วันอาทิตย์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

02.07.2560 Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia.


ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล 
จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/893/cambodia/angkor/phimeanakas-temple


Phimeanakas Temple (late 10th, early 11th-centuries)

The name 'Phimeanakas' is a derivation of the Sanskrit words 'vimana' and 'akasha' which together mean 'celestial palace of the gods'. In contrast to this illustrious name, the temple itself is a fairly modest edifice measuring 36 x 28 meters at the base and 30 x 23 meters at the top, rising only 12 meters above the surrounding landscape. It was constructed during the reign of Rajendravarman II or Suryavarman I and probably functioned as a private temple for the king and a select group of invitees. Evidence for this is the location of the temple within the royal palace compound, as well as the limited space on the upper terrace which permitted only a single tower (rather than the usual five on other temple-mountains). There was also no causeway leading to the temple, and access to the top level could only be obtained by climbing extremely steep staircases without landings.
The temple is made mostly of laterite though the upper gallery was the first at Angkor to be built entirely of sandstone. When the Chinese delegate Zhou Daguan visited Angkor in the 13th century, he referred to Phimeanakas as a 'Tower of Gold', strongly suggesting that it was gilded. He also relates a legend that the temple housed a nagini--a girl with a serpent's body--which the King was required to bed each night prior to sleeping with his wives and concubines. If he failed to keep his appointment, the kingdom could expect to meet with misfortune. Worse still, if the nagini failed to appear, it was a sign that the king's death was imminent.

Plan of Phimeanakas





Drawn by Timothy M Ciccone following Claude Jacques, Michael Freeman, and Jean Laur.

Location

The approximate location of the site is 13.445669' N, 103.856247' E (WGS 84 map datum)


01.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.


02..Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

03..Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

04..Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

05..Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

06..Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

07..Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

08..Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

09.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

10.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

11.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

12.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

13.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

14.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

15.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

16.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

17.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

18.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

19.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

20.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

21.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

22.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

23.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

24.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

25.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

26.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

27.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

28.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

29.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

30.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

31.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

32.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

33.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

34.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

35.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

36.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

37.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

38.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

39.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

40.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

41.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

42.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

43.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

44.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.

45.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.



46.Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia. Photo Gallery. Asian Historical Architecture.
ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.


ปราสาทพิมานอากาศ หรือ วัดสวรรค์พิมาน, พระนคร, ราชอาณาจักรกัมพูชา.


Phimeanakas Temple, Angkor, Cambodia
Photo Gallery. Asian Historical Architecture.

ขอบคุณ ภาพและข้อมูล 
จาก http://www.orientalarchitecture.com/sid/893/cambodia/angkor/phimeanakas-temple

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------


Phimeanakas

From Wikipedia, the free encyclopedia

Phimeanakas

Phimeanakas (Khmerប្រាសាទភិមានអាកាសPrasat Phimean Akas, 'celestial temple') or Vimeanakas (Khmerប្រាសាទវិមានអាកាសPrasat Vimean Akas) at AngkorCambodia, is a Hindu temple in the Khleang style, built at the end of the 10th century, during the reign of Rajendravarman (from 941-968), then completed by Suryavarman I[1]:115,135[2]:371 in the shape of a three tier pyramid as a Hindu temple. On top of the pyramid there was a tower, while on the edge of top platform there are galleries. Phimeanakas is located inside the walled enclosure of the Royal Palace of Angkor Thomnorth of Baphuon.[3]


 Location in Cambodia

 Location in Cambodia

Description.

The temple was the focal point of Suryavarman I's capital.[1]:103 The buildings there from his reign are enclosed by a wall 600 by 250 m, with five gopuram, and include the Southern and Northern Khleangs.[4]:95
The tower must originally have been crowned with a golden pinnacle, as Zhou Daguan described it in his report. According to legend, the king spent the first watch of every night with a woman thought to represent a Nāga in the tower, during that time, not even the queen was permitted to intrude. Only in the second watch the king returned to his palace with the queen. If the naga who was the supreme land owner of Khmer land did not show up for a night, the king's day would be numbered, if the king did not show up, calamity would strike his land.[5]
One of the stele states Jayavarman VII, while on a military expedition in Champa, learned that his father Dharanindravarman II had died, and "returned in great haste to aid King Yasovarman II. Jayavarman's second wife, Indradevi, "...composed in impeccable Sanskrit the inscription...panegyric of her sister" Jayarajadevi, which included biographical detail of Jayavarman VII.[1]:169,172

Gallery.

 Phimeanakas‎, Angkor Thom‎, Cambodia


 Phimeanakas‎, Angkor Thom‎, Cambodia


 Phimeanakas‎, Angkor Thom‎, Cambodia

 Phimeanakas‎, Angkor Thom‎, Cambodia

Phimeanakas‎, Angkor Thom‎, Cambodia

-----------------------------------------------------------------------------------------------

จาก http://www.sac.or.th/databases/seaarts/th/architectureth




ปราสาทพิมานอากาศ


ประวัติการสร้าง

พระเจ้าสูรยวรมันที่ 1 โปรดให้สร้างพระราชวังหลวงขึ้นทางตอนเหนือของเมืองยโศธรปุระเดิม โยกึ่งกลางพระราชวังนั้นพระองค์โปรดให้สร้างปราสาทพิมานอกาศขึ้นเพื่อเป็นที่ประดิษฐานพระเทวราชตามลัทธิเทวราชา

ลักษณะทางศิลปกรรม

เป็นปราสาทบนฐานเป็นชั้นจำนวน 3 ชั้น ด้านบนบนมีปราสาทเพียงหลังเดียว แต่มีระเบียงคดอยู่โดยรอบที่ด้านบนฐานเป็นชั้น ปราสาทแห่งนี้แสดงให้เห็นพัฒนาการใหม่ที่พยายามนำระเบียงคดไปไว้ด้านบนฐานเป็นชั้น แตกต่างไปจากปราสาทตาแก้วที่ยังคงวางระบียงคดไว้ด้านล่าง

ตำนาน/เรื่องเล่าที่เกี่ยวข้อง

มีตำนานที่เล่าโดยจิวต้ากวน ราชทูตจีนที่เข้าไปในเมืองพระนครภายหลังรัชกาลพระเจ้าสูรยวรมันที่ 1 หลายร้อยปี โดยเล่าว่าปราสาทพิมานอากาศเป็นที่ประทับของนางนาคอันเป็นดวงวิญญาณของราชอาณาจักรขอมที่กษัตริย์จะต้องเสด็จขึ้นไปประทับด้วยทุกคืน

ประเทศ : กัมพูชา
พิกัด : 13.445556,103.856111
เมือง : กัมพูชา - เสียมเรียบ - เมืองพระนคร
ประเภทงานศิลปะ : สถาปัตยกรรม
ศิลปะ : ขอม - คลัง
อายุสมัย : ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19
รูปแบบของศิลปกรรม : ปราสาท/เทวาลัย
ศาสนา : ศาสนาฮินดู - ไศวนิกาย

--------------------------------------------------------------------

7 ความคิดเห็น:

  1. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  2. (บางส่วน) จาก https://www.gotoknow.org/posts/323530

    ข้อมูลเบื้องต้นของปราสาทพิมานอากาศ พระมหาถนัด อตฺถจารี, Ph.D. (ท่องแดนศิลานคร แดนปราสาทขอม : ๑๔๔ - ๑๔๗) ได้ให้ข้อมูลไว้ดังนี้
    ปราสาทพิมานอากาศ สร้างในปีพุทธศตวรรษที่ 15 รัชสมัยพระเจ้าราเชนทรวรมันที่ ๒ พระเจ้าชัยวรมันที่ ๕ และพระเจ้าสุริยวรมันที่ ๑ (ปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๕ - ปลาย ๑๗) และต่อเติมเรื่อยมาจนถึงรัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ (ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ตอนปลาย) เป็นศิลปะแบบคลัง สร้างในฮินดู ไศวนิกาย ปราสาทพิมานอากาศ เป็นปราสาทหลังเดียวที่ก่อสร้างด้วยหินทรายอยู่บนฐานศิลาแลง ซ้อนกันเป็น ๓ ชั้น คล้ายปิรามิด ความสูงของฐานปราสาทพิมานอากาศทั้ง ๓ ชั้นราว ๑๒ เมตร (ชั้นละ ๔ เมตร) รูปร่างเป็นสี่เหลี่ยมพื้นผ้ามีบันไดลาดชันทั้ง ๔ ด้าน ส่วนฐานล่างนั้นวัดจากทิศเหนือไปสู่ทิศใต้ มีความกว้าง ๒๘ เมตร วัดจากทิศตะวันออกไปถึงตะวันตกมีความยาว ๓๕ เมตร ส่วนทางเข้าชมพระราชวังต้องเดินผ่านฐานขึ้นบนพลับพลาสูงไปตามบันไดครุฑ เพราะพระราชวังนี้ต้องอยู่บนพลับพลาสูง เมื่อขึ้นไปสู่พลับพลาสูงจะเห็นประติมากรรมรูปสิงห์ ศิลปะสมัยบายนยืนผงาดอยู่เชิงบันไดทั้งสองข้าง บนฐานพลับพลาสูงแห่งนี้ยังมีร่องรอยการปลุกสร้างพลับพลาในรัชสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ให้ออกว่าราชการตรวจพลสวนสนาม หรือประกอบพิธีทางศาสนา ปัจจุบันไม่เหลือร่องรอยอีกแล้ว เพราะสิ่งก่อสร้างทำจากไม้ ตัวปราสาทบนฐานชั้นบนสุดด้านนอกเป็นระเบียงคตทำจากหินทราย ด้านในเป็นตัวปราสาทสร้างบนฐานสูง ๒.๕ เมตร..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/323530

    ตอบลบ
  3. ขอบคุณข้อมูลจาก http://www.oceansmile.com/KHM/Piman.htm
    โอเชี่ยนสไมล์ทัวร์

    ปราสาทพิมานอากาศ
    • ปีที่สร้าง :สร้างในปีพุทธศตวรรษที่ 15
    • รัชสมัย : รัชสมัยของพระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2 พระเจ้าชัยวรมันที่ 5 และพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1
    • ศิลปะ : เป็นศิลปะแบบคลัง
    • ศาสนา : ศาสนาฮินดู ไศวนิกาย
    • ปราสาทพิมานอากาศ เป็นปราสาทหลังเดียวที่ก่อสร้างด้วยหินทรายอยู่บนฐานศิลาแลง ซ้อนกันเป็น 3 ชั้น คล้ายปิรามิด ความสูงของฐานปราสาทพิมานอากาศทั้ง 3 ชั้นราว 12 เมตร รูปร่างเป็นสี่เหลี่ยมพื้นผ้ามีบันไดลาดชันทั้ง 4 ด้าน ส่วนทางเข้าชมพระราชวังต้องเดินผ่านฐานขึ้นบนพลับพลาสูงไปตามบันไดครุฑ เพราะพระราชวังนี้ต้องอยู่บนพลับพลาสูง เมื่อขึ้นไปสู่พลับพลาสูงจะเห็นประติมากรรมรูปสิงห์ ศิลปะสมัยบายนยืนผงาดอยู่เชิงบันไดทั้งสองข้าง บนฐานพลับพลาสูงแห่งนี้ยังมีร่องรอยการปลุกสร้างพลับพลาในรัชสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ให้ออกว่าราชการตรวจพลสวนสนาม หรือประกอบพิธีทางศาสนา ปัจจุบันไม่เหลือร่องรอยอีกแล้ว เพราะสิ่งก่อสร้างทำจากไม้
    • ปราสาทพิมานอากาศ ตั้งอยู่บนฐานสูงสามชั้นแต่ละชั้นสูง 4 เมตรชั้นล่างสุดมีขนาดกว้าง 28 เมตร ในแนวทิศเหนือ-ใต้ ยาว 35 เมตร ในแนวทิศตะวันออก-ตะวันตก ฐานปราสาททั้งสามชั้นเป็นทางขึ้นสู่ปราสาทได้ ซึ่งมีบันไดอยู่กลางฐานทั้งสี่ทิศหลัก แต่ส่วนใหญ่แตกหักพังทลาย ที่มีสภาพดีที่สุดคือทิศตะวันตก สองด้านของบันไดทางขึ้นขนาบข้างด้วยประติมากรรมลอยตัวรูปสิงห์ และรูปช้างที่มุมฐานทั้งสามชั้น ตัวปราสาทบนฐานชั้นบนสุดด้านนอกเป็นระเบียงคตทำจากหินทราย ด้านในเป็นตัวปราสาทสร้างบนฐานสูง 2.5 เมตร จากบันทึกของจิวต้ากวนกล่าวว่าในปราสาทแห่งนี้กษัตริย์ขอมตะต้องเสด็จมาบรรทมกับนางนาคเก้าเศียรที่จะแปลงร่างเป็นสาวงามทุกคืน ซึ่งเป็นตำนานที่เล่าขานกันในหมู่ชาวจีนที่มีอาศัยอยู่ในเมืองพระนครหลวงสมัยนั้น
    • สระน้ำหลวง ลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 45 เมตร ยาว 125 เมตร ขอบสระเป็นหินทรายล้อมรอบหลายชั้นลาดลงด้านล่าง เชื่อว่าสร้างในรัชสมัยของพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 และแกะสลักภาพเพิ่มเติมในรัชสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ที่บริเวณด้านทิศใต้ของสระมีกำแพงยาวต่อขึ้นไปทางทิศตะวันตกอีกเล้กน้อย สันนิษฐานว่าสร้างเพื่อกั้นชั้นดินจากปราสาทพิมานอากาศไม่ให้ไหลลงสระ จุดเด่นของกำแพงคือภาพสลักที่สมบูรณ์ ภาพบางตอนคล้ายภาพที่ผนังลานพระเจ้าขี้เรื้อน
    • สระน้ำด้านทิศตะวันออก อยู่ทางทิศตะวันออกของโคปุระด้านทิศเหนือ มีขนาดกว้าง 20 เมตร ยาว 40 เมตร มีลักษณะเป็นสระน้ำหินทรายลึก 4.5 เมตร เชื่อว่าเป็นส่วนหนึ่งของพระราชวังที่สร้างในบริเวณนี้ครั้งแรก
    • ระเบียงและสระน้ำ ด้านทิศตะวันตกและสระน้ำหลวง อยู่ทางทิศตะวันตกของโคปุระด้านทิศเหนือ ด้านนอกเป็นกำแพงศิลาแลง สภาพค่อนข้างทรุดโทรม ถัดเข้าไปเป็นสระน้ำขนาดเล็กและระเบียงต่ำๆ จุดเด่นอีกแห่งคือภาพสลักบนกำแพง
    • ระเบียงทิศตะวันออก มีลักษณะเป็นระเบียงรูปไม้กากบาท มีเสากลมอยู่ด้านล่าง แต่ถูกต้นไม้ขึ้นปกคลุม เดินเข้าไปค่อนข้างลำบาก

    ตอบลบ
  4. จาก http://www.sujitwongthes.com/2012/10/weekly19102555/

    “นาคาสังวาส” วรรณกรรมราชสำนักอยุธยา สืบนางนาคจากนครธม
    มติชนสุดสัปดาห์ ลงฉบับประจำวันศุกร์ที่ 19 ตุลาคม 2555



    นาคาสังวาส เป็นคำบอกเล่าเก่าแก่ดึกดำบรรพ์ มีในราชสำนักอาณาจักรกัมพูชา เชื่อกันว่ากษัตริย์ต้องเสพสังวาสกับนางนาค

    นาค เป็นสัญลักษณ์ของแผ่นดิน ซึ่งประกอบด้วยดินกับน้ำ และทั้งหมดเป็นเพศหญิง ดังนั้นนาคาสังวาสหมายถึงพิธีกรรมทำกษัตริย์เป็นคู่ครองกับแผ่นดิน

    ความเชื่อทำให้เกิดพิธีกรรม แล้วมีวรรณกรรมสนองความเชื่อนั้น

    รัฐอยุธยา รับพิธีกรรมนาคาสังวาสจากนครวัด, นครธม ผ่านรัฐอยุธยา-ละโว้ ยุคก่อนอยุธยา แล้วตราเป็นวรรณกรรมลายลักษณ์อักษรไว้ในกฎมณเฑียรบาล

    เรียกเป็นภาษาเขมรว่า เบาะพก เป็นพระราชพิธีที่พระเจ้าแผ่นดินต้องมีพิธีกรรมนาคาสังวาส ที่ราชสำนักอยุธยาเรียกนางนาคว่า แม่หยัว (หรือแม่หยัวพระพี่หรือแม่หยัวพระพี่เจ้า)



    แม่หยัวเมือง ผู้ (หญิง) เป็นใหญ่

    แม่หยัว เป็นคำโบราณเก่าแก่ดึกดำบรรพ์มากๆ กร่อนจากคำเต็มว่าแม่อยู่หัว หมายถึงผู้หญิงเป็นใหญ่สุด มีอำนาจอยู่เหนือคนอื่นๆในบ้านเมือง บางทีเรียกแม่หยัวเมือง หมายถึงแม่อยู่หัวของบ้านเมืองหรือรัฐนั้นๆ อำนาจจะมีจริงๆ หรือเป็นเพียงสัญลักษณ์ในพิธีกรรมก็ได้

    ในราชสำนักยุคก่อนอยุธยา สืบจนยุคต้นอยุธยา แม่หยัวเป็นชื่อตำแหน่ง มีตราไว้ในกฎมณเฑียรบาลให้อยู่เป็นรองจากพระอัครมเหสี (เมียหลวง) ว่า พระราชกุมารเกิดด้วยพระอัครมเหสี เป็นที่สมเด็จหน่อพระพุทธเจ้า ถ้าเกิดด้วยแม่หยัวเมืองเป็นที่พระมหาอุปราช

    ยุคต้นอยุธยาในรัชกาลสมเด็จพระไชยราชา ทรงมีสนมเอกคนหนึ่งตำแหน่งศรีสุดาจันทร์ มีราชกุมาร จึงได้รับยกย่องเป็นแม่หยัวเมือง

    ศรีสุดาจันทร์ เป็นชื่อตำแหน่ง (ไม่เป็นชื่อตัว) สนมเอกของพระเจ้าแผ่นดินอยุธยา มี 4 ตำแหน่ง (มีอีก 3 คือ อินทรสุเรนทร์, อินทรเทวี, ศรีจุฬาลักษณ์) ผู้รู้อธิบายว่ามีต้นแบบจากคติจักรพรรดิราช

    แต่ศรีสุดาจันทร์แม่หยัวเมืองคนนี้พ่ายแพ้ทางการเมือง จึงถูกใส่ร้ายจากผู้ชนะยุคนั้น จนนักค้นคว้าและนักเขียนในยุคหลังๆ กล่าวหาให้ร้ายว่าเป็นแม่ยั่วเมือง หมายถึง ดาวยั่ว (ยวน) ทางกามารมณ์ (อ่านรายละเอียดใน ท้าวศรีสุดาจันทร์ ใครว่าหล่อนชั่ว? สำนักพิมพ์มติชน พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ. 2540)

    ตอบลบ
  5. นาคาสังวาส

    พระราชพิธีเบาะพก หมายถึงพระราชพิธีที่พระเจ้าแผ่นดินเสด็จไปปราสาท แล้วเสพสังวาสกับแม่หยัว เพื่อความมั่นคงและมั่งคั่งของไพร่ฟ้าประชากรและราชอาณาจักร

    แม่หยัว คือ นางนาค ฉะนั้นเบาะพก คือ นาคาสังวาส

    เบาะพก เป็นภาษาเขมร แปลว่าใช้อวัยวะทิ่มๆ ตำๆ บริเวณใต้ท้องน้อยหมายถึงเสพสังวาส

    ในพจนานุกรมภาษาเขมร (ฉบับทุนพระยาอนุมานราชธน) อธิบายว่า บุะ (อ่านว่า โบะห์) แปลว่า กระแทก, กระทุ้ง, ทิ่มต่ำให้เป็นหลุม, แดก, ยัด โบะ (อ่านว่า บอะห์) แปลว่า โยน, ตอก, ประทับ, ตอกหลัก

    คำเขมรว่า บุะ, โบะ มีคำแปลใกล้เคียงกัน แล้วเพี้ยนเสียงเป็นคำไทยก็ได้ว่า เบาะ หมายถึงอาการทุบ, ตี, ทิ่มอย่างเบาๆ หรือเบาะๆ

    โพะ (อ่านว่า ปัวะห์) แปลว่า ท้อง, พุง, มีท้อง, มีลูก แล้วเพี้ยนเสียงเป็นไทยว่า พก เช่น ชายพก คือส่วนของผ้าที่เหลือเป็นถุงจากการขัดกัน แล้วเหน็บไว้ที่ท้องใกล้สะดือ ใช้เก็บของเล็กๆ ได้

    พระราชพิธีเบาะพก มีตอนข้างแรม เดือนมืด ระหว่างแรม 11-14 ค่ำ โดยไม่ระบุว่าเดือนไหน?

    ลำดับพิธีอย่างย่อๆ มีดังนี้ (1.) ตั้งโรงพิธีในวังหลวง มีรูปสัญลักษณ์ หรือที่เรียกว่าเจว็ดของแม่หยัว (2.) เริ่มทำพิธีสมโภช แรม 11 ค่ำ (3.) แห่เจว็ดแม่หยัวจากโรงพิธีไปที่มณฑลในปราสาท (4.) พระเจ้าแผ่นดินเสด็จบรรทมสมพาสกับแม่หยัว

    ข้อความพรรณนาอยู่ในกฎมณเฑียรบาล มีตัวอย่างตอนหนึ่งจะคัดมาดังนี้

    แรม 14 ค่ำเอาราชยานแลพรหม 16 มารับแม่หยัวพระพี่เจ้าไปในปราสาท——-

    เมียพระบโรหิตถือเทียนทอง เมียพระพิรามถือสังข เมียพระมเหธรถือปลาทอง เมียพระพิเชดถือเต่าทอง เมียพระเทพราชถือตระพัง เมียพระจักรปาณีถือพานเข้าตอก เมียพระอาทยาถือมีดไพล เมียพระโหรปรายเข้าสาน——-

    ครั้นเสดจ์ถึงเข้าพระผทมด้วยแม่หยัวพระพี่

    ผทมตื่นสรงเสวยธรงพระสุคนธสำอางราโชประโภก เสดจ์หอพระแล้วลงพระราเชนทรเสดจ์ไปเวียร 9 รอบ

    ครั้นไปถึงอุทกราชสศซัดแหวนซัดทองซัดเงีน เทพดาแลองคมีคุณทแลอันมี พราหมณอยู่บูชา แลคนปรายเงีนให้ทุกคน——-”

    ตอบลบ
  6. อยุธยาสืบนางนาคจากนครธม

    พระเจ้าแผ่นดินยุคต้นอยุธยา ต้องเสด็จไปเสพสังวาสกับแม่หยัวพระพี่เจ้า เป็นความเชื่อศักดิ์สิทธิ์ที่สืบจากบรรพชนในรัฐก่อนหน้านั้น เช่น รัฐอโยธยา-ละโว้ ซึ่งสืบจากบรรพชนในรัฐพระนครหลวง (นครธม) กัมพูชา อีกทอดหนึ่ง

    มีพยานหลักฐานอยู่ในความเชื่อศักดิ์สิทธิ์ของกษัตริย์กัมพูชายุคก่อนอยุธยา ซึ่งเอกสารจีนร่วมสมัย เมื่อ พ.ศ. 1839 เรียกรัฐเจินละ (บันทึกว่าด้วยขนบธรรมเนียมประเพณีของเจินละ แปลจากภาษาจีน โดยเฉลิม ยงบุญเกิด พิมพ์ครั้งแรก พ.ศ. 2510) จะคัดมาโยจัดย่อหน้าใหม่ให้อ่านสะดวกขึ้น ดังนี้

    “ปราสาททองคำภายในพระราชวังนั้น พระเจ้าแผ่นดินเข้าที่พระบรรทมในยามราตรีบนยอดปราสาท

    พวกชาวพื้นเมืองพากันกล่าวว่า ในปราสาทนั้นมีภูติงูเก้าศีรษะ ซึ่งเป็นพระภูมิเจ้าที่ทั่วทั้งประเทศ ภูติตนนี้เป็นร่างของสตรี และจะปรากฏกายทุกคืน พระเจ้าแผ่นดินจะเข้าที่พระบรรทมและทรงร่วมสมพาสด้วยก่อน แม้แต่บรรดามเหสีทั้งหลายของพระเจ้าแผ่นดินก็ไม่กล้าเข้าไปในปราสาทนี้

    พระเจ้าแผ่นดินจะเสด็จออกจากปราสาทนั้นเมื่อเพลายามที่ 2 แล้วจึงจะเข้าที่พระบรรทมร่วมกับพระมเหสีและพระสนมได้

    ถ้าหากราตรีใดภูติตนนี้ไม่ปรากฏกาย ก็หมายความว่าเวลาสวรรคตของพระเจ้าแผ่นดินชาวป่าเถื่อนพระองค์นั้นใกล้เข้ามาแล้ว

    ถ้าพระเจ้าแผ่นดินของชาวป่าเถื่อนมิได้เสด็จไปเพียงราตรีเดียว ก็จะต้องทรงได้รับภัยอันตราย”

    “ปราสาททองคำ” ในจดหมายเหตุจีนเรื่องนี้หมายถึงปราสาทพิมานอากาศ อยู่ในนครธม ส่วน “ภูติงูเก้าศีรษะ” และ “ภูติตนนี้เป็นร่างของสตรี และจะปรากฏกายทุกคืน” คือนางนาค

    นางนาค “เป็นพระภูมิเจ้าที่ของราชอาณาจักร” หมายความว่าเป็นผียิ่งใหญ่ที่สุดของราชอาณาจักรกัมพูชาสมัยนั้น เป็นความเชื่อสืบเนื่องมาจากยุคดึกดำบรรพ์

    การ “ร่วมสมพาส” ระหว่างหญิงกับชายเป็นสัญลักษณ์ของการเกิดและความเจริญงอกงาม

    ฉะนั้น นิทานเรื่องนี้จึงเอาการร่วมสมพาส ระหว่างนางนาคกับกษัตริย์มาเป็นบทบัญญัติหรือกำหนดกฎเกณฑ์ หรือเป็นพิธีกรรมที่กษัตริย์ต้องกระทำบำรุงบำเรอ มิให้ขาด และมีคำทำนายในตอนท้าย

    นิทานปรัมปราที่ราชทูตจีนจดบันทึกจากปากคำของคนบอกเล่าเรื่องนี้ ผู้จดไม่ได้ตรวจสอบหรือพบเห็นด้วยตัวเอง ฉะนั้นจะยึดถือเป็นเรื่องจริงจังไม่ได้

    นี่เป็นระบบความเชื่อที่มีอยู่จริง แล้วกษัตริย์ทรงทำพิธีกรรมเท่านั้น โดยนางนาคไม่ได้มีจริง และการร่วมสมพาสก็ไม่ได้กระทำจริงๆ ดังตัวอย่างพระราชพิธีเบาะพกในอยุธยา

    ตอบลบ
  7. สัญลักษณ์อวัยวะเพศชาย

    เครื่องประกอบพระราชพิธีเบาะพกที่สำคัญมี 2 ชื่ออยู่ในข้อความพรรณนา คือ “เทียนทอง” กับ “องคมีคุณ”

    เทียนทอง เป็นสัญลักษณ์ขององคชาต (พระอีศวร) คู่กับใบโพธิ์ทองเป็นสัญลักษณ์ของโยนี (พระอุมา)

    มีร่องรอยอยู่ในตำนานเกี่ยวกับประเพณีการใช้แว่นเวียนเทียนในงานแต่งงาน (หนังสือประชุมเรื่องตำนานและนิทานพื้นบ้านเขมร ภาคที่ 9 ตำนานเกี่ยวกับที่มาของประเพณีต่างๆ แปลโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประยูร ทรงศิลป์ ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏธนบุรี พ.ศ. 2540 หน้า 904-907)

    เทียนทองยังมีในบทมโหรีกรุงเก่า ใช้ร้องทำขวัญงานแต่งงานของยุคอยุธยา ว่า

    ร้องสรรเสริญพระจันทร์

    ๏ เจ้าเอยเทียนทอง ปิดเข้าที่หน้าแท่นทอง

    ทำขวัญเจ้าทั้งสอง ให้เจ้าอยู่ดีกินดี

    ให้อยู่จนเฒ่าชรา ให้เจ้าเป็นมหาเศรษฐี

    อายุยืนได้ร้อยปี เลี้ยงพระบิดามารดา

    องคมีคุณ ในพจนานุกรมภาษาเขมรบอกว่าหมายถึงศิวลึงค์ คือลึงค์ของพระศิวะ (อีศวร) ปกติจะตั้งบนฐานโยนี มีหลายขนาด ทั้งหมดทำด้วยหิน ประดิษฐานอยู่กับเทวสถาน คำนี้ยังใช้สืบมาว่าองคชาต

    มีร่องรอยอยู่ในนิทานเขมรเรื่องภูเขาบาย็องโกน (จ. ตาแก้ว) (หนังสือประชุมเรื่องตำนานและนิทานพื้นบ้านเขมร ภาคที่ 5, พ.ศ. 2540 หน้า 251-530)



    นางนาค พระทอง เพลงแต่งงาน

    ความเชื่อศักดิ์สิทธิ์เกี่ยวกับนาคาสังวาส ยังมีในนิทานเก่าแก่ของเขมร เรื่องนางนาค พระทอง ที่ส่งต่อถึงอยุธยา

    ยุคอยุธยาจึงมีเพลงดนตรีชื่อนางนาคกับพระทอง คำร้องเป็นเรื่องนาคาสังวาส ใช้ร้องบรรเลงงานแต่งงาน มีคำร้องดังนี้

    ร้องนางนาค

    ๏ เจ้าเอยนางนาค เจ้าคิดแต่เท่านั้นแล้ว

    เจ้าปักปิ่นแก้ว แล้วเจ้ามาแซมดอกไม้ไหว

    จำปาสองหูห้อย สร้อยสังวาลแลมาลัย

    ชมพูผ้าสไบ เจ้าห้อยสองบ่าสง่างาม



    ร้องพระทอง

    ๏ พระทองเทพรังสรรค์ หล่อด้วยสุวรรณกำภู

    เจ้างามบริบูรณ์ไม่มีคู่ โฉมตรูข้าร้อยชั่งเอย

    ๏ พระทองข้ารูปหล่อเหลา หนักเล่าก็ได้ร้อยชั่ง

    รัศมีนั้นงามอยู่เปล่งปลั่ง ทั้งเมืองไม่มีเหมือนเอย



    ร้องคู่พระทอง

    ๏ พระทองเจ้าจะไป น้องจะได้ใครมานอนเพื่อน

    อันใจเจ้าดีไม่มีเหมือน เจ้าเพื่อนที่นอนของน้องเอย

    ๏ เจ้าเอยเจ้าพี่ ค่อยอยู่จงดีกว่าจะมา

    จะไปก็ไม่ช้า จะพลันมาเป็นเพื่อนนอนเอย

    ๏ พระทองเจ้าจะไป จะให้อะไรไว้น้องชม

    ขอแต่ผ้าลายที่ชายห่ม จะชมต่างหน้าพระทองเอย

    ตอบลบ