วันอาทิตย์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

09.07.2560 Prasat Neang Khmau Temple, Koh Ker, Cambodia. ปราสาทเนียงเขมา หรือ วัดปราสาทเนียงเขมา, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

Prasat Neang Khmau Temple, Koh Ker, Cambodia.

ปราสาทเนียงเขมา หรือ วัดปราสาทเนียงเขมา, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

ปราสาทเนียงเขมา หรือ วัดปราสาทเนียงเขมา, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.
Prasat Neang Khmau Temple, Koh Ker, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล 
จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/909/cambodia/koh-ker/prasat-neang-khmau-temple


Prasat Neang Khmau Temple (early 10th century)

Neang Khmau means the "Black Lady" in Khmer, probably referring to the tower's fire-scarred surface. Like many of the shrines at Koh Ker the temple was dedicated to Shiva.

Location

The approximate location of the site is 13.754720' N, 104.548233' E (WGS 84 map datum).

 01.Prasat Neang Khmau Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทเนียงเขมา หรือ วัดปราสาทเนียงเขมา, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.


02.Prasat Neang Khmau Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทเนียงเขมา หรือ วัดปราสาทเนียงเขมา, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

03.Prasat Neang Khmau Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทเนียงเขมา หรือ วัดปราสาทเนียงเขมา, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

04.Prasat Neang Khmau Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทเนียงเขมา หรือ วัดปราสาทเนียงเขมา, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

05.Prasat Neang Khmau Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทเนียงเขมา หรือ วัดปราสาทเนียงเขมา, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

06.Prasat Neang Khmau Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทเนียงเขมา หรือ วัดปราสาทเนียงเขมา, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

07.Prasat Neang Khmau Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทเนียงเขมา หรือ วัดปราสาทเนียงเขมา, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

08.Prasat Neang Khmau Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทเนียงเขมา หรือ วัดปราสาทเนียงเขมา, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

09.Prasat Neang Khmau Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทเนียงเขมา หรือ วัดปราสาทเนียงเขมา, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

10.Prasat Neang Khmau Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทเนียงเขมา หรือ วัดปราสาทเนียงเขมา, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

11.Prasat Neang Khmau Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทเนียงเขมา หรือ วัดปราสาทเนียงเขมา, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

12.Prasat Neang Khmau Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทเนียงเขมา หรือ วัดปราสาทเนียงเขมา, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

13.Prasat Neang Khmau Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทเนียงเขมา หรือ วัดปราสาทเนียงเขมา, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

14.Prasat Neang Khmau Temple, Koh Ker, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทเนียงเขมา หรือ วัดปราสาทเนียงเขมา, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.


ปราสาทเนียงเขมา หรือ วัดปราสาทเนียงเขมา, เกาะแกร์, ราชอาณาจักรกัมพูชา.
Prasat Neang Khmau Temple, Koh Ker, Cambodia.

Photo Gallery. Asian Historical Architecture.

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล 
จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/909/cambodia/koh-ker/prasat-neang-khmau-temple

--------------------------------------------------------------------

2 ความคิดเห็น:

  1. จาก http://www.csr.chula.ac.th/60year-1/th-16/3608-niang-khamao-prasat.html

    เดินทางไปทางจังหวัดกันดาล ...ไปหยุดที่ปราสาทเนียงเขมา (แปลว่านางดำ) ...ปราสาทนี้สร้างประมาณครึ่งแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 10 ประมาณสมัยบาแค็งหรือสมัยเกาะแกร์ ปราสาท 3 หลังสร้างเรียงกัน ... ตัวปราสาทก่ออิฐไม่สอปูน ... Professor Claude Jacque เป็นคนมาแนะนำพระสงฆ์ที่ดูแลปราสาทแถวนี้ให้ทำประตูป้องกันคนเข้าไปขูดภาพเขียน
    ที่เรียกว่าปราสาทเนียงเขมา เพราะพบประติมากรรม รูปสตรีสลักด้วยหินสีคล้ำ.

    ตอบลบ
  2. จาก http://oknation.nationtv.tv/blog/voranai/2009/09/02/entry-1

    ... เมื่อพ้นจากด่านประมาณกว่าชั่วโมง ก็จะมาถึงกลุ่มปราสาทเกาะแกร์ทางทิศใต้ มี "ปราสาทพรามณ์ (Prasta Pram) " เป็นปราสาทหลังแรกทางซ้าย และ “ปราสาทเนียงเขมา” เป็นปราสาทหลังที่สองที่เห็นได้แต่ไกล กลางป่าโปร่งทางขวามือ
    .
    “เนียงขะเมา” หรือ “เนียงเขมา” เป็นชื่อเรียกใหม่ของชาวเขมร แปลว่า “นางดำ” เป็นเพราะปราสาทนี้มีเขม่า “สีดำ” เคลือบหินศิลาแลงอยู่ด้านนอก
    .
    ปราสาทเทวาลัยในเกาะแกร์หลายองค์ใช้ศิลาแลงมาก่อสร้างแทนอิฐ คงเพราะ "ดิน" ไม่เอื้ออำนวย ห่างจากลำน้ำใหญ่ จึงไม่สามารถผลิต “อิฐดินเผา”ที่ต้องใช้ส่วนผสมของดินร่วนละเอียด ผสมกับแกลบข้าวให้ได้ปริมาณอิฐมากเพียงพอ แต่กระนั้น การใช้ศิลาแลงก็มีความละเอียดละออในการแกะ ปั้น “โกลน” เป็นรูปปราสาทได้อย่างใหญ่โตและสวยงาม.

    ปราสาทเนียงเขมา เป็นปราสาทหลังเดี่ยวตามแบบ “วิมาน”ขนาดใหญ่ ตามคติไศวะนิกายของเกาะแกร์ รูปทรง “เทวาลัย” แบบอินเดีย คือเป็นรูปปราสาท 5 ชั้น ทรง “ศิขระ” (ซ้อนขึ้นไปลดหลั่นขนาดให้เล็กลงในแต่ละชั้น ) เป็นปราสาท "สรุก" ของชุมชนที่อพยพจากพนมบาแค็งในยุคแรก ๆ โดยดูได้จากฝีมือช่างในการสร้างฐานเขียง ฐานบัวและช่องบันไดทางขึ้น ที่ยังคงเอกลักษณ์ตามศิลปะของปราสาทพนมบาแค็งโดยไม่ผิดเพี้ยน.

    ตัวปราสาทยังคงรูปทรงเช่นเดียวกับปราสาทอิฐในยุคเดียวกัน ประตูทางเข้าด้านหน้ามีขนาดใหญ่โต เสาประดับ ทับหลัง แสดงศิลปะแบบเกาะแกร์ที่มีเอกลักษณ์เป็นของตนเองอย่างโดดเด่น
    .
    ในครั้งหนึ่งปราสาทแห่งนี้ ยังไม่มีสีดำ เป็นปราสาทที่มี “ปูนปั้น” ประดับ ปิดทองและ “ทาสี” ในส่วนต่าง ๆ ตามต้นแบบของอินเดีย แต่ปูนปั้นก็ได้หลุดร่อนหายไป เพราะสภาพภูมิอากาศร้อนชื้น และก็คงเพราะไฟป่าหรือความตั้งใจเผาป่าเพื่อเข้ามาสำรวจปราสาทของชาวฝรั่งเศส จึงทำให้ปราสาทติดเขม่าดำที่สะสม "รมควัน" อยู่ระหว่างชั้นของปูนปั้นกับชั้นผนังศิลาแลงมาตั้งแต่เมื่อ 100 ปีที่แล้ว
    .
    ปราสาทเนียงเขมา มีชื่อเสียงในทางการศึกษาประวัติศาสตร์ศิลปะและโบราณคดีอย่างมาก เพราะในครั้งที่ฝรั่งเศสได้เข้ามาสำรวจปราสาทนี้เป็นครั้งแรก ที่นี่มีหลักฐานพัฒนาการของ “ภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนัง” เป็นรูปของพระนารายณ์ตรีวิกรม พระศิวะเทพ ฯลฯ แต่ก็ได้หลุดร่อนหายไปเมื่อครั้งสงครามกลางเมือง.

    ปราสาทเนียงเขมา จึงเป็นปราสาทหลังสุดท้ายที่สามารถ “อธิบาย” พัฒนาการของศิลปะเขมร ไม่ใช่ปราสาทที่เราเห็นในทุกวันนี้จะมีแต่หินผนังที่ไม่สวยงาม แต่ครั้งหนึ่ง ปราสาทแต่ละหลังก็เคยมีภาพเขียนเทพเจ้าที่งามไม่แพ้การแกะสลักหิน ภาพวาดฝาผนังอันเป็นศิลปะที่ตกทอดมาจากอินเดียผ่านชวาที่สวยงามได้ส่งต่อไปยัง “ปราสาทกระวาน” ที่ได้ดัดแปลงจิตรกรรมฝาผนัง ให้กลายไปเป็น ภาพแกะสลักลงบนบนผนังอิฐที่มีความคงทนและมีมิติมากกว่าเดิม.

    ตอบลบ