciccone following EFEO, Bruno Bruguier, and Juliette Lacroix.

1st and 2nd Enclosures


Drawn by Timothy M Ciccone following EFEO, Bruno Bruguier, and Juliette Lacroix.

Third Enclosure

 Drawn by Timothy M Ciccone following EFEO, Bruno Bruguier, and Juliette Lacroix.

Fourth (Outermost) Enclosure





Drawn by Timothy M Ciccone following EFEO, Bruno Bruguier, and Juliette Lacroix.

Location

The approximate location of the site is 13.407815' N, 104.748291' E (WGS 84 map datum).


01. Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


02.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


03.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


04.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


05.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


06.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


07.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


08.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


09.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


10.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


11.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


12.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


13.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


14.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


15.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


16.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


17.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


18.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


19.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


20.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


21.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


22.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


23.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


24.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


25.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


26.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


27.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


28.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


29.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


30.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


31.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


32.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


33.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


34.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


35.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


36.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


37.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


38.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


39.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


40.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


41.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


42.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


43.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


44.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


45.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


46.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


47.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


48.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


49.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


50.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


51.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


52.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


53.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


54.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


55.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


56.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


57.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


58.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


59.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


60.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


61.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


62.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


63.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


64.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


65.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


66.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


67.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


68.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


69.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


70.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


71.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


72.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


73.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


74.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


75.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


76.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


77.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


78.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


79.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


80.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


81.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


82.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


83.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


84.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


85.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


86.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


87.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


88.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


89.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


90.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


91.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


92.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


93.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


94.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


95.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


96.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


97.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


98.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


99.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


100.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


101.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


102.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


103.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


104.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


105.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


106.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


107.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


108.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


109.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


110.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


111.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


112.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


113.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


114.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


115.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


116.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


117.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


118.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


119.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


120.Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
 ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.



ปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย จังหวัดพระวิหาร ราชอาณาจักรกัมพูชา.


Preah Khan Kompong Svay, Preah Vihear Province, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล 
จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/1126/cambodia/preah-vihear-province/preah-khan-kompong-svay

---------------------------------------------------------

https://en.wikipedia.org/wiki/Preah_Khan_Kompong_Svay



Preah Khan Kompong Svay


From Wikipedia, the free encyclopedia
The archeological complex of Preah Khan (of) Kampong Svay (Khmerព្រះខ័ននៅកំពង់ស្វាយ) or Prasat Bakan(according to local pronunciation) or Bakan Svay Rolay is located 100 km east of Angkor, in Preah Vihear province, Cambodia. It stands as the largest single religious complex ever built during Angkorian Era, as its exterior enclosure is about 5 km square,[1] even if the isolated location makes it one of less visited Angkorian sites.

History[edit]

There are few historical data about Preah Khan Kompong Svay. French scholars argued it had been founded in the 11th century, probably by Suryavarman I.[2]:136[3]:95It was a royal residence during the kingdom of Suryavarman II and even Jayavarman VII lived here, before recapturing the capital city of Yasodharapura from invading Chams in 1181, and improved the complex.[1]

The rediscovery of the complex[edit]

After some French missions at the turn of the 19th century, Victor Goloubew in 1937 engaged in aerial surveys which revealed the real extension of the complex.[4]
Many famous Khmer sculptures come from here, such as the putative head of Jayavarman VII which is exposed at the National Museum of Phnom Penh. The sculptures and carvings of Preah Khan of Kompong Svay are among the peaks of Khmer art and the temples have been widely sacked in the past by official expeditions, like Louis Delaporte's one, whereas thieves have largely damaged many structures while looting sculptures and carvings from the second half of the 1990s.[5]

The site[edit]

