วันเสาร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

02.07.2560 Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia


ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล 
จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/23/cambodia/angkor/neak-pean-temple


Neak Pean Temple (built late 12th century)

Neak Pean is a tiny temple built during the reign of King Jayavarman VII, an energetic king who ruled in the late 12th century (for biographical details, see the Preah Khan page).The King ordered the construction of a vast baray (reservoir) east of Preah Khan temple possibly to provide water to its hundred-thousand support workers.Stretching a half kilometer by 900 meters, the artificial lake (known as the Jayatataka) stored millions of cubic meters of water to irrigate the rice fields during the dry season.Neak Pean sits at the center of the reservoir.It once consisted of a square pond, measuring 70 meters to a side, surrounded by four smaller ponds, which were in turn surrounded by eight other ponds.At the very center of the complex was a small island, shown in the photo above, with a single tower made of sandstone.
Neak Pean probably represents Anavatapta, a mythical lake in the Himalayas whose waters are thought to cure all illness.Descriptions of Anavatapta include references to four springs spewing from the mouths of a lion, an elephant, a horse, and an ox.This closely corresponds to Neak Pean—its central pond drains into the four surrounding ponds through gargoyles shaped like a lion, an elephant, a horse, and a man respectively.If the theory is correct, it is uncertain why one of the gargoyles was fashioned as a man and not an ox.
Access to the central chamber of Neak Pean is via a footbridge on the east side. In the middle of the footbridge is a stone horse called Balaha who was one of the incarnations of the Bodhisattava Lokesvara, who helped sailors escape from an island held by an ogress. Lokesvara also appears on the central sanctuary. The four sides of the sanctuary were originally open but at some point the north, south, and west sides were bricked up with carvings featuring Lokesvara. The numerous depictions of Lokesvara, who was known for compassion, is in keeping with the possible utilitarian aspect of Neak Pean—absent an understanding of the nature of disease, the ancient Khmers may have believed that bathing in its successive pools would have restored balance within the body and cured illness, or at least washed away sin.
Neak Pean is one of several sites described by Zhou Daguan, the 13th century Chinese emissary who visited Angkor in its heyday. However, Zhou's description of the statuary does not fully correspond to what we see today, suggesting that either Neak Pean was remodeled or Zhou misremembered. He wrote: "In the middle of the [Jayatataka Baray] is a gold tower, square in shape, with several dozen stone chambers. A gold lion, a gold Buddha, a bronze cow, and a bronze horse—these are all there" [translation by Peter Harris].

Plan of Neak Pean





Drawn by Timothy M Ciccone following Claude Jacques and Michael Freeman.

Location

The approximate location of the site is 13.463248' N, 103.894821' E (WGS 84 map datum).

01.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.


02.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

03.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

04.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

05.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

06.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

07.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

08.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

09.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

10.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

11.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

12.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

13.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

14.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

15.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

16.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

17.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

18.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

19.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

20.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

21.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

22.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

23.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

24.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

25.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

26.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

27.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

28.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

29.Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.


ปราสาทนาคพัน หรือ วัดนาคพัน, เมืองพระนคร, จังหวัดเสียมเรียบ ราชอาณาจักรกัมพูชา.

Neak Pean Temple, Angkor, Cambodia.
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล 
จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/23/cambodia/angkor/neak-pean-temple

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------

Neak Pean
From Wikipedia, the free encyclopedia


01.The central pond at Neak Pean

Neak Pean (or Neak Poan[2] (Khmerប្រាសាទនាគព័ន្ធ) ("The entwined serpents") at AngkorCambodia is an artificial island with a Buddhist temple on a circular island in Jayatataka Baray, which was associated with Preah Khan temple, built during the reign of King Jayavarman VII.[3]:389 It is the "Mebon" of the Preah Khan baray (the "Jayatataka" of the inscription).[4]



02.Location in Cambodia


03.Location in Cambodia


Etymology.

Some historians believe that Neak Pean represents Anavatapta,[5]:174 a mythical lake in the Himalayas whose waters are thought to cure all illness.[6]:124–125[7] The name is derived from the sculptures of snakes (Nāga) running around the base of the temple structure, neak being the Khmer rendering of the Sanskrit naga. "They are Nanda and Upananda, two nagas traditionally associated with Lake Anavatapta."[8]


 04.layout map of Neak Pean

History.

Neak Pean was originally designed for medical purposes (the ancients believed that going into these pools would balance the elements in the bather, thus curing disease); it is one of the many hospitals that Jayavarman VII built. It is based on the ancient Hindu belief of balance. Four connected pools represent Water, Earth, Fire and Wind. Each is connected to the central water source, the main tank, by a stone conduit "presided over by one of Four Great Animals (maha ajaneya pasu) namely Elephant, Bull, Horse, and Lion, corresponding to the north, east, south, and west quarters....The stone conduits in the little pavilions are fashioned to represent the heads of the Four Great Animals...the only exception being that on the east, which represents a human head instead of a bull's."[9] Originally, four sculptures stood on the floor of the lake. The only remaining statue is that of the horse Balaha, a form of the bodhisattva Avalokitesvara, saving sailors from the ogresses of Tamradvipa. The temple on the lake was originally dedicated to Avalokitesvara. Willetts believed that "this is Jayavarman as he would have wished to have appeared to his people"[9]
Zhou Daguan refers to Neak Pean in his visit to Angkor in the late 13th century.

Gallery.

 05.neak pean temple. Angkor, Cambodia.


 06.Way over a pond to reach the Khmer temple of Neak Pean, an artificial island that belongs to the Angkor temple complex, located today in Cambodia. The buddhist temple Neak Pean, part of the temple Preah Khan was erected by order of Jayavarman VII in the 12th century.

 07.Neak Pean, Angkor, Cambodia


 08.Neak Pean, Angkor, Cambodia

 09.Neak Pean, Angkor, Cambodia

--------------------------------------------------------------------------

ปราสาทนาคพัน
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ปราสาทนาคพัน (เขมรប្រាសាទនាគព័ន្ធ - ออกเสียงว่า "เนียกปวน"; อังกฤษNeak Pean[1] เป็นปราสาทขนาดเล็ก ตั้งอยู่บนฐานกลมที่มีลักษณะซ้อนลดหลั่นกันลงไปเป็นชั้นๆ ชั้นสุดท้ายเป็นรูปพญานาค 7 เศียร 2 ตัว โอบล้อมฐานของปราสาทโดยหันส่วนหัวไปทางทิศตะวันออก และส่วนหาง วนอ้อมฐานมาบรรจบกันทางทิศตะวันตก ที่ฐานของปราสาทจำหลักรูปดอกบัวรองรับตัวปราสาท และมีรูปพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรประดิษฐานอยู่ที่ปราสาททั้ง 4 ทิศ
ปราสาทนาคพัน สร้างอยู่กลางสระสี่เหลี่ยมจตุรัสขนาดใหญ่ มีบ่อน้ำขนาดเล็กตั้งอยู่โดยรอบทั้ง 4 ทิศ แต่ละบ่อมีส่วนที่เชื่อมต่อกับสระใหญ่ตรงกลางเพื่อให้น้ำจากสระใหญ่สามารถไหลไปสู่บ่อเล็กได้ การก่อสร้างปราสาทนาคพันน่าจะเกี่ยวข้องกับคติความเชื่อทางศาสนา ผังของปราสาทเป็นลักษณะการจำลองของสระอโนดาต [2] สระอโนดาตเป็นสระน้ำบนสวรรค์มีน้ำที่ใสสะอาดและเต็มเปี่ยมอยู่ตลอดเวลา มีท่าน้ำอยู่ 4 ท่า น้ำในสระอโนดาตจะไหลออกตามช่องภูเขาที่ตั้งอยู่ทั้ง 4 ทิศของสระ ซึ่งปากช่องของภูเขาแต่ละลูกจะเป็นรูปหน้าของสัตว์ 4 ชนิด คือ สิงห์ ช้าง ม้า และวัว [3]
ใน "ย้อนรอยอารยะเมืองพระนคร" ซึ่งเขียนโดย ชากส์ คูมาร์เชย์ และแปลโดยอาจารย์วีระ ธีรภัทร ได้กล่าวถึงรูปจำหลักในทิศทั้ง 4 ของปราสาทนาคพันว่า ที่สระน้ำทางทิศตะวันตกมีหินสลักเป็นรูปหัวมนุษย์ สระน้ำทางทิศเหนือมีหินสลักเป็นรูปหัวช้าง สระน้ำทางทิศตะวันออกมีหินสลักเป็นรูปหัวม้า และสระน้ำทางทิศใต้มีหินสลักเป็นรูปหัวสิงห์ [4] จะเห็นว่าช่างขอมจำหลักรูปหน้าสัตว์ประจำทิศในแต่ละทิศตามคติความเชื่อเรื่องสระอโนดาต แต่ในทิศตะวันตกกลับจำหลักรูปหน้าคนแทนหน้าวัว
คติความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับการสร้างปราสาทนาคพันมีทั้งความเชื่อทางพุทธศาสนาและศาสนาฮินดูปะปนกัน ตัวปราสาทกลางสระสร้างตามความเชื่อทางศาสนาพุทธ แต่ไม่ปรากฏรูปพระพุทธเจ้ากลับมีรูปสลักของพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรแทน [5]

 01.สระน้ำตรงกลางของปราสาทนาคพัน


02.ถนนไปที่วัด

----------------------------------------------------------------------------------------------------------

1 ความคิดเห็น:

  1. ขอบคุณข้อมูลจาก http://www.oceansmile.com/KHM/Nakpan.htm
    โอเชี่ยนสไมล์ทัวร์

    ปราสาทนาคพัน
    • ปีที่สร้าง : สร้างในปีพุทธศตวรรษที่ 18
    • รัชสมัย : รัชสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7
    • ศิลปะ : เป็นศิลปะแบบบายน
    • ศาสนา : ศาสนาพุทธ นิกายมหายาน
    • ในบรรดาปราสาทที่ก่อสร้างในรัชสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ต้องยกให้ปราสาทนาคพันที่มีการก่อสร้างที่แปลกตามากที่สุด ตัวปราสาทตั้งอยู่กลางสระน้ำ เปรียบเสมือนเกาะอยู่กลางทะเล หรือเปรียบกับภูเขาหิมาลัยที่อยู่กลางมหาสมุทร น้ำจากสระแห่งนี้ถือเป็นน้ำที่ศักดิ์สิทธิ์ หรือเปรียบประหนึ่งน้ำจากสระอโนดาต ซึ่งเป็นศูนย์รวมจากแม่น้ำทั้ง 5 ในอินเดีย ได้แก่ แม่น้ำคงคา แม่น้ำยมนา แม่น้ำเนรัญชลา แม่น้ำสินธุ และแม่น้ำพรหมบุตร ผู้ใดที่อาบหรือดื่มกินน้ำจากสระนี้โดยผ่านจากปากของราชสีห์ ช้าง ม้า และมนุษย์ที่อยู่ในศาลาทั้งสี่ทิศ เชื่อว่าจะสามารถรักษาโรคภัยไข้เจ็บได้
    • หากเราสังเกตจะพบว่าปราสาทพระขรรค์ ถูกออกแบบเปรียบประหนึ่งถูกสร้างอยู่ใจกลางเกาะซึ่งมีน้ำล้อมรอบแต่ปัจจุบันบารายนั้นได้ตื้นเขินหมดแล้ว จึงมองภาพไม่ออกว่าปราสาทนี้ตั้งอยู่กลางน้ำอีกต่อไป
    • นาคพันรอบฐานปราสาท กลางสระน้ำเป็นที่ตั้งของฐานปราสาทที่มีลักษณะกลมเป็นชั้นๆ ที่ฐานหรือชั้นล่างสุดของฐานปราสาทนี้ เป็นนาคเจ็ดเศียรสองตัวที่หางเกี่ยวพันกันทางทิศตะวันตก ลำตัวโอบล้อมฐานหันหน้ามาทางทิศตะวันอออก นาคสองตัวนี้เชื่อกันว่าเป็นพญานาคที่ชื่อว่านันทะและอุปานันทะ
    • ภาพสลักที่ปรางค์ประธาน ตรงกลางของสระมีบันไดขึ้นไป 7 ชั้น สู่ปรางค์ประธานซึ่งอยู่ตรงกลาง ทางเข้าอยู่ทิศตะวันออก ส่วนอีก 3 แห่งรอบปราสาทเป็นประตูหลอก ที่มุมของปรางค์ประธานมีรูปพญาครุฑ ด้านหลังของปรางค์ประธานมีภาพสลักคติธรรมทางพุทธศาสนา แต่ภาพเหล่านี้ได้ถูกดัดแปลงให้เป็นความเชื่อตามศาสนาฮินดู เช่น ภาพสลักเมื่อเจ้าชายสิทธัตถะออกผนวช ภาพนี้ถูกดัดแปลงให้มีรูปลักษณะคล้ายศิวลึงค์ อีกภาพหนึ่งเป็นภาพสลักเมื่อพระพุทธเจ้านั่งสมาธิอยู่ใต้ต้นโพธิ์ก็ถูกดัดแปลงเช่นกัน
    • ประติมากรรมลอยตัวรูปม้าพลาหะ อยู่ด้านหน้าของปรางค์ประธานด้านทิศตะวันออก ม้าพลาหะเป็นอวตารหนึ่งของพระโพธิสัวต์อวโลกิเตศวร ตามตำนานกล่าวว่าเมื่อพ่อค้าจากอินเดียลงเรือสำเภาเพื่อเดินทางไปยังเกาะศรีลังกาเกิดพายุระหว่างทาง เรือถูกพายุโหมกระหน่ำจนเรือแตก พระโพธิสัตว์ได้แปลงพระองค์เป็นม้ามีปีกลงไปให้ความช่วยเหลือคนที่อยู่กลางมหาสมุทรได้อย่างปลอดภัย ม้าพลาหะเปรียบเสมือนยานพาหนะลำใหญ่ที่พาผู้คนสู่มรรคผลนิพพาน
    • รูปสลักคน ราชสีห์ ม้า ช้าง รูปสลักในศาลาทางด้านทิศตะวันออกมีลักษณะเป็นใบหน้าของมนุษย์ ส่วนทางด้านทิศใต้เป็นรูปใบหน้าราชสีห์ รูปของม้าอยู่ทางด้านทิศตะวันตก และรูปของช้างอยู่ทางทิศเหนือ สันนิษฐานว่ารูปสลักใบหน้ามนุษย์เดิมทีเป็นหน้าของวัว เพื่อให้สอดคล้องกับคติธรรมทางศาสนาฮินดูเช่นเดียวกับภาพสลักพระพุทธเจ้าที่ถูกสกัดใบหน้า ลำตัว แขน ออกให้เหลือฐานกับลำตัวมองดูคล้ายศิวลึงค์ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 8.

    ตอบลบ