วันอาทิตย์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

23.07.2560 Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand. วัดเชียงมั่น หรือ สังฆาราม ถนน.ราชภาคิไนย ตำบล.ศรีภูมิ อำเภอ.เมือง จังหวัด.เชียงใหม่.

Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand.
วัดเชียงมั่น ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.

Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ  ข้อมูลและภาพ จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/617/thailand/chiang-mai/wat-chiang-man



Wat Chiang Man (วัดเชียงมั่น) (built 1306 onward) 

Chiang Man is the oldest temple in Chiang Mai, older even than the city. It was constructed during the reign of King Mengrai, who lived in the temple while overseeing the construction of Chiang Mai, the capital of the Lanna kingdom.
The temple possesses one of the most treasured artifacts in Thailand—a Buddha image called the Phra Sae Tang Kamani (Crystal Buddha). When this image is carved is not known but it was mentioned first mentioned in 1296, when King Mengrai arranged for it to be brought to Chiang Mai. A war was fought over possession of this image. After it was returned, a ceremony has been performed every year since 1380 on April 1st to mark the occasion.
Another famous Buddha held by the temple is called the Phra Sila (stone Buddha) which is thought to have been carved around 900 AD in India. Legend says that whichever city possesses both Buddhas will thrive. However, the blessing only works if the city also posses the Phra Singh image, but it is not known if the Buddha kept in Phra Singh is authentic. The Buddhas are also thought to have the power to produce rain.
One interesting aspect of the temple is its chedi (pagoda) which has 15 life-size elephant carvings incorporated into its base. The Standing Buddha statue at the temple is the oldest Lanna kingdom statue known. An inscription dates it to 1465.
A stone inscription near the door of the ubosot (ordination hall) is dated 1581. It includes a history of the town and monastery, as well as a list of donors to the temple. It confirms that the temple was founded by King Mengrai and that it was restored in 1471, 1558, 1571, and 1581.
Text by Robert D. Fiala.

Location

The approximate location of the site is 18.793793' N, 98.989304' E (WGS 84 map datum).


 01.Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเชียงมั่น ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.


 02.Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเชียงมั่น ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.


 03.Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเชียงมั่น ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.


 04.Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเชียงมั่น ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.


 05.Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเชียงมั่น ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.


 06.Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเชียงมั่น ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.


 07.Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเชียงมั่น ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.


 08.Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเชียงมั่น ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.


 09.Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเชียงมั่น ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.


 10.Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเชียงมั่น ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.


 11.Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเชียงมั่น ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.


 12.Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเชียงมั่น ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.


 13.Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเชียงมั่น ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.


 14.Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเชียงมั่น ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.


 15.Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเชียงมั่น ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.


 16.Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเชียงมั่น ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.


 17.Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเชียงมั่น ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.


 18.Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเชียงมั่น ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.


19.Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
วัดเชียงมั่น ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.


Wat Chiang Man, Chiang Mai, Thailand.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ขอบคุณ  ข้อมูลและภาพ จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/617/thailand/chiang-mai/wat-chiang-man


------------------------------------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ข้อมูลและภาพ จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Wat_Chiang_Man

Wat Chiang Man

From Wikipedia, the free encyclopedia

Wat Chiang Man (1986), from left to right: Ubosot, Ho Trai and Chedi
Wat Chiang Man (Thaiวัดเชียงมั่น − sometimes also written as Wat Chiang Mun) is a Buddhist temple (Thai language: Wat) inside the old city (which is contained within the city walls and moat) of Chiang Mai, in northern Thailand.

History[edit]

Wat Chiang Man was built by Mangrai[1]:209 in 1297 CE as the first temple of Chiang Mai on the location of Wiang Nopburi, a fortified town of the Lawa people which had been used by King Mangrai as a camp during the construction of his new capital city Chiang Mai.[2]

Sights[edit]


Plan of Wat Chiang Man
  • Chedi Chang Lom - the 'Elephant Chedi' is the oldest construction within the temple complex. The square base supports a second level which has the front half of 15 life-sized brick-and-stucco elephants emerging from it. The elephants seem to carry the upper levels of the building on their backs. The gilded upper part of the chedi contains a bell shaped relic chamber directly underneath the pinnacle.
  • Main Wihan - the larger of the two wihans was renovated in the 1920s by the famous monk Khru Ba Srivichai. The building houses a large mondop structure for an altar surrounded by Buddha statues. One of the standing Buddha's has the year 1465 CE engraved on its base, which would make it the oldest statue of the Lanna Kingdom. It is also the oldest statue of Thailand which shows the Buddha with an alms bowl. The façade of the wihan features gilded carvings of Kirtimukha in between flower and plant motives.
  • New Wihan - the smaller of the two wihans houses two important statues of the Buddha which, due to their protective powers, are regarded as the Palladium statues of Chiang Mai:
    • The Phra Sae Tang Khamani is also known as the 'Phra Kaew Khao' or 'Crystal Buddha'. This 10 cm tall statue is carved out of a clear quartz crystal. According to Oliver Hargreave,[3] the statue was crafted around 200 CE for King Ramraj of Lopburi and brought to the Hariphunchai Kingdom (present day Lamphun) by Queen Jamadevi in 662 CE. It was only transferred to Chiang Mai by King Mangrai in 1296 after he had conquered Lamphun. As it survived the pillaging of that city, the statue is thought to protect against disasters. However, Carol Stratton[4] dates the statue as having been created in the 15th century based on its style characteristics. The gold covered wooden base and golden canopy are later additions donated by King Inthawichayanon of Chiang Mai in 1874. Together they contain more than 6 kg of gold.
    • The Phra Sila statue is a stone stele depicting a standing Buddha whilst taming the elephant 'Nalagiri' in bas-relief. The temple states that the statue originated from India before being transferred to its present location. However, others believe the statue originated from Ceylon (present day Sri Lanka) and might date from either the 8th or 10th century CE depending on the source[citation needed]. Due the religious belief that the statue has rain-giving powers, this statue features prominently during the Songkran festival at the end of the dry season.
  • Ubosot - in front of the ubosot one can find a stone stele from the year 1581 CE. This stele contains the oldest mentioning of the founding date of Chiang Mai: the 12th of April, 1296 CE at 4 am. It also mentions that the ubosot was commissioned by King Mangrai and that Phya Saen Luang had it restored in 1571. The present building was built in the 19th century.
  • Ho Trai - the Temple Library (scripture depository) of Wat Chiang Man is of a fairly plain design when compared to the Ho Trai belonging to Wat Phra Singh. It is a wooden building set on top of a high plastered brick base. Most temples in Chiang Mai do not feature a Ho Trai.
  • Lotus Pond - as with Ho Trai, temple ponds do not feature at most Chiang Mai temples. Both Wat Phra Singh and Wat Chiang Man have one.

See also[edit]

Gallery[edit]

References[edit]

  1. Jump up^ Coedès, George (1968). Walter F. Vella, ed. The Indianized States of Southeast Asia. trans.Susan Brown Cowing. University of Hawaii Press. ISBN 978-0-8248-0368-1.
  2. Jump up^ http://www.chiangmainews.com/indepth/details.php?id=373
  3. Jump up^ Oliver Hargreave: Exploring Chiang Mai, City, Valley & Mountains
  4. Jump up^ Carol Stratton: Buddhist Sculpture of Northern Thailand
  • Carol Stratton: Buddhist Sculpture of Northern Thailand. Silkworm Books, Chiang Mai 2004, ISBN 974-7551-63-2
  • Oliver Hargreave: Exploring Chiang Mai, City, Valley & Mountains. Within Books, 3rd print, 2002. ISBN 974-86437-7-8

External links[edit]



----------------------------------------------------------------------------------------

ขอบคุณ ข้อมูลและภาพ จาก https://th.wikipedia.org/wiki/วัดเชียงมั่น

วัดเชียงมั่น


จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

วัดเชียงมั่น
วัดเชียงมั่น (คำเมืองLN-Wat Chiang Man Sankharam.png) เป็นวัดที่ตั้งอยู่ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่[1] มีพระเสตังคมณี(พระแก้วขาว)และพระศิลาซึ่งเป็นพระพุทธรูปปางปราบช้างนาฬาคีรี ประดิษฐานอยู่ในพระวิหาร
มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ปรากฏในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่และพงศาวดารโยนก หลังจากที่พญางำเมือง พญาร่วง และพญามังรายทรงสร้างเมืองเชียงใหม่ในปี พ.ศ. 1839 ทั้ง 3 พระองค์โปรดให้สร้างเจดีย์ และพญามังรายทรงประทับชั่วคราวในระหว่างควบคุมการสร้างเมือง ตรงหอนอนบ้านเชียงมั่น เรียกว่า "เวียงแก้ว" ทรงอุทิศตำหนักคุ้มหลวงเวียงเหล็ก ตั้งเป็นพระอารามหลวงแห่งแรกและพระราชทานนามว่า "วัดเชียงมั่น" จากนั้นคาดว่าเจดีย์พังลงมาในสมัยพระเจ้าติโลกราช (ครองราชย์ พ.ศ. 1985 - 2031) พระองค์จึงโปรดให้สร้างเจดีย์ใหม่ ทำด้วยศิลาแลง เมื่อปี พ.ศ. 2014
เมื่อเชียงใหม่ตกเป็นเมืองขึ้นของพม่า ในปี พ.ศ. 2094 วัดเชียงมั่นจึงถูกปล่อยร้าง จนปี พ.ศ. 2101 เจ้าฟ้ามังทรา (สมเด็จพระมหาธัมมิกะราชาธิราช) แห่งพม่า บูรณปฏิสังขรณ์วัดเชียงมั่นขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง โดยโปรดให้สร้างเจดีย์ วิหาร อุโบสถ หอไตร ธัมมเสนาสนะกำแพง และประตูโขง มีพระมหาหินทาทิจจวังสะเป็นเจ้าอาวาสเมื่อถึงสมัยพระยากาวิละครองเมือง เชียงใหม่ (พ.ศ. 2324 - 2358)
ต่อมาพระพุทธศาสนาแบบธรรมยุกนิกายเผยแผ่เข้ามาในอาณาจักรล้านนา เจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์จึงนิมนต์พระธรรมยุตมาจำพรรษาอยู่ แต่ได้ย้ายไปอยู่วัดหอธรรมและวัดเจดีย์หลวงตามลำดับ ในภายหลัง

การประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถาน[แก้]

ได้รับการประกาศเป็นโบราณสถานสำหรับชาติ ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 52 ตอนที่ 0ง วันที่ 8 มีนาคม 2478 พร้อมกับวัดอีกหลายแห่งในจังหวัดเชียงใหม่ [2]

อ้างอิง[แก้]


-----------------------------------------------------------------------------------------

Monnfleet ได้มาเยือนและบันทึกภาพ วัดเชียงมั่น ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่.
วันอาทิตย์ ที่ 26 กรกฏาคม พ.ศ.2552


 01.วัดเชียงมั่น : 171 ถนน ราชภาคินัย ตำบล ศรีภูมิ อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่.
WAT CHIANG MAN : 171 Ratchaphakhinai Road, T. SRIPOOM, A. MUANG, Chiangmai. 

ขอบคุณข้อมูลจาก http://www.dannipparn.com/forum-viewthread-action-printable-tid-239.html
โดย: pimnuttapa 

วัดเชียงมั่น ตั้งอยู่ที่ ๑๗๑ ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 

ประวัติวัดเชียงมั่น มีหลักฐานการสร้างตามที่ปรากฏในศิลาจารึกที่ ๗๖ ในระหว่าง ๑๘๓๕ - ๑๘๓๙ เป็นสถานที่ตั้งของเวียงเหล็ก หรือพระราชมณเฑียรที่พญามังรายโปรดให้สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นที่ประทับชั่วคราว เพื่อควบคุมการสร้างเมืองเชียงใหม่ เมื่อคราวพญามังรายทรงอพยพจากเวียงกุมกามขึ้นมา ภายหลังที่สร้างนครเชียงใหม่และปราสาทราชฐานภายในเมืองเสร็จแล้ว ก็เสด็จเถลิงพระราชมณเฑียรใหม่ ได้มีการสมโภชเมืองอย่างมโหฬาร พร้อมทั้งสถาปนานพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ เป็นราชธานีของอาณาจักรล้านนา นอกจากจะมีความสำคัญเป็นวัดแรกที่สถาปนาขึ้นในนครเชียงใหม่แล้ว ยังเป็นวัดที่สถาปนาขึ้นแทนที่พระราชฐานของพญามังราย และเป็นสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของกษัตริย์สามพระองค์แห่งเมืองเชียงใหม่ เมืองสุโขทัย และเมืองพะเยาค่ะ



 02.วัดเชียงมั่น : 171 ถนน ราชภาคินัย ตำบล ศรีภูมิ อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่.
WAT CHIANG MAN : 171 Ratchaphakhinai Road, T. SRIPOOM, A. MUANG, Chiangmai. 

วัดเชียงมั่น
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

วัดเชียงมั่น (คำเมืองLN-Wat Chiang Man Sankharam.png) เป็นวัดที่ตั้งอยู่ถนนราชภาคิไนย ตำบลศรีภูมิ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่[1] มีพระเสตังคมณี(พระแก้วขาว)และพระศิลาซึ่งเป็นพระพุทธรูปปางปราบช้างนาฬาคีรี ประดิษฐานอยู่ในพระวิหาร
มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน ปรากฏในตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่และพงศาวดารโยนก หลังจากที่พญางำเมือง พญาร่วง และพญามังรายทรงสร้างเมืองเชียงใหม่ในปี พ.ศ. 1839 ทั้ง 3 พระองค์โปรดให้สร้างเจดีย์ และพญามังรายทรงประทับชั่วคราวในระหว่างควบคุมการสร้างเมือง ตรงหอนอนบ้านเชียงมั่น เรียกว่า "เวียงแก้ว" ทรงอุทิศตำหนักคุ้มหลวงเวียงเหล็ก ตั้งเป็นพระอารามหลวงแห่งแรกและพระราชทานนามว่า "วัดเชียงมั่น" จากนั้นคาดว่าเจดีย์พังลงมาในสมัยพระเจ้าติโลกราช (ครองราชย์ พ.ศ. 1985 - 2031) พระองค์จึงโปรดให้สร้างเจดีย์ใหม่ ทำด้วยศิลาแลง เมื่อปี พ.ศ. 2014
เมื่อเชียงใหม่ตกเป็นเมืองขึ้นของพม่า ในปี พ.ศ. 2094 วัดเชียงมั่นจึงถูกปล่อยร้าง จนปี พ.ศ. 2101 เจ้าฟ้ามังทรา (สมเด็จพระมหาธัมมิกะราชาธิราช) แห่งพม่า บูรณปฏิสังขรณ์วัดเชียงมั่นขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง โดยโปรดให้สร้างเจดีย์ วิหาร อุโบสถ หอไตร ธัมมเสนาสนะกำแพง และประตูโขง มีพระมหาหินทาทิจจวังสะเป็นเจ้าอาวาสเมื่อถึงสมัยพระยากาวิละครองเมือง เชียงใหม่ (พ.ศ. 2324 - 2358)
ต่อมาพระพุทธศาสนาแบบธรรมยุกนิกายเผยแผ่เข้ามาในอาณาจักรล้านนา เจ้าอินทวโรรสสุริยวงศ์จึงนิมนต์พระธรรมยุตมาจำพรรษาอยู่ แต่ได้ย้ายไปอยู่วัดหอธรรมและวัดเจดีย์หลวงตามลำดับ ในภายหลัง

การประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถาน[แก้]

ได้รับการประกาศเป็นโบราณสถานสำหรับชาติ ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 52 ตอนที่ 0ง วันที่ 8 มีนาคม 2478


     03.วัดเชียงมั่น : 171 ถนน ราชภาคินัย ตำบล ศรีภูมิ อำเภอ เมือง จังหวัด เชียงใหม่.
    WAT CHIANG MAN : 171 Ratchaphakhinai Road, T. SRIPOOM, A. MUANG, Chiangmai. 

    ประวัตโดย สังเขป ของ วัดเชียงมั่น

    วัดเชียงมั่น

    เป็นพระอารามแห่งแรกที่พญามังรายทรงสร้างขึ้นภายในกำแพงเมืองเชียงใหม่ ประมาณ พ.ศ.1839 - 1840 โดยพระราชทานที่ดินบริเวณพระตำหนักเวียงเชียงมั่นเป็นที่สร้าง ภายในวัดเก็บรักษาโบราณวัตถุที่สำคัญ คือ "พระเสตังคมณี หรือ พระแก้วขาว" สลักจากหินควอตซ์สีขาวขุ่น (หินเขี้ยวหนุมาน) ศิลปล้านนา พญามังรายทรงอัญเชิญมาจากเมืองหริภุญไชย

    พระพุทธรูปศิลาปางทรมานช้างนาฬาคีรี ฝีมือสกุลช่างปาละ (พุทธศตวรรษที่ 13-14) และ ศิลาจารึกกล่าวถึงประวัติของวัดและเมืองเชียงใหม่จารึกเมื่อ พ.ศ. 2124 โบราณสถานที่สำคัญคือ พระเจดีย์ช้างล้อม อายุเกือบ 700 ปี

    ที่มาของข้อมูล : ป้ายตามรูป

     04. พระวิหาร วัดเชียงมั่น

    โดย: pimnuttapa
    วิหารใหญ่ วัดเชียงมั่น ค่ะ

    ประวัติวิหารใหญ่ วัดเชียงมั่น ตามประวัติกล่าวว่า เจ้าราชวงศ์ได้รื้อเอาหอของพระยาธรรมลังกามาสร้าง แต่วิหารหลังเดิมได้มีการรื้อถอนไปแล้ว แต่ภายในยังมีโขงปราสาท (มณฑป) ซึ่งเป็นรุ่นเดียวกับการสร้างวิหารใหญ่อยู่ค่ะ

     05. พระเจดีย์ช้างล้อม อายุ 700 ปี

     06. พระเจดีย์ช้างล้อม อายุ 700 ปี อยู่ทางทิศตะวันตกของ วิหารวัดเชียงมั่น และ ทางทิศใต้ของพระเจดีย์ช้างล้อม คือ หอไตร

     07. หอไตร.

     08.พระเจดีย์ช้างล้อม อายุ 700 ปี อยู่ทางทิศตะวันตกของ วิหารวัดเชียงมั่น และ ทางทิศใต้ของพระเจดีย์ช้างล้อม คือ หอไตร

     09.

     10.

     11.

     12. พระวิหาร  วัดเชียงมั่น อ.เมือง จ.เชียงใหม่.

     13. พระประธาน ประดิษฐาน ณ.พระวิหาร วัดเชียงมั่น ถ.ราชภาคิไนย อ.เมือง จ.เชียงใหม่

    *** ไม่ทราบนามของพระประธาน ครับ.

     14.พระประธาน ประดิษฐาน ณ.พระวิหาร วัดเชียงมั่น ถ.ราชภาคิไนย อ.เมือง จ.เชียงใหม่

    15. ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ณ.พระวิหาร วัดเชียงมั่น ถ.ราชภาคิไนย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
    *** เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ พญามังราย ผู้สร้างเมืองนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่.

    16.ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ณ.พระวิหาร วัดเชียงมั่น ถ.ราชภาคิไนย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
    *** เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ พญามังราย ผู้สร้างเมืองนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่.

    17.ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ณ.พระวิหาร วัดเชียงมั่น ถ.ราชภาคิไนย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
    *** เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ พญามังราย ผู้สร้างเมืองนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่.

    18.ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ณ.พระวิหาร วัดเชียงมั่น ถ.ราชภาคิไนย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
    *** เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ พญามังราย ผู้สร้างเมืองนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่.
    19.ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ณ.พระวิหาร วัดเชียงมั่น ถ.ราชภาคิไนย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
    *** เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ พญามังราย ผู้สร้างเมืองนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่.

    20.ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ณ.พระวิหาร วัดเชียงมั่น ถ.ราชภาคิไนย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
    *** เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ พญามังราย ผู้สร้างเมืองนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่.

    21.ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ณ.พระวิหาร วัดเชียงมั่น ถ.ราชภาคิไนย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
    *** เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ พญามังราย ผู้สร้างเมืองนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่.

    22.ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ณ.พระวิหาร วัดเชียงมั่น ถ.ราชภาคิไนย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
    *** เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ พญามังราย ผู้สร้างเมืองนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่.

    23.ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ณ.พระวิหาร วัดเชียงมั่น ถ.ราชภาคิไนย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
    *** เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ พญามังราย ผู้สร้างเมืองนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่.

    24.ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ณ.พระวิหาร วัดเชียงมั่น ถ.ราชภาคิไนย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
    *** เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ พญามังราย ผู้สร้างเมืองนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่.

    25.ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ณ.พระวิหาร วัดเชียงมั่น ถ.ราชภาคิไนย อ.เมือง จ.เชียงใหม่
    *** เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ พญามังราย ผู้สร้างเมืองนพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่.

    26.

    27. บันไดทางขึ้น-ลง วิหารจัตุรมุข วัดเชียงมั่น
    ***วิหารที่เก็บรักษาโบราณวัตถุที่สำคัญ คือ "พระเสตังคมณี หรือ พระแก้วขาว" ที่สลักจากหินควอตซ์สีขาวขุ่น (หินเขี้ยวหนุมาน) 


    28.บันไดทางขึ้น-ลง วิหารจัตุรมุข วัดเชียงมั่น

    29.วิหารจัตุรมุข วัดเชียงมั่น

    30.วิหารจัตุรมุข วัดเชียงมั่น

    31.



    32. ประวัติพระเสตังคมณี หรือ พระแก้วขาว.


    33. ภาพจิตกรรม "พระพุทธประวัติ" ใน วิหารจัตุรมุข วัดเชียงมั่น

    34. ภาพจิตกรรม "พระพุทธประวัติ" ใน วิหารจัตุรมุข วัดเชียงมั่น

    35.ภาพจิตกรรม "พระพุทธประวัติ" ใน วิหารจัตุรมุข วัดเชียงมั่น

    36.ภาพจิตกรรม "พระพุทธประวัติ" ใน วิหารจัตุรมุข วัดเชียงมั่น

    37.ภาพจิตกรรม "พระพุทธประวัติ" ใน วิหารจัตุรมุข วัดเชียงมั่น

    38.ภาพจิตกรรม "พระพุทธประวัติ" ใน วิหารจัตุรมุข วัดเชียงมั่น

    39.

    40.

    41.

    42.


    43.

    -------------------------------------------------------------------

    ขอบคุณ ภาพของวัดเชียงมั่น จาก fb: ผู้มีบุญ ที่ได้มาวัดเชียงมั่น ครับ.





    00.วัดเชียงมั่น หรือ สังฆาราม ถนน.ราชภาคิไนย ตำบล.ศรีภูมิ อำเภอ.เมือง จังหวัด.เชียงใหม่.


     01.

     02.

     03.

     04.

     05.

     06.

     07.

     08.

     09.

     10.

     11.

     12.

     13.

     14.

     15.

     16.

     17.

     18.

     19.

     20.

     21.
     22.

     23.

     24.

     25.

     26.

     27.

     28.

     29.

     30.

     31.

     32.

     33.

     34.

     35.

     36.

     37.

     38.

     39.

     40.

     41.

     42.

     43.

     44.

     45.

     46.

     47.

     48.

     49.

     50.

     51.

     52.

     53.

     54.

     55.

     56.

     57.

     58.

     59.

     60.

     61.

     62.

     63.

     64.

     62.

     63.

     64.

     65.

     66.

     67.

     68.

     69.

     70.

     71.

     72.

     73.

     74.

     75.

     76.


     77.

     78.

     79.

     80.

     81.

     82.

     83.

     84.

     85.


    86.

    ขอบคุณ "เจ้าของ" ภาพ ที่ได้บันทึกภาพ วัดเชียงมั่น ทุกๆท่านด้วยครับ.
    ---------------------------------------------------------------------


    15 ความคิดเห็น:

    1. โดย: pimnuttapa เวลา: 2009-6-21 20:39 ชื่อกระทู้: วัดเชียงมั่น (สังฆาราม) ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ (พระเกศาธาตุ)

      Picture-686.jpg



      วัดเชียงมั่น (สังฆาราม)

      ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

      [พระเกศาธาตุ , พระแก้วขาว (เสตังคมณี) , พระศิลา]


      วัดเชียงมั่น ตั้งอยู่ทางทิศเหนือ เป็นวัดที่เก่าแก่ที่สุดภายในตัวเมืองเชียงใหม่ และเป็นที่ประดิษฐานพระเกศาธาตุขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระสมณโคดม นอกจากนั้น วัดนี้ยังเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปสำคัญของเชียงใหม่ คือพระเสตังคมณี หรือพระแก้วขาว และพระศิลา (สมัยพระแม่เจ้าจามเทวี) ซึ่งเป็นที่เคารพสักการะของประชาชนชาวเชียงใหม่ และยังมีสถาปัตยกรรมที่สำคัญอีกมากมาย

      ตำนานพระเจ้าเลียบโลกกล่าวว่า.....สมเด็จพระภควันตสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จจากที่วัดป่าแดงหลวงไปสู่ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ทรงประทับที่แห่งหนึ่ง เวลานั้นมีชีม่าน คือนักบวชม่าน ๗ รูป มานอนอยู่ที่นั้น พวกเขาเห็นพระพุทธเจ้าเสด็จเข้ามา ก็ถวายอภิวาท พระพุทธองค์ตรัสว่า “สถานที่นี้มีชีม่านมานอนอยู่ ต่อไปภายหน้าคนทั้งหลายจะมาสร้างอารามใหญ่อารามหนึ่ง จักปรากฏชื่อว่า “สังฆาราม” พระเจ้าอโศกมหาราชก็ทูลขอพระเกศาธาตุหนึ่งองค์ ทรงบรรจุไว้ในสถานที่นั้น สถานที่นั้นจึงได้ชื่อว่า “สังฆาราม” จนตราบถึงปัจจุบันนี้ (วัดเชียงมั่น อ.เมือง จ.เชียงใหม่)

      ตอบลบ
    2. โดย: pimnuttapa เวลา: 2009-6-21 21:08

      แก้ไขล่าสุด pimnuttapa เมื่อ 2009-6-21 22:14

      Resize-of-DSC00289.jpg

      วัดเชียงมั่น ตั้งอยู่ที่ ๑๗๑ ต.ศรีภูมิ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

      ประวัติวัดเชียงมั่น มีหลักฐานการสร้างตามที่ปรากฏในศิลาจารึกที่ ๗๖ ในระหว่าง ๑๘๓๕ - ๑๘๓๙ เป็นสถานที่ตั้งของเวียงเหล็ก หรือพระราชมณเฑียรที่พญามังรายโปรดให้สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นที่ประทับชั่วคราว เพื่อควบคุมการสร้างเมืองเชียงใหม่ เมื่อคราวพญามังรายทรงอพยพจากเวียงกุมกามขึ้นมา ภายหลังที่สร้างนครเชียงใหม่และปราสาทราชฐานภายในเมืองเสร็จแล้ว ก็เสด็จเถลิงพระราชมณเฑียรใหม่ ได้มีการสมโภชเมืองอย่างมโหฬาร พร้อมทั้งสถาปนานพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่ เป็นราชธานีของอาณาจักรล้านนา นอกจากจะมีความสำคัญเป็นวัดแรกที่สถาปนาขึ้นในนครเชียงใหม่แล้ว ยังเป็นวัดที่สถาปนาขึ้นแทนที่พระราชฐานของพญามังราย และเป็นสถานที่ทางประวัติศาสตร์ที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของกษัตริย์สามพระองค์แห่งเมืองเชียงใหม่ เมืองสุโขทัย และเมืองพะเยาค่ะ

      ตอบลบ
    3. วิหารใหญ่ วัดเชียงมั่น ค่ะ

      ประวัติวิหารใหญ่ วัดเชียงมั่น ตามประวัติกล่าวว่า เจ้าราชวงศ์ได้รื้อเอาหอของพระยาธรรมลังกามาสร้าง แต่วิหารหลังเดิมได้มีการรื้อถอนไปแล้ว แต่ภายในยังมีโขงปราสาท (มณฑป) ซึ่งเป็นรุ่นเดียวกับการสร้างวิหารใหญ่อยู่ค่ะ

      ตอบลบ
    4. โดย: pimnuttapa เวลา: 2009-6-21 21:31

      Resize-of-DSC00292.jpg

      ผนังเขียน ภายใน วิหารใหญ่ วัดเชียงมั่น เป็นภาพจิตรกรรมฝาผนังที่ลงด้วยสีที่เน้นสีทอง ลงพื้นหลังด้วยสีแดง ทำให้เห็นถึงความสวยงามในอีกรูปแบบหนึ่ง เรื่องราวในจิตรกรรมฝาผนังเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับความเป็นมาของอาณาจักรล้านนาและเมืองเชียงใหม่ค่ะ

      ตอบลบ
    5. วิหารจัตุรมุข วัดเชียงมั่น อยู่ด้านขวาของวิหารใหญ่ เป็นวิหารที่ประดิษฐานพระเสตังคมณีและพระศิลาค่ะ

      ตอบลบ
    6. ภายใน วิหารจัตุรมุข วัดเชียงมั่น ตรงกลางจะมีกู่ลายเขียนทองที่สวยงาม เป็นที่ประดิษฐานพระเสตังคมณี (พระแก้วขาว) และพระศิลาปิดทองปางทรมานช้างนาฬาคีรีค่ะ

      ตอบลบ
    7. ด้านหน้ากู่ลาย ตรงกลางจะเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปเงิน และด้านซ้าย - ขวาของพระพุทธรูปเงินจะเป็นพระพุทธรูปศิลาดำค่ะ


      Picture-671.jpg

      พระพุทธรูปศิลาดำ องค์ด้านซ้าย เป็นรูปช้างนาฬาคีรี เป็นพระพุทธรูปแบบล้านนาตอนต้น หน้ากลม อมยิ้ม คางเป็นปม รัศมีบัวตูม ชายจีวรสั้น ขัดสมาธิเพชร ร่างอวบอ้วน นั่งบนฐานบัวคว่ำบัวหงาย องค์ด้านขวา เป็นรูปพระอานนท์ ศิลปะแบบล้านนาตอนปลาย หน้าเรียวขึ้น รัศมีเปลวไฟ ขัดสมาธิราบ บ่าใหญ่ เอวเล็ก จีวรยาวระดับพระอุระ เป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อค่ะ

      ตอบลบ
    8. พระพุทธรูปเงิน ประดิษฐานภายใน วิหารจัตุรมุข วัดเชียงมั่น เป็นพระพุทธรูปขนาดใหญ่อยู่ตรงกลาง เป็นพระพุทธรูปแบบล้านนาตอนปลายแท้ ชายจีวรยาวถึงพระนาภี ขัดสมาธิราบ รัศมีเปลวไฟค่ะ

      ตอบลบ
    9. โดย pimnuttapa


      Picture-676.jpg

      พระเสตังคมณี (พระแก้วขาว) และพระศิลาปิดทองปางทรมานช้างนาฬาคีรี (เรียงจากซ้าย – ขวา) ประดิษฐานภายใน กู่ลาย ด้านหลังพระพุทธรูปเงินค่ะ

      คำไหว้พระเสตังคมณี
      (กล่าวนะโม ๓ จบ) เสตังคะมณี พุทธะพิมพัง มหาเตชัง มหิทธิกัง โย เว พุทธัง นะมัสสันโต สัคคะติง โส คะมิสสะติ เตเนตัง พุทธพิมพัญจะ อะหัง วันทามิ สัพพะทา

      คำไหว้พระศิลาเจ้า
      (กล่าวนะโม ๓ จบ) สีลาพิมพัง สุรูปัญจ อิธิเตชัง มหัพพลัง โย เว พุทธัง นมัสสันโต นิพพานัง โส คะมิสสะติ เตเนตัง พุทธพิมพัญจะ อะหัง วันทามิ สัพพะทา นัสสันตุ เม สัพพะโรคา สัพพะภะยา มาเม โหนตุ พุทธสีลา นุภาเวนะ สัพพะลาภา ภะวันตุ เมฯ

      แปลว่า ผู้ใดกราบไหว้บูชา พระศิลาพุทธรูปเจ้า ซึ่งมีพระพุทธรูปอันสวยงาม มีอิทธิเดช มีกำลังเป็นอันมาก ผู้นั้นจักได้เข้าถึงยังพระนิพพาน เหตุดังนั้น ข้าพเจ้าจักไหว้พระศิลาพุทธองค์นั้นตลอดกาลทุกเมื่อ สรรพโรคของข้าพเจ้าจงฉิบหายไป สรรพภัยขอจงอย่าได้มีแก่ข้าพเจ้าด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธศิลาเจ้า สรรพลาภจงมีแก่ข้าพเจ้าด้วยเทอญฯ

      ตอบลบ
    10. โดย: pimnuttapa เวลา: 2009-6-21 22:00

      แก้ไขล่าสุด pimnuttapa เมื่อ 2009-6-21 23:11

      Picture-672.jpg

      ประวัติพระเสตังคมณี อายุ ๑,๘๐๐ ปี เรียกอีกอย่างว่าแก้วขาว หน้าตักกว้าง ๔ นิ้ว สูงประมาณ ๖ นิ้ว พระแก้วขาวเป็นฝีมือการสร้างของชาวละโว้ ซึ่งเป็นพระพุทธรูปประจำพระองค์ของพระแม่เจ้าจามเทวีที่ได้อัญเชิญมาจากเมืองละโว้ ภายในบรรจุพระบรมธาตุ ๔ องค์ พระพักตร์เป็นรูปไข่ เอวเล็ก บ่าใหญ่ นั่งขัดสมาธิราบ ชายจีวรยาว ทำด้วยหินสี เป็นพระพุทธรูปที่สร้างขึ้นด้วยฝีมือประติมากรรมชาวละโว้หรือขอม ในสมัยที่มีอำนาจปกครองบริเวณดินแดนสุวรรณภูมิและตั้งราชธานีอยู่ที่ละโว้

      ต่อมาภายหลัง พ่อขุนมังรายมหาราชตีเมืองลำพูนได้ ไฟเกิดไหม้ทั้งเมือง แต่พระแก้วขาว ภายในพระราชวัง หาได้ถูกเพลิงไหม้ไม่ แต่บริเวณรอบๆ นั้น ถูกไฟเผาผลาญพินาศหมดสิ้น พระองค์เห็นอัศจรรย์เช่นนั้น จึงได้อัญเชิญมาประดิษฐานเป็นพระบูชาประจำพระองค์จนตลอดรัชกาล แม้ในเวลาออกศึกก็อัญเชิญพระแก้วขาวไปด้วยทุกครั้ง สมัยต่อมาเมื่อพ.ศ. ๒๐๒๒ จึงได้อัญเชิญไปไว้ที่วัดเจดีย์หลวง แล้วก็มาประดิษฐานที่วัดเชียงมั่นจนถึงปัจจุบันนี้

      ประวัติพระศิลาปิดทองปางทรมานช้างนาฬาคีรี อายุ ๒,๕๐๐ ปี ดูจากพุทธลักษณะที่ช่างได้ประดิษฐานขึ้น น่าจะเป็นศิลปะอินเดียแบบปาละ ลักษณะยืนแบบ triple flexion ตามพุทธประวัติกล่าวว่า พระพุทธเจ้าเสด็จออกบิณฑบาตกับพระสาวก ครั้งนั้นพระเทวทัตไปมอมเหล้าช้างให้มาทำร้ายพระพุทธเจ้า พระอานนท์ก็ยอมตายแทน โดยออกมาขัดขวางหน้าไว้ แต่พระพุทธเจ้าท่านบอกให้พระอานนท์หลบไป ด้วยพุทธานุภาพทำให้ช้างสงบลงและเชื่องในที่สุด

      ตำนานพระศิลาปิดทองปางทรมานช้างนาฬาคีรี เป็นพระพุทธรูปศิลปะแบบลังกา สร้างขึ้นเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๕ ตามตำนานได้เล่าว่า พระเจ้าอชาตศัตรู ทรงให้ไปเอาหินพิมผการ (คล้ายหินอ่อน) มาแต่ท้องมหาสมุทร แล้วให้ช่างแกะสลักเป็นพระพุทธรูปปางเสด็จบิณฑบาตปราบช้างนาฬาคีรีที่กรุงราชคฤห์ ในกาลนั้น พระอรหันต์ทั้งหลายและพระเจ้าอชาตศัตรูพร้อมใจกันอธิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ๗ องค์ ให้เสด็จเข้าไปสถิตอยู่ในองค์พระศิลานั้น ครั้นแล้ว พระศิลาก็แสดงอิทธิฤทธิ์เสด็จลอยขึ้นสู่นภากาศสูงประมาณพอที่คนจะมองเห็นได้ แล้วเสด็จลงมาสถิตเหนือบัลลังก์ดังเดิม

      ต่อมาก็มีพระเถระ ๓ องค์ หนึ่งในนั้นคือ พระมหากัสปะเถระเจ้าเล่าว่า ได้นำพระพุทธรูปอัญเชิญมาสู่เมืองลังกาโดยเรือสำเภา แล้วเดินทางผ่านเมืองศรีสัชนาลัย ลำปาง มายังเมืองเชียงใหม่ตามลำดับ ในขณะที่พระศิลาสถิตอยู่ตามที่ต่างๆ นั้น เมื่อได้กราบไหว้บูชาและสรงด้วยน้ำหอมแล้ว ก็จะมีฝนตกลงมา สร้างความชุ่มชื่นและร่มเย็นให้เกิดขึ้นในที่นั้นทันที และได้นำมาถวายพญามังรายซึ่งครองเวียงกุมกามประมาณพ.ศ.๑๘๓๓ และได้ถูกจำลองไว้ ๒ องค์ คืออยู่ที่ วัดสวนดอก ๑ องค์ และอยู่ที่วัดหัวข่วงอีก ๑ องค์ ต่อมาเมื่อประมาณปีพ.ศ. ๒๓๓๔ พระเจ้ากาวิละได้สร้างฐานพระพร้อมซุ้มทำด้วยไม้ลงรักปิดทองค่ะ

      ตอบลบ
    11. โดย pimnuttapa

      พระบรมธาตุเจดีย์ วัดเชียงมั่น (สังฆาราม) ค่ะ

      จารึกจดหมายเหตุเกี่ยวกับวัดเชียงมั่น

      • พ.ศ. ๑๘๓๙ พญามังรายก่อเจดีย์ทัดที่หอนอนบ้านเชียงมั่น แล้วลวดสร้างเป็นวัดใส่ชื่อวัดเชียงมั่น บัดนั้น
      • พ.ศ. ๒๐๑๔ พระเจ้าติโลกราชก่อเจดีย์คร่อมทับองค์เดิม
      • พ.ศ. ๒๑๑๔ พญาแสนหลวงสร้างเจดีย์คร่อมทับครั้งที่ ๒
      • พ.ศ. ๒๓๓๙ ยามใกล้จะเที่ยงวันขึ้น ๑๒ ค่ำ วันพฤหัสบดีพระยามังราวชิรปราการกำแพงแก้ว (เจ้ากาวิละ) ยกพลเข้าเมืองผ่านประตูช้างเผือกโดยจัดให้ “ลวะจูงหมาพาแซกนำเข้าก่อนและไปพักนอนที่เชียงขวางหน้าวัดเชียงมั่นได้คืนหนึ่ง เช้ารุ่งก็อาบน้ำแต่งตัวบริโภคอาหารแล้วเมื่อถึง “ยามกลองงาย” ซึ่งเป็น “ยามอุทธังราชา” แล้วเข้าสู่ชัยภูมิเป็นที่ตั้งของพระมหากษัตริย์ในครั้งก่อน
      • พ.ศ. ๒๓๔๘ เจ้ากาวิละได้บูรณะอุโบสถวัดเชียงมั่น

      • พ.ศ. ๒๓๖๕ เจ้าหลวงธัมมลังกาก็ได้ผนวชที่วัดเชียงมั่น
      • พ.ศ. ๒๓๖๖ เดือน ๘ อ้าย แรม ๔ ค่ำ วันอาทิตย์ เจ้าหลวงเมืองลำปางและเจ้าหลวงเมืองลำพูนเป็นประธานก็นำพระญาคำฝั้นไปบวชที่วัดเชียงมั่น แล้วให้ไปอยู่ที่วัดสวนดอกเชียงใหม่
      • พ.ศ. ๒๓๖๗ เจ้าหลวงเสฏฐีคำฝั้นก็ถึงแก่พิราลัย เมื่อเจ้านายลูกหลานสร้างวิหารที่วัดเชียงมั่น เจ้าราชวงศ์ก็ได้รื้อหอขวางของเจ้าหลวงคำฝั้นไปสร้างวิหารหลังนั้นด้วย
      • พ.ศ. ๒๕๐๐ พระเจ้ากาวิโลรส รื้อเอาหอขวางของเจ้าหลวงธัมมลังกามาสร้างวิหารหลวงเชียงมั่น
      • พ.ศ. ๒๕๐๗ ตรงกับวันเพ็ญเดือนอ้าย พระเจ้ากาวิโลรส เมื่อเสด็จกลับมาจากกรุงเทพฯ แล้ว ได้ตั้งการฉลองสมโภชพระแก้วเศวตมณี (พระแก้วขาว)

      ตอบลบ

    12. • พ.ศ. ๒๔๑๖ พระเจ้าอินทวิชยานนท์ ได้สร้างอุโบสถวัดเชียงมั่น สร้างฐานทองคำพระแก้วข้าว และฉัตรด้วยญาติพี่น้อง
      • พ.ศ. ๒๔๒๐ พระเจ้าอินทวิชยานนท์ได้สร้างวิหารหลวงวัดเชียงมั่น เดือน ๕ แรม ๑๑ ค่ำ พร่ำว่าได้วัน ๕ ปกวิหารหลวงวัดเชียงมั่นที่นั้นแลเจ้าเฮย
      • พ.ศ. ๒๔๒๖ เจ้าอินทวิชยานนท์ ได้ฉลองวิหารวัดเชียงมั่นที่รื้อจากท้องพระโรงของพระเจ้ากาวิโลรสไปสร้าง
      • พ.ศ. ๒๔๔๐ เจ้าอินทวิชยานนท์ ถวายทานหอพระไตรปิฎกวัดเชียงมั่น เดือน ๗ เพ็ญ
      • พ.ศ. ๒๔๔๗ เจ้าอินทวโรรส สุริยวงษ์ ทำบุญฉลองพระไตรปิฎกที่วัดเชียงมั่นและถวายกฐินด้วย เดือนยี่ เหนือ ขึ้น ๑๒ ค่ำ
      • พ.ศ. ๒๔๔๙ เจ้าอินทวโรรส สุรยวงษ์ ทำบุญฉลองซุ้มพระพุทธรูปในวิหารหลวงวัดเชียงมั่น เดือน ๙ เหนือ แรม ๑๔ คำ
      • พ.ศ. ๒๔๗๕ ครูบาศรีวิชัย เป็นพระประธานมาบูรณะวิหารหลวงวัดเชียงมั่น
      • พ.ศ. ๒๔๘๓ ครูบาหมวก สุภาโร เป็นประธานบูรณะเจดีย์
      • พ.ศ. ๒๔๙๑ ครูบาอินภา อินทจกโก เป็นประธานสร้างศาลา 2 หลังและหอสรง
      • พ.ศ. ๒๕๐๔ ครูบาอินภา อินทจกโก เป็นประธานบูรณะวิหารหลวงและสร้างหอสิริวิชยครุนิมิต

      • พ.ศ. ๒๕๑๔ ครูบาอินภา อินทจกโก เป็นประธานสร้างวิหารตุรมุขประดิษฐานพระเสตังคมณีและพระศิลา
      • พ.ศ. ๒๕๑๖ วันพุธที่ ๓ มกราคม พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถเสด็จมานมัสการและสรงน้ำพระเสตังคมณี พระศิลา วัดเชียงมั่น
      • พ.ศ. ๒๕๒๔ พระปลัดสมพงษ์ สมจิตโต เป็นประธานสร้างกุฏิสงฆ์
      • พ.ศ. ๒๕๒๘ พระปลัดสมพงษ์ สมจิตโต เป็นประธานสร้างแท้งน้ำหอระฆัง

      • พ.ศ. ๒๕๓๑ พระปลัดสมพงษ์ สมจิตโต เป็นประธานบูรณะหอไตรและกำแพง
      • พ.ศ. ๒๕๓๖ พระอธิการ วสันต์ วสันตธัมโม เป็นประธานดำเนินการบูรณะสิ่งสำคัญภายในวัดครั้งใหญ่เพื่อเตรียมการฉลองสมโภช ๗๐๐ ปี วัดเชียงมั่น เมืองเชียงใหม่ ได้แก่ วิหารหลวง เจดีย์ พระเสตังคมณี และหล่อพระพุทธรูปที่ระลึก
      • พ.ศ. ๒๕๓๖ กรมศิลปากร บูรณะซ่อมแซมปิดทองเจดีย์โดยได้รับการสนับสนุนจากทายาทของ นายไกรศรี นิมมานเหมินท์

      • พ.ศ. ๒๕๓๗ วันอังคารที่ ๑๕ พฤศจิกายน ขึ้น ๑๓ ค่ำ เดือนยี่ เหนือ พลเอกอาทิตย์ กำลังเอก เป็นประธานหล่อประพุทธเอกอรหันต์สรรพประธานด้วยเงินบริสุทธิ์ และพระสิงห์ ๑ พระสิงห์ ๒ ด้วยทองสัมฤทธิ์ ทอดกฐินด้วย
      • พ.ศ. ๒๕๓๘ กรมศิลปากร ซ่อมแซมฐานพระเสตังคมณี
      • พ.ศ. ๒๕๓๙ วันเสาร์ที่ ๑๓ มกราคม นางจวนจันทน์ บุรกรมโกวิท สร้างฉัตรทองคำประดับเพชรถวายพระเสตังคมณี
      • พ.ศ. ๒๕๓๙ ๑-๕ เมษายน พระครูสันติธรรมวัฒน์ (วสันต์) เป็นประธานจัดงาน ฉลองสมโภช ปอยหลวง เจดีย์ วิหารหลวง พระเสตังคมณี พระศิลา ๗๐๐ ปีวัดเชียงมั่น เมืองเชียงใหม่
      • พ.ศ. ๒๕๓๙ ๑๑ เมษายน จังหวัดเชียงใหม่ อาราธนาพระเสตังคมณี พระศิลา แห่รอบเมือง นำไปตั้งที่อนุสาวรีย์ ๓ กษัตริย์ ๑๒ เมษายน สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เสด็จมานมัสการสรงน้ำในโอกาส ๗๐๐ ปี เมืองเชียงใหม่

      • พ.ศ. ๒๕๔๒ วันเสาร์ที่ ๑๒ พฤศจิกายน แรม ๕ ค่ำ เดือนยี่เหนือ นายอมรพัน นิมานันท์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธานหล่อพระพุทธรูปทรงเครื่อง เฉลิมฉลองพระชนมุ ๖ รอบ ๗๒ พรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
      • พ.ศ. ๒๕๔๓ พระครูสันติธรรมวัฒน์ (วสันต์) เป็นประธานบูรณะซ่อมแซมอุโบสถและพระพุทธรูป
      • พ.ศ. ๒๕๔๔ ๑-๔ เมษายน พระครูสันติธรรมวัฒน์ (วสันต์) เป็นประธานจัดงานฉลองสมโภช ปอยหลวง อุโบสถและพระพุทธรูป

      ศรัทธา นายไพโรจน์ นางพรรณี ภัทรโกศล สร้างจารึกนี้

      ตอบลบ
    13. โดย pimnuttapa


      Resize-of-DSC00305.jpg

      ประวัติพระบรมธาตุเจดีย์ วัดเชียงมั่น (สังฆาราม) สร้างขึ้นครั้งแรกเมื่อประมาณปีพ.ศ. ๑๘๓๙ พญามังรายโปรดให้สร้างเจดีย์ขึ้นในที่หอนอนประทับของพระองค์ และสถาปนาเป็นวัดเรียกว่า วัดเชียงมั่น ต่อมาเจดีย์คงพังลงในรัชกาลพระเจ้าติโลกราชจึงโปรดให้สร้างเจดีย์ใหม่ในปีพ.ศ. ๒๐๑๔ โดยพระเจ้าติโลกราชโปรดให้ซ่อมแซมด้วยศิลาแลง จากลักษณะส่วนยอดแสดงว่า คงจะซ่อมใหม่ ซึ่งอาจเป็นการซ่อมแซมเมื่อประมาณปีพ.ศ. ๒๑๑๔ โดยพญาแสนหลวง สำหรับลวดลายประดับและจรนำเรือนธาตุนั้น น่าจะมีการปรับเปลี่ยนเมื่อพุทธศตวรรษที่ ๒๕ นี้เองค่ะ

      ตอบลบ
    14. โดย pimnuttapa


      Picture-690.jpg

      พระบรมธาตุเจดีย์ วัดเชียงมั่น (สังฆาราม) เป็นเจดีย์รูปแบบล้านนาตอนปลาย ลักษณะเป็นเจดีย์ฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส และมีบันไดนาคทางขึ้น ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากพม่า ที่มุมและด้านล่างมีรูปช้างครึ่งตัวโผล่ออกมารวม ๑๕ ตัว ซึ่งได้รับอิทธิพลของลังกาผ่านมาทางสุโขทัยอย่างเห็นได้ชัดคือ รูปปั้นช้างมีงวงยาวจรดดอกบัวที่พื้นด้านล่างของฐาน บัวที่ฐานนี้เป็นบัวบาน เรือนธาตุสี่เหลี่ยมยกเก็จ มีซุ้มจรนำ ๔ ทิศ ด้านละ ๓ ซุ้มอยู่ที่องค์เรือนธาตุ เหนือเรือนธาตุเป็นชั้นหลังคาลาดที่ซ้อนลดขึ้นไปรับชั้นบัวถลาแปดเหลี่ยมซึ่งรองรับองค์ระฆัง บัลลังก์ ปล้องไฉนและปลียอด เค้าโครงของเจดีย์องค์นี้ อาจใช้เป็นข้อสันนิษฐานส่วนยอดของเจดีย์หลวงที่พังทลายได้ค่ะ

      ตอบลบ
    15. โดย pimnuttapa


      Picture-687.jpg

      เรามากราบนมัสการพระบรมธาตุเจดีย์ วัดเชียงมั่น (สังฆาราม) พร้อมกันเลยนะคะ

      (กล่าวนะโม ๓ จบ) วันทามิ เจติยัง สัพพัง สัพพัฏฐาเนสุ ปะติฏฐิตา สะรีระธาตุโย เกศาธาตุโย อะระหันตา ธาตุโย เจติยัง คันทะกุฏิง จะตุละสี ติสสะหิสเส ธัมมักขันเธ สัพเพสัง ปาทะเจติยัง อะหังวันทามิ ธาตุโย วันทามิทุระโส อะหังวันทามิ สัพพะทา อะหัง วันทามิ สิระสา ฯ

      ข้าพเจ้าขอถึงซึ่งพระพุทธ พระธรรม และพระอริยสงฆ์เป็นที่พึ่ง ข้าพเจ้าขอกราบนอบน้อม บูชาพระคุณขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ทรงเสียสละสั่งสมบารมีนับชาติมิถ้วน ตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ ประกาศธรรมนำเวไนยสัตว์ออกจากสังสารวัฏ พร้อมกราบพระธรรม และพระอริยสงฆ์ ขอตั้งสัจจะอธิษฐานด้วยอานิสงส์ผลแห่งบุญนี้ จงเป็นปัจจัยให้ได้ถึงซึ่งพระนิพพานแม้ต้องเกิดในทิพย์จุติใดๆ ขอเกิดภายใต้ร่มเงาพระพุทธศาสนา ได้พบสัตบุรุษผู้รู้ธรรมอันประเสริฐมีกรรมสัมพันธ์ที่ดี ได้เกิดท่ามกลางกัลยาณมิตร ห่างไกลจากพาล มีโอกาสฟังธรรมประพฤติธรรม จนเป็นปัจจัยให้เจริญด้วยสติและปัญญาญาณ ตามส่งชาตินี้และชาติต่อๆไป จนถึงพระนิพพานในกาลอันควรเทอญ กรรมใดๆที่ล่วงเกินต่อพระพุทธ พระธรรม พระอริยสงฆ์ และสรรพสัตว์ทั้งหลายในอดีตชาติก็ตามปัจจุบันชาติก็ตาม กราบขออโหสิกรรมทั้งหมดทั้งสิ้น ขออุทิศกุศลผลบุญให้แต่ท่านผู้มีพระคุณ ญาติพี่น้อง เจ้ากรรมนายเวร ตลอดจนท่านที่ขวนขวายในกิจที่ชอบในการดำรงรักษาไว้ซึ่งประเทศชาติ พระพุทธศาสนา และองค์พระมหากษัตริย์ทั้งที่เป็นมนุษย์และอมนุษย์ ขอให้ท่านทั้งหลายดังกล่าวนามมานั้นจงมีแต่ความสุขฯ ทั่วกันทุกท่านเทอญ

      ตอบลบ