Preah Khan Kompong Svay covers an area about 5 kilometers square, is oriented to north-east and has four concentric enclosures. It was provided with water by a large baray (2.8 km by 750 m but almost completely dried at present), which crosses the eastern side.[3]:95 On an artificial island (mebon) in the middle of the baray there is Preah Thkol (Khmerព្រះថ្កោល), a cruciform temple in sandstone with a standing central towe. In the southeastern corner stands the remains of the 15 metres high pyramid of Preah Damrei, with laterite enclosure and two stone elephants (Damrei means elephant) at its upper corners. The other two elephants are exhibited at the National Museum of Phnom Penh and Guimet Museum in Paris.[5]
Inside the exterior enclosure, in the middle of the western side of baray, there is Prasat Preah Stung (Khmerព្រះស្ទឹង), with a peculiar four-faced central tower in Bayonstyle, which is preceded by a landing-stage with nāga balaustrades. A laterite causeway leads from here to a centric enclosure, 701 m by 1097 m, surrounded by a moat and endowed with four gopuras similar to Angkor Thom. Near the eastern gopura there is a dharmasala.
The inner laterite enclosure contains the central sanctuary, that stands on a two-tier platform. The central tower collapsed because of a looting attempt in 2003.[6] It has entrances in all cardinal directions and is rounded by a windowed gallery.

World Heritage Status[edit]

This site was added to the UNESCO World Heritage Tentative List on September 1, 1992 in the Cultural category.[7]

----------------------------------------------------------------------------

จาก https://www.silpa-mag.com/club/art-and-culture/article_8530


1.(ซ้ายบน) เศียรของประติมากรรมรูปเหมือนพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ พบที่ปราสาทพระขรรค์กำปงสวาย ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์พนมเปญ (ฉากหลัง) สเปียงปราโต สะพานโบราณที่ชาวเขมรยังใช้สัญจรถึงปัจจุบัน
พระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ กษัตริย์เขมรผู้ครองราชย์ท่ามกลางความคลุมเครือของประวัติศาสตร์ในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๘ คือผู้สถาปนานครธมศูนย์กลางพุทธศาสนามหายานและสร้างศาสนสถานสำคัญมากมายรอบพระราชอาณาจักร พร้อมกับการจัดสรรเส้นทางและชุมชนอย่างเป็นระเบียบแบบแผน ในจำนวนปราสาทเหล่านั้นมีปราสาทพระขรรค์อยู่ ๒ แห่งที่เป็นศาสนสถานและชุมชนขนาดใหญ่ ซึ่งมีความสำคัญด้านศิลปกรรมและเรื่องราวของพระองค์ ปราสาทพระขรรค์เมืองนครธม เป็นศาสนสถานขนาดใหญ่ครอบคลุมพื้นที่กว่า ๕ ตารางกิโลเมตร สร้างขยายไปทางทิศเหนือนอกกำแพงเมืองนครธม ส่วนปราสาทพระขรรค์กำปงสวายอีกแห่งหนึ่งนั้น ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือนอกเมืองนครธมราว ๓๐ กิโลเมตร เป็นศาสนสถานที่มีคนรู้จักน้อยกว่ามากแต่มีความสำคัญในด้านศิลปกรรมไม่น้อยไปกว่าที่เมืองนครธมเลย
ตอนหนึ่งของจารึกปราสาทพระขรรค์เมืองนครธม ได้กล่าวถึงเส้นทางติดต่อระหว่างเมืองโบราณต่างๆ รอบอาณาจักรในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ พร้อมกับการสร้างศาสนสถานตามเส้นทาง ปัจจุบันเราได้พบสิ่งก่อสร้างที่จารึกเรียกว่า “บ้านมีไฟ” หรือที่นักวิชาการเรียกว่า “ธรรมศาลา” ตามเส้นทางรอบเมืองนครธม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาสนสถานและที่พักแรม โดยตั้งอยู่ในระยะที่ไม่ไกลจากกันมากนัก ซึ่งอาจเดินทางถึงได้ภายในเวลา ๑ วัน หรือน้อยกว่านั้น โดยเชื่อว่าเส้นทางเหล่านี้เป็นทั้งเส้นทางการค้า การเดินทัพ และเป็นเส้นทางจาริกแสวงบุญไปยังศาสนสถานสำคัญ ทั้งที่อยู่ในเขตประเทศกัมพูชาและในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
 2.หนึ่งในกลุ่มปราสาทพระขรรค์กำปงสวาย ที่ยังคงตั้งอยู่ท่ามกลางซากปรักหักพัง

“ธรรมศาลา” ส่วนหนึ่งได้พบในประเทศไทยตามที่จารึกปราสาทพระขรรค์ระบุว่า เส้นทางจากเมืองนครธมมายังเมืองพิมายในจังหวัดนครราชสีมามีอาคารเหล่านี้เรียงรายอยู่ ๑๗ หลัง อีกส่วนหนึ่งพบในแถบจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งอาจเป็นเส้นทางอีกสายหนึ่งที่ติดต่อระหว่างชุมชนโบราณที่ไม่มีใครรู้จักในปัจจุบัน
เส้นทางสำคัญอีกเส้นทางหนึ่งทางทิศตะวันออกของเมืองนครธม มีความยาวมากกว่าและเป็นเส้นทางติดต่อกับเมืองวิชัยในอาณาจักรจามปา ปัจจุบันอยู่ในเขตประเทศเวียดนาม นอกจากนี้ยังได้พบเส้นทางโบราณบางส่วนที่เชื่อมโยงเข้ากับศาสนสถานขนาดใหญ่ที่สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ หรือในสมัยก่อนหน้าซึ่งเป็นที่ตั้งของชุมชนเมืองขนาดใหญ่ เส้นทางเหล่านี้ไปถึงปราสาทบันทายฉมาร์ และปราสาทพระขรรค์ กำปงสวาย รวมถึงชุมชนเมืองพระตะบองทางตอนใต้ของเมืองนครธม
เส้นทางโบราณจากเมืองนครธมไปยังเมืองกำปงธมทางทิศตะวันออกดังกล่าว เป็นเส้นทางที่ผู้เขียนใช้เดินทางจากเมืองนครธมไปยังปราสาทพระขรรค์กำปงสวาย ซึ่งได้พบร่องรอยถนนโบราณขนานไปกับทางหลวงสายปัจจุบัน ผ่านสะพานสเปียงปราโต สะพานสร้างจากศิลาแลงและหินทรายข้ามแม่น้ำจิเกรงซึ่งสร้างในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ และยังคงใช้งานอยู่ในปัจจุบัน
ระหว่างเส้นทางจะพบชุมชนทางแยกไม่ไกลจากบริเวณสะพาน ซึ่งปัจจุบันเป็นหมู่บ้านกำปงกเดย และมีถนนไปยังปราสาทสำคัญ ๒ แห่ง ทางตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งได้แก่ปราสาทบึงมาเลีย ปราสาทขนาดใหญ่ซึ่งสร้างขึ้นในศิลปะสมัยนครวัดในช่วงก่อนหน้าการสร้างปราสาทนครวัด และไปสิ้นสุดยังปราสาทพระขรรค์กำปงสวาย

3.ร่องรอยการตัดทำลายรูปนางอัปสร
ที่ปราสาทพระขรรค์กำปงสวาย หรือที่นักวิชาการส่วนหนึ่งเรียกว่าพระขรรค์กำปงธมแห่งนี้ได้พบศิลปกรรมสำคัญจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเศียรของประติมากรรมรูปเหมือนพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ นอกจากนี้ยังเป็นศาสนสถานในคติพุทธมหายานที่พบว่าไม่มีร่องรอยการดัดแปลงรูปเคารพ ภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงอำนาจการเมืองและศาสนาเช่นที่พบในศาสนสถานเมืองนครธม จึงเป็นหลักฐานสำคัญในการศึกษารูปแบบศิลปกรรมได้เป็นอย่างดี
แต่น่าเสียดายปัจจุบันปราสาทได้ถูกทำลายลงอย่างรุนแรงจากการลักลอบโจรกรรมและขนย้ายศิลปกรรมโดยกลุ่มบุคคลมืออาชีพ เป็นผลให้งานศิลปกรรมเช่นรูปนางอัปสรที่สลักอยู่ตามผนังปราสาทเกือบทั้งหมด ถูกเลื่อยไฟฟ้าตัดออกไปจากตัวปราสาท จนดูเหมือนว่าปราสาทอาจตั้งอยู่ได้ไม่นานและจะพังทลายลงในที่สุด และพบว่ามีความพยายามตัดทับหลังจำนวนมากออกไปด้วย รวมถึงการสกัดรูปพระพุทธรูปบางส่วนออกไปอย่างหยาบๆ โดยกลุ่มโจรมือสมัครเล่น
ความห่างไกลและยากที่จะเดินทางเข้าถึงในปัจจุบันทำให้ปราสาทแห่งนี้ขาดการดูแล ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการฝังกับระเบิดในบริเวณดังกล่าวช่วงที่ประเทศยังมีสงครามและความวุ่นวายเมื่อไม่กี่สิบปีที่ผ่านมา และยังดำเนินการกู้ไม่เสร็จสิ้นในปัจจุบัน การเดินทางโดยรถยนต์ตามเส้นทางโบราณของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ซึ่งไม่ไกลจากปราสาทบึงมาเลีย กลับไม่สามารถเข้าถึงได้ในปัจจุบันเนื่องจากเป็นเส้นทางที่ไม่ปลอดภัย การเดินทางสู่ตัวปราสาทจึงต้องใช้เส้นทางขนาดเล็กซึ่งมีสภาพไม่ต่างจากทางเกวียนอ้อมเข้าสู่ตัวปราสาทจากอีกทางด้านทิศเหนือ ซึ่งมีระยะทางไกลกว่าเส้นทางที่ปรากฏในแผนที่และเดินทางได้เฉพาะในหน้าแล้งเท่านั้น


 04.ทับหลังแถวพระพุทธรูปประทับนั่งสมาธิในซุ้ม ที่ปราสาทพระขรรค์กำปงสวาย

เมื่อพิจารณาจากขนาดและแผนผัง พบว่าปราสาทพระขรรค์กำปงสวายแห่งนี้ได้สร้างขึ้นในระเบียบเดียวกับปราสาทพระขรรค์ที่เมืองนครธมอย่างแท้จริง อันประกอบด้วยคูน้ำและกำแพงล้อมรอบปราสาท เมื่อผ่านเข้าสู่ภายในจะพบ “ธรรมศาลา” ทางทิศตะวันออก ในตำแหน่งเดียวกับที่ปราสาทพระขรรค์และปราสาทตาพรหมเมืองนครธม
กลุ่มปราสาทตั้งหันไปทางทิศตะวันออก มีสะพานทอดเป็นทางเดินยาวมีเสาหินรองรับคล้ายกับที่ปราสาทบาปวนเมืองพระนคร ก่อนผ่านเข้าสู่โคปุระและกำแพงแก้วไปยังปราสาทด้านใน ภายในมีลานยกพื้นและมีสระน้ำขอบหินทรายขนาดเล็ก ๔ สระ บนลานมีปราสาทในผังรูปกากบาท และปราสาทขนาดเล็กอีก ๔ หลัง ก่อนเดินเข้าสู่โคปุระและกำแพงแก้วชั้นในสุด อันเป็นที่ตั้งของปราสาทประธานซึ่งปัจจุบันพังทลายลงเกือบหมดแล้ว
5.รูปนางอัปสรก่อนที่จะถูกทำลาย ยังคงหาดูได้จากภาพถ่ายเก่าของ ฟิลลิป สแตร์น

จากหลักฐานที่ยังคงหลงเหลืออยู่ในปัจจุบัน พบภาพสลักหน้าบันและทับหลังในพุทธศาสนามหายานซึ่งมีลักษณะที่น่าสนใจ โดยเฉพาะกลุ่มทับหลังรูปพระพุทธรูปประทับนั่งสมาธิในซุ้มเรือนแก้ว ซึ่งต่างไปจากทับหลังแบบบายนที่พบในศาสนสถานในเมืองนครธม โดยลายกรอบซุ้มแสดงรูปหงส์คู่ที่ปลายกรอบ คั่นด้วยลายพวงอุบะมีรูปบุคคลสวมศิราภรณ์ขนาดเล็กๆ แทรกอยู่ ซึ่งอาจเป็นรูปแบบที่นิยมต่อเนื่องมาตั้งแต่สมัยนครวัดและบายน ทั้งนี้องค์พระพุทธรูปกลับมีความต่างในฝีมือช่าง และบางองค์ดูเหมือนจะมีความประณีตน้อยกว่ามาก
ฟิลลิป สแตร์น นักวิชาการชาวฝรั่งเศส สันนิษฐานว่าปราสาทประธานของปราสาทพระขรรค์กำปงสวายเป็นงานในศิลปะสมัยนครวัด ในขณะที่กลุ่มโคปุระเป็นศิลปะแบบบายน และเมื่อเปรียบเทียบเพิ่มเติมแล้วพบว่ามีการผสมผสานรูปแบบนครวัดและบายนเข้าด้วยกันอย่างน่าสนใจ โดยเฉพาะประติมากรรมรูปนางอัปสรที่ไม่มีให้เห็นแล้วในปัจจุบันแต่ยังคงหาดูได้จากภาพถ่ายเก่าของสแตร์น ที่บันทึกไว้เมื่อ ๔๐ ปีก่อน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงวิวัฒนาการทางรูปแบบจากศิลปะสมัยนครวัดไปสู่บายนอีกด้วย
ทั้งนี้การวางผังรวมของปราสาทพระขรรค์กำปงสวาย ยังอาจเปรียบเทียบได้กับปราสาทพระขรรค์เมืองนครธม อันประกอบไปด้วยปราสาทประธาน บาราย และปราสาทเล็กๆ โดยรอบตามแนวแกนตะวันออกและบริเวณกึ่งกลางบาราย ซึ่งได้แก่ปราสาทพระสตึง ปราสาทพระถกล และปราสาทพระดำไรย ในลักษณะเดียวกับกลุ่มปราสาทพระขรรค์เมืองนครธมซึ่งประกอบด้วยปราสาทนาคพัน ปราสาทตาสม ปราสาทไพร ปราสาทบันทายไพร และปราสาทโกรลโกะ ซึ่งล้วนสร้างขึ้นในสมัยบายนทั้งสิ้น ความคล้ายคลึงดังกล่าวชวนให้คิดว่าปราสาทหลังใดสร้างขึ้นก่อนและเป็นต้นแบบให้กับปราสาทอีกหลังหนึ่งหรือไม่
อย่างไรก็ตามเราได้ทราบว่าปราสาทพระขรรค์เมืองนครธมมีจารึกระบุการสถาปนาขึ้นในปี พ.ศ. ๑๗๓๔ อุทิศถวายแด่พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ ๒ พระราชบิดา แต่ที่ปราสาทพระขรรค์กำปงสวาย ไม่ได้พบจารึกระบุไว้และไม่อาจทราบได้ว่าชุมชนนี้มีชื่อเดิมว่าอย่างไร นักวิชาการจึงสันนิษฐานเพียงว่าบริเวณชุมชนแห่งนี้มีความสำคัญ โดยอาจเป็นภูมิลำเนาเดิมของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ก่อนการเสด็จขึ้นครองราชย์ที่เมืองนครธม และอาจเกี่ยวข้องกับพระราชบิดาและความไม่ชัดเจนของพระราชประวัติของพระองค์ช่วงก่อนการครองราชย์ ซึ่งเต็มไปด้วยกลุ่มชุมชนและพรรคที่หลากหลาย ทั้งนี้การพบเศียรของประติมากรรมรูปเหมือนของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ที่ปราสาทแห่งนี้ อาจเป็นข้อสังเกตหนึ่งถึงความสำคัญของชุมชนและศาสนสถาน เช่นเดียวกับที่พบในปราสาทหินพิมายในประเทศไทย
สำหรับปราสาทขนาดเล็กรอบปราสาทพระขรรค์กำปงสวาย เช่นปราสาทพระสตึงทางทิศตะวันออก มีการสลักยอดปราสาทหลังกลางเป็นพระพักตร์เทวบุคคลทั้ง ๔ ทิศ ซึ่งเป็นรูปแบบสำคัญที่อาจสร้างขึ้นในระยะแรกๆ ของศิลปะบายน และน่าจะเป็นศาสนสถานที่มีความสำคัญเช่นเดียวกับปราสาทตาสมเมืองนครธมและปราสาทบันทายฉมาร์ ซึ่งพบการสลักพระพักตร์รูปเทวบุคคลในลักษณะเดียวกับศูนย์กลางอาณาจักรที่ปราสาทบายนและซุ้มประตูเมืองนครธมทั้ง ๔ ทิศ สำหรับปราสาทหลังอื่นๆ ซึ่งไม่สามารถเข้าถึงได้ในปัจจุบัน ได้แก่ ปราสาทพระถกล ปราสาทขนาดเล็กกลางบารายปราสาทพระขรรค์กำปงสวาย ยังได้พบประติมากรรมสำคัญคือพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรเปล่งรัศมี ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑ์กีเมต์ ประเทศฝรั่งเศส อีกด้วย
ความคล้ายคลึงกันและการผสมผสานกันด้านรูปแบบศิลปกรรมทำให้สันนิษฐานได้ว่าปราสาทพระขรรค์ทั้ง ๒ แห่งอาจสร้างขึ้นในระยะเวลาไล่เลี่ยกัน โดยปราสาทพระขรรค์กำปงสวายอาจสร้างขึ้นในชุมชนเดิมและมีการขยายขอบเขตออกไปในระเบียบแผนผังที่เหมือนกันนั่นเอง ทั้งนี้การศึกษาด้านศิลปกรรมที่พบในบริเวณดังกล่าวอย่างละเอียดจะทำให้การลำดับวิวัฒนาการของศิลปะบายนมีความชัดเจนยิ่งขึ้นโดยเฉพาะรูปแบบระยะแรก และอาจสอดคล้องกับช่วงเวลาที่ไม่ชัดเจนของหลักฐานทางประวัติศาสตร์และการรวมกันของอาณาจักรอย่างเป็นปึกแผ่นอีกครั้ง พร้อมกับการสร้างเครือข่ายทางวัฒนธรรมและการเมืองอย่างสมบูรณ์ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗
อย่างไรก็ตามความลำบากในการเข้าถึงปราสาทพระขรรค์กำปงสวายในปัจจุบัน ทำให้ยากที่จะดูแลรักษาให้ปลอดภัยทั้งจากการโจรกรรมหรือแม้กระทั่งการเผาป่า ซึ่งล่าสุดมีรายงานจากสำนักข่าวท้องถิ่นในประเทศกัมพูชาว่าการเผาป่าของชาวบ้านโดยรอบในหน้าแล้งเป็นผลให้เกิดไฟลามเข้าไปยังตัวปราสาท สร้างความเสียหายอย่างหนักจนถึงกับพังทลายลงมา เป็นการซ้ำเติมปราสาทพระขรรค์แห่งนี้ให้มีสภาพที่ย่ำแย่ไปกว่าที่เห็นในภาพซึ่งบันทึกไว้ก่อนหน้าไม่นานนัก อนาคตปราสาทพระขรรค์กำปงสวายและปราสาทโดยรอบคงต้องได้แต่รอการอนุรักษ์และพัฒนาซึ่งได้แต่หวังว่าคงจะมีขึ้นในไม่ช้านี้ 

ขอขอบคุณข้อมูลการเดินทางครั้งนี้จากคุณสรศักดิ์ จันทร์วัฒนกุล และคุณโสวัต มัคคุเทศก์ท้องถิ่นชาวกัมพูชา
-------------------------------------------------------------------------------------

1 ความคิดเห็น